You are on page 1of 18

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย

โดย

นายเจตจิรัธต์ บุญประสิทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 เลขที่ 1


นายวรพล ลีลาฤทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 เลขที่ 3
นางสาวกนกภรณ์ นาควัชระ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 เลขที่ 6
นางสาวณัฏฐา พงศ์พลาญชัย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 เลขที่ 7

เสนอ

อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256.0


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นพื้นฐาน (Project Based Learning)


รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
คำนำ
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการทา Project Based Learning ของสาขาวิชาไทย
ศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อศึกษาและวิเคราะห์วรรณคดีไทย
เรื่องลิลิตตะเลงพ่าย
คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านและผู้ที่ต้องการจะศึกษาไม่มากก็น้อย
หากมีความผิดพลาดใดๆในข้อมูลของรายงานฉบับนี้ทางคณะผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้

คณะผู้จัดทา
สำรบัญ
หน้า
1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธัในวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1. เนื้อเรื่อง 1
1.2. โครงเรื่อง 1
1.3. ตัวละคร 2
1.4. ฉากท้องเรื่อง 3
1.5. บทเจรจาหรือราพึงราพัน 4
1.6. แก่นเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง 5
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1. การสรรคา 6
2.2. การเรียบเรียงคา 9
2.3. การใช้โวหาร 10
3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1. คุณค่าด้านอารมณ์ 12
3.2. คุณค่าด้านคุณธรรม 13
3.3. คุณค่าด้านอื่นๆ 13
4. บรรณานุกรม 14
กำรอ่ำนและพิจำรณำเนื้อหำและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

1. เนื้อเรื่อง
สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ผู้เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้
สิ้นพระชนม์ จากนั้นสมเด็จพระนเศวรจึงทรงได้ขึ้นครองราชย์โดยที่มีสมเด็จพระเอกาทศรถเป็นพระมหา-
อุปราช พระเจ้าหงสาวดีทราบข่าวไทยผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ก็คิดว่าจะมาตีไทยเพื่อที่จะลองเชิง พระเจ้าหง-
สาวดีมีพระราชบัญชาให้พระมหาอุปราชายกทัพมาตีไทย เมื่อครั้นลานางสนมก็ยกทัพเข้ามาทางเมือกาญจนบุรี
ฝั่งของสมเด็จพระนเรศวรตอนแรกปรารภว่าจะไปตีเมืองเขมร เมื่อทราบถึงแผนของพระเจ้าหงสาวดีก็ทรง
เปลี่ยนไปเตรียมการสู้ศึกพม่าพระมหาอุปราชาทรงปรึกษาถึงการศึกแล้วยกทัพเข้ามาปะทะทัพหน้าของไทย
สมเด็จพระนเรศวรก็ทรงปรึกษาเพื่อหาทางสู้รบกับข้าศึก เมื่อทัพหลวงเคลื่อนพลช้างทรงของสมเด็จพระ
นเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ ช้างก็เกิดตกมันและวิ่งเตลิดเข้าไปในวงล้อมของกองทัพพม่า ณ ตาบล
ตระพังตรุ สมเด็จพระนเรศวรทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงทายุทธหัตถี
กับมางจาชโร ผลออกมาปรากฏว่า ทั้งสองพระองค์ได้รับชัยชนะ เมื่อพระมหาอุปราชาถูกฟันขาดคอช้าง
กองทัพหงสาวดีก็แตกพ่ายแพ้ไป จากนั้น สมเด็จพระนเศวรทรงปูนบาเหน็จทหาร และปรึกษาโทษนายทัพ
นายกองที่ตามช้างทรงเข้าไปในกองทัพพม่าได้ไม่ทัน สมเด็จพระวันรัตทูลขอพระราชทานอภัยโทษแทนแม่ทัพ
นายกองทั้งหมด สมเด็จพระนเรศวรก็ทรงมีเมตตาโปรดพระราชทานอภัยโทษให้ โดยให้ยกทัพไปตีทวายและ
ตะนาวศรีเป็นการแก้ตัว จากนั้นได้ทรงจัดการทานุบารุงหัวเมืองทางเหนือ และเจ้าเมืองเชียงใหม่มาสวามิภักดิ์
ขอเป็นเมืองขึ้น สมเด็จพระนเรศวรทรงรับทูตเชียงใหม่ และจบลงด้วยการยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวร

2. โครงเรื่อง
สองกษัตริย์ทาสงครามยุธหัตถีและล่าอาณานิคมเพื่อเชิดชูประเทศไทยกับพม่าในความกล้าหาญของ
ทั้งสองฝ่าย

1
3. ตัวละคร
3.1. สมเด็จพระนเรศวร
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองค์ดาเป็นกษัตริย์องค์ที่ 18 แห่งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชเป็นผู้ปรพกาศเอกราชหลังจากที่เสียไปให้กับพม่าถึง 15 ปี รวมทั้งยังได้ทรงขยายกรุงศรี
อยุธยาให้ใหญ่เเละกว้างขึ้นอีกเช่นกัน สมเด็จพระนเรศเป็นผู้ที่มีเข้มแข็งเเละเด็ดเดี่ยว โดยพระองค์คานึงเเละ
เอาใจใส่ความเป็นอยู่ของผู้คนในกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ท่านยังมีความความกล้าหาญเเละชาญฉลาดในการ
วางกลยุทธ์ทางการรบอีกด้วยโดยไม่เกรงกลัวถึงเเม้จะเห็นช้างทรงของพระมหาอุปราชายืดหยุดอยู่ใต้ร่มไม้

57 (303) พระพี่พระผู้ผ่าน ภพอุต - ดมเอย


ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้
เชิญราชร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ
สืบกว่าสองเราไสร้ สุดสิ้นฤามี

สมเด็จพระนเรศวรยังเป็นผู้ที่มีน้าพระทัย เมื่อมีมีชัยชนะพระองค์ก็ประทานรปูนบาเหน็จให้แก่ นายทหารเป็น


การตอบแทนที่มีความจงรักภักดี

10 (29) หนึ่งรู้พยุหเศิกไสร้ สบสถาน


เจตจิตวิทยากร กาจเเกล้ว
รู้เชิงพิชัยชาญ ชุมค่าย ควรนา
อาจจักรอนรณเเผ้ว เเผกเเพ้พังหนี
11 (30) หนึ่งรู้บาเหน็จให้ ขุนพล
อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน
อย่าหย่อนวิริยะยล อย่างเกียจ
แปดประการกลเที้ยร ถ่องเเท้ทางเเถลง

3.2. พระมหาอุปราชา
พระมหาอุปราชาหรือมังสามเกียดเป็นพระโอรสของนันทบุเรงเเละได้ดารงดาแหน่งอุปราชาในสมัย
ของนันทบุเรง พระมหาอุปราชาเป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนไหวเเละรุนเเรงเรื่องความรัก โดยพระองค์ทรงคร่าครวญ
ราพึงราพัน ถึงพระสนมในขณะที่กาลังเดินทัพ

57 (303) สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา


เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

2
15 (88) สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉันใด

นอกจากนี้ พระมหาอุปราชายังเชื่อในเรื่องโชคลาง พระองค์วิตกเมื่อโหรทานายว่าพระเคราะห์ว่าจะ


ถึงฆาตเมื่อที่กาลังจะไปตีไทย แต่ถึงแม้ว่าพระองค์จะมีความหวั่นเกรงในการทาสงครามกับสมเด็จพระนเรศวร
พระองค์ยังเป็นผู้ที่มีขัตติยะมานะและเลือกที่จะทายุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวร
17 (141) เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย
ลมชื่อเวรัมภา พัดคลุ้ม
หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ
แลธุลีกลัดกลุ้ม เกลื่อนเพี้ยงจักรผัน

18 (142) พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเฮย


ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง
กระหม่ากระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา
หนักหฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย

4. ฉำกท้องเรื่อง
ฉากที่ได้ปรากฏในเรื่องลิลิตเลงพ่ายได้เล่าถึงเหตุการณ์ การเดินทัพของพระมหาอุปราชาจากเมือง
มอญไปยังกาญจนบุรี ซึ่งผู้ประพันธ์ได้รงั สรรค์บทประพันธ์ให้มีฉากเเละบรรยากาศเสมือนเหตุการณ์จริง

63 (309) หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง


คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือคิริเมขล์มง- คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
64 (309) สองโจมสองจู้จ้วง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้า
กระลึงกนะลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งค้า เข่นเขี้ยวในสนาม
64 (310) งามสองสุริยราชล้า เลอพิศ นาพ่อ
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤๅรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์แลฤา
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
3
66 (312) ขุมเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่เยง หย่อนห้าว
ยอหัตถ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
งานเร่งงามโทท้าว ท่านสู้ศึกสาร

บทกลอนข้างต้นได้บรรยายถึงการรทายุทธหัตถีระหว่างพระนเรศวรและพระมหาอุปราชาในฉากสู้รบ
ระหว่างสองฝั่งได้บรรยายถึงการทรงช้างคู่กายมาชนกันของทั้งสองพระองค์ ซึ่งไม่มีผู้ใดยอมผู้ใดในการปะทะที่
ใช้ความว่องไว นอกจากนี้บทประพันธ์ยังได้บรรยายถึงการสู้รบกันของควาญช้างและทั้งสองพระองค์อย่าง
ดุเดือด เเละได้บรรยายทั้งสองฝั่งในขณะที่กาลังต้านช้างของอีกฝ่าย

5. บทเจรจำหรือรำพึงรำพัน

13 (79) มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู


สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวลสงวน
14 (86) สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤ
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
15 (88) สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉันใด

บทประพันธ์ข้างต้นเป็นบทเจรจาราพึงราพันถึงนางสนมของพระมหาอุปราชา พระองค์ได้รู้สึกโดด
เดี่ยวเมื่อได้มีโอกาสไปทอดพระเนตรธรรมชาติรวมถึงดอกไม้เเละต้นไม้ที่มีทั้งความสวยงามเเละความหอม
ละมุนดั่งนางสนมผู้นั้น เเสดงให้เห็นถึงความคิดถึงของพระองค์ที่ไม่ขึ้นอยู่กับระยะทาง โดยผู้ประพันธ์ได้ใช้การ
สรรคา สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ การเล่นคา เเละการใช้คาเลียงเสียงธรรมชาติในบทประพันธ์เพื่อเเสดง
ให้เห็นถึงความคิดถึงของพระอุปมหาราชาที่มีต่อนางสนม

4
6. เเก่นเรื่อง
วรรณคดีเรื่องลิลิตตะเลงพ่ายนั้นเป็นวรรณคดีที่ปลุกกาลังใจให้ผู้อ่านรักชาติเเละเสียสละตัวเอง
เหมือนกับบรรพบุรุษของเรานั้นได้ทาไว้ นอกจากนี้วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นวรรณคดีที่เล่าเหตุการณ์รบระหว่าง
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเเละพระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดีโดยการกระทาสงครามบุกเเละตั้งรับอย่าง
งดงามจน ได้รับชัยชนะ

5
กำรอ่ำนและพิจำรณำกำรใช้ภำษำในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. กำรสรรคำ
1.1. กำรเลือกใช้คำให้เหมำะสมกับเรื่องและฐำนะของบุคคลในเรื่อง
69 (315) เบื้องนั้นนฤนาถผู้ สยามินทร์
เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤๅถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง

จากบทประพันธ์ข้างต้น ผู้ประพันธ์ใช้ศัพท์สูงเพื่อพูดถึงการกระทาของพระมหากษัตริย์ เพื่อความไพเราะแสดง


ให้เห็นภาพอย่างชัดเจน ได้แก่
นฤนาถ แปลว่า กษัตริย์
สยามินทร์ แปลว่า กษัตริย์สยาม
พระมาลา แปลว่า หมวก
ศัสตราวุธอรินทร์ แปลว่า อาวุธ
พระหัตถ์ แปลว่า มือ

1.2. กำรเลือกใช้คำให้เหมำะสมแก่ลักษณะของคำประพันธ์
15 (88) สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย
สาย บ่ หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่วันกี่คืนวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ ฉันใด

จากบทประพันธ์ข้างต้น กวีเลือกใช้คาให้ตรงตามฉันทลักษณ์ของโคลง 4 สุภาพ ตามวรรณยุกต์ที่กาหนด และ


มีการใช้คาตายเพื่อแทนคาเอก

1.3. กำรเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียง
1.3.1. คาเลียนเสียงธรรมชาติ
43 (289) “.....เจ้าพระยาไชยานุภาพ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสาเนียง เสียงฆ้องกลอง
ปืนศึก อึกเอิกก้องกาหล เร่งคารนเรียกมัน ชันหูชูหางแล่น แปร้นแปร๋แลคะไขว่.....”

กวีมีการใช้คาแทนเสียงร้องของช้างเมื่อกล่าวถึงตอนที่สมเด็จพระนเรศวรและพระเอกาทศรถเคลื่อนพลตามตา
นาพิชัยสงคราม เสียงของฆ้อง กลอง และปืน ทาให้ช้างทรงส่งเสียงร้องด้วยความคึกคะนอง

6
1.3.2. คาที่เล่นเสียงวรรณยุกต์
14 (86) สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

จากบทประพันธ์ข้างต้น กวีมีการเล่นเสียงวรรณยุกต์กับคาว่า แม่น และ แม้น เพื่อพรรณนาถึงตอนที่พระมหา-


อุปราชาต้องจากคนรักมาเพื่อทาสงครา

1.3.3.คาที่เล่นเสียงสัมผัส
1.3.3.1. สัมผัสพยัญชนะ
4 (9) กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว
คลาดเคล้าคลาสมร
5 (10) จาใจจรจากสร้อย อยูแ่ ม่อย่าละห้อย
ห่อนช้าคืนสม แม่แล

9 (28) จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง โบราณ


เป็นประโยชน์ยุทธการ กล่าวไว้
เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา
อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้วขลาดเขลา

65 (311) งามสองสุริยราชล้า เลอพิศ นาพ่อ


พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤๅรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤๅ
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม

1.3.3.2. สัมผัสสระ
70 (316) บัดมงคลพ่าห์ไท้ ทวารัติ
แว้งเหวี่ยงเบี่ยงเศียรสะบัด ตกใต้
อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ
เบนบ่ายหงายแหงนให้ ท่วงท้อทีถอย

7
1.3.4. คาพ้องเสียงและคาซ้า
9 (28) จงแจ้งแห่งเหตุเบื้อง โบราณ
เป็นประโยชน์ยุทธการ กล่าวไว้
เอาใจทหารหาญ เริงรื่น อยู่นา
อย่าระคนปนใกล้ เกลือกกลั้วขลาดเขลา

บทประพันธ์ข้างต้นมีการใช้คาพ้องรูป คือ ทหาร และ หาญ ซึ่งมาจากคาว่า กล้าหาญ

14 (86) สลัดไดใดสลัดน้อง แหลงนอน ไพรฤๅ


เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

บทประพันธ์ข้างต้นมีการใช้คาพ้องรูป คือ สลัดได ซึ่งเป็นชื่อต้นไม้ และ สลัด ซึ่งแปลว่าการแยกจาก กวีมีการ


ใช้คาว่า ใด เพื่อให้เกิดเป็นคาพ้องเสียงกับคาว่า สลัดได นอกจากนี้ยังมีการใชเคาว่า สละ ซึ่งเป็นผลไม้ พ้องรูป
กับคาว่า สละ ที่แปลว่าการแยกจาก

15 (88) สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย


สาย บ่ หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
กี่วันกี่คืนวาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ ฉันใด

บทประพันธ์ข้างต้นมีการใช้คาพ้องรูป คือ สาย และ หยุด สายหยุดเป็นชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่ง พ้องรูปกับคาว่า


หยุด และ สาย

8
2. กำรเรียบเรียงคำ
2.1. เรียงข้อควำมที่บรรจุสำรสำคัญไว้ท้ำยสุด

69 (315) เบื้องนั้นนฤนาถผู้ สยามินทร์


เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤๅถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง

บทประพันธ์ข้างต้น สามารถถอดความได้ว่า สมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงพระมาลาหลบพร้อมกับใช้พระแสง


ของ้าวปัดเสียทัน อาวุธของพระมหาอุปราชาจึงไม่ถูกพระองค์ วรรคที่ 1-3 เป็นเพียงการบรรยายท่าทางของ
พระนเรศวร แต่ใจความสาคัญของกลอนบทนี้อยู่ที่วรรคสุดท้าย คือพระนเรศวรสามารถปัดอาวุธของพระมหา
อุปราชาได้ทัน จึงไม่ถูกฟัน
2.2. เรียงคำ วลี หรือประโยคที่มีควำมสำคัญเท่ำๆกันเคียงขนำนกันไป
63 (309) หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง
คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือศิริเมขล์มง คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
64 (310) สองโจมสองจู่จ้วง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้า
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งค้า เข่นเขี้ยวในสนาม
65 (311) งามสองสุริยราชล้า เลอพิศ นาพ่อ
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤๅรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤๅ
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
66 (312) ขุนเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่เยง หย่อนห้าว
ยอหัตถ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
งามเร่งงามโทท้าว ท่านสู้ศึกสาร

บทประพันธ์ข้างต้นเป็นเหตุการณ์เมื่อพระนเรศวรและพระมหาอุปราชาสู้กันบนคอช้าง กวีมีการใช้คาที่มี
ความหมายใกล้เคียงกันทั้งคาประพันธ์เพื่อให้การบรรยายเป็นไปอย่างมีลาดับขั้นตอน และมีการเห็นภาพที่
ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
9
2.3. เรียบเรียงประโยคให้เนือ้ หำเข้มข้นขึ้นไปตำมลำดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดท้ำยที่สำคัญ
ที่สุด
72 (318) อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชีวาตม์สุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์

บทประพันธ์ดังกล่าว กล่าวถึงเมื่อพระมหาอุปราชาถูกพระนเรศวรใช้ของ้าวฟันขาดสะพายแล่ง หน้าอกถูกฟัน


เป็นรอยแยก แล้วซบอยู่บนคอช้างสิ้นพระชนม์เป็ฯที่น่าสังเวช เป็นการประพันธ์เล่าเรื่องอย่างมีลาดับขั้นตอน
ดุจขั้นบันได โดยเริ่มจากตอนที่พระมหาอุปราชาโดนฟัน และสิ้นสุดที่การสิ้นพระชนม์ของพระมหาอุปราชา

2.4. เรียบเรียงประโยคให้เนือ้ หำเข้มข้นขึ้นไปตำมลำดับแต่คลำยควำมเข้มข้นลงในช่วงหรือ


ประโยคสุดท้ำยอย่ำงฉับพลัน
30 (203) พระทรงแสงดาบแก้ว กับกร
โจมประจัญฟันฟอน เฟื่องน้า
ต่างฤทธิ์ต่างรบรอน ราญชีพ กันแฮ
สระท้านทุกถิ่นท่าถ้า ท่งท้องชลธี

บทประพันธ์ดังกล่าวบรรยายถึงตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินว่ากาลังสู้กับจระเข้ วรรคที่ 1-3 เป็น


การบรรยายการต่อสู้ที่เข้มข้นระหว่างพระนเรศวรปละจระเข้ แต่วรรคที่ 4 กล่าวอธิบายเพียงน้าแห้งเหือดลง
ไปในทันที

3. กำรใช้โวหำร
3.1. กำรเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
22 (151) อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ยยศ
แม้พระเสียเอารส แก่เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน หั่นหลิ้งไกลองค์

บทประพันธ์ดังกล่าวเป็นการราพึงราพันของพระมหาอุปราชา ว่าหากตนเองแพ้ในสงคราม พระบิดาคงจะเป็น


ทุกข์ เพราะการตายของตนเปรียบเสมือนการโดนตัดแขนทั้ง 2 ข้าง

10
65 (311) งามสองสุริยราชล้า เลอพิศ นาพ่อ
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤๅรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤๅ
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม

บทประพันธ์ข้างต้น มีการใช้โวหารอุปมาเพื่อเปรียบเทียบการสู้รบของกษัตริย์ทั้ง 2 พระองค์ ว่าเหมือนพระ


อินทร์รบกับไพจิตราสูร และพระรามทาสงครามกับทศกันฐ์

3.2. กำรเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
63 (309) หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง
คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือศิริเมขล์มง คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม

กวีเปรียบช้างของพระนเรศวรมหาราชเป็นช้างสมิทธิมาตงค์ของพระอินทร์ และช้างของพระมหาอุปราชาเป็น
ช้างคิริเมขล์ของพญาวสวัตตี

3.3. กำรกล่ำวผิดไปจำกที่เป็นจริง
27 (156) พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้
พระเกิดพระก่อชนม์ ชุมชีพ มานา
เกรง บ่ ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง

บทประพันธ์ข้างต้น พระมหาอุปราชาเปรียบพระคุณของบิดาของตนยิ่งใหญ่กว่าแผ่นดิน สวรรค์ หรือบาดาล

3.4. กำรใช้ชื่อส่วนประกอบที่เด่นของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆทั้งหมด
1 (6) “.....ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววืวาทชิงฉัตร…..”

กวีกล่าวถึงตอนที่พระเจ้ากรุงหงสาวดีพูดถึงกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาว่ากาลังแย่งชิงบัลลังก์กัน โดยใช้คาว่า ฉัตร


แทนราชบัลลังก์

11
กำรอ่ำนและพิจำรณำประโยชน์หรือคุณค่ำในวรรณคดีและวรรณกรรม

1. คุณค่ำด้ำนอำรมณ์
1.1. ทำให้ผู้อ่ำนรู้สึกถึงควำมเศร้ำโศก
เช่นตอนที่พระมหาอุปราชาต้องจากพระสนมและเดินทัพ เมื่อเห็นสิ่งใดก็คิดถึงนางอันเป็นที่รัก การคร่าครวญ
ของพระมหาอุปราชา ทาให้ผู้อ่านเห็นใจในความรักของพระมหาอุปราชา
13 (79) มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวลสงวน

1.2. ทำให้ผู้อ่ำนรู้สึกสะเทือนใจ
เช่นตอนที่พระมหาอุปราชาลากับพระสนมก่อนไปทาศึกสงคราม

2 (7) พระผาดผายสู่ห้อง หาอนุชนวลน้อง


หนุ่มเหน้าพระสนม
3 (8) ปวงประนมนบเกล้า งามเสงี่ยมเฟี้ยมเฝ้า
อยู่ถ้าทูลสนอง
4 (9) กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว
คลาดเคล้าคลาสมร
5 (10) จาใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละหอ้ย
ห่อนช้าคืนสม แม่แล

พระมหาอุปราชาทรงได้เสด็จไปลานางสนมซึ่งร่าไห้คร่าครวญด้วยความเศร้าโศรกและขอตามเสด็จด้วย แต่
พระมหาอุปราชาได้ตรัสว่าหนทางช่างยากลาบากนัก และพระองค์กไ็ ด้จาใจจากเหล่าสนมไป

12
1.3. ทำให้ผู้อ่ำนรู้สึกเจ็บปวด
เช่นตอนพระมหาอุปราชาทูลพระเจ้าหงสาวดีว่ามีเคราะห์จึงไม่ต้องออกรบจึงถูกพระเจ้าหงสาวดีกล่าวประชด
ด้วยถ้อยคาให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดอับอายว่าให้เอาเครื่องแต่งกายหญิงมาสวมใส่
1 (6) “.....ฟังสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชี่ยวชาญ หาญหักศึกบมิ
ย่อ ต่อสู้ศึกบมิหยอน ไป่พักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัส
ตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยี่ยงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์มวล นวล
พระพักตร์ผ่องเผือด เลือดสลดหมดคล้า ช้ากมลหมองมัว…..”

2. คุณค่ำด้ำนคุณธรรม
ลิลิตตะเลงพ่ายนั้นได้เล่าเรืองราวต่างๆจากประวัติศาสตร์มากมายมาไว้ไนรูปเเบบวรรณคดี เเละ บทกลอนกวี
ให้คนรุ่นหลังได้อ่านกัน เเล้วสิ่งที่ได้จากการอ่านเรืองลิลิตตะเลงพ่าย
61 (307) หวังเริ่มคุณเกียรติก้อง กลางรงค์
ยืนพระยศอยู่คง คู่หล้า
สงครามกษัตริย์ทรง ภพแผ่น สองฤา
สองราชรอนฤทธิ์ร้า เรื่องรู้สรเสริญ
จากบทกลอนสี่สุภาพข้างต้นนั้นได้เล่าถึงเหตุการณ์สงคราม ยุทธหัตถีและชัยชนะของไทย เเละปลุกกระเเสการ
รักชาติรวมไปจนถึงความกตัญญูกตเวทีได้เป็นอย่างดีเเละสามารถนาเอาไปสอนลูกหลานถึงชัยชนะของชาติเรา
ได้อย่างภาคภูมิใจใน วีรกรรม ของบรรพบุรุษ เเละบทต่างๆของวรรณคดีเรืองนี้ก็ยังได้เเสดงถึงการรอบคอบ
เเละไม่ประมาทจากความสามารถของพระนเรศวรในสนามรบต่างๆนาๆ นอกจากนี้ยังมี การรู้จักวางเเผนที่
พระนเรศวรเลือกเเผนการที่จะต้องรับศึกเเละบุกเมืองเพื่อที่จะได้รับชัยชนะที่ยิ่งใหญ่
3. คุณค่ำด้ำนอื่นๆ
3.1. คุณค่ำด้ำนสังคม
ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีที่สะท้อนคุณค่าด้านสังคมอย่างมากมายแม้จะเป็นศึกสงครามระหว่าง
สองฝ่ายเเต่ก็มีขนบธรรมเนียมในการศึกเเล้ววรรณคดีเรืองนี้ก็ได้ถ่ายทอดคุณค่าเหล่านั้นออกมาให้เห็น
ตัวอย่างเช่น พระเจ้าหงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชาว่า “กษัตริย์กรุงศรีอยุธยามีพระโอรสที่กล้าหาญไม่
ครั่นคร้ามต่อการศึกสงคราม” เเม้ความเป็นจริงเเล้วพระโอรสนัน้ ไม่ได้กล้าหาญเเต่ขี้ขลาดเป็นอย่างมาก
เหตุการณ์นี้สะท้อนให้เห็นธรรมชาติมนุษย์ในสนามรบนั้นก่อนทาศึกก็ได้มีการทาพิธีโขลนทวารตัดไม้ข่มนาม
เพื่อเป็นการให้ขวัญกาลังใจทหารซึ่งเป็นการสะท้อนเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี เเละ วรรณคดีเรืองนี้ยัง
มีการสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของสังคมไทย รวมไปจนถึง การสะท้อนข้อคิดเพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต
อีกด้วย

3.2. คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์

13
วรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายนั้นเป็นวรรณคดีชั้นสูงเเละยังมีความไพเราะด้านวรรณศิลป์อีกด้วย วรรณคดี
เรืองนี้เป็นมรดกล้ค่
า าที่เหมาะเเก่การศึกษาเเละเล่าต่อให้ลูกหลานเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในวีรกรรมเเละ
ภาษาไทยที่ใช้ในการถ่ายทอดบรรยายเรื่องราวได้อย่างงดงาม การเลือกสรรคา ใช้คาที่เหมาะเเก่เนื้อเรืองเเละ
ฐานะของบุคคลนั้นรวมถึงการเลือกเสียงของคาให้เชื่อมโยงกันเป็นสิ่งที่ผู้เเต่งต้องคานึงเป็นอย่างดีเพื่อให้
ออกมาไพเราะสูงส่งนอกจากนี้ยงั ต้องมีการคัดเลือกโวหารในการบรรยายให้เห็นภาพชัดเจน

3.3. คุณค่ำด้ำนเนื้อหำ
คุณค่าด้านเนื้อหาของวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายนั้นมีตั้งเเต่คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ ด้านสังคม เเละยัง
มี วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยก่อน เนื้อหาเรืองนี้ได้บอกเล่าเหตุการณ์มากมายในประวัติศาสตร์เเละยังพยายาม
รักษาข้อเท็จจริงที่ได้มาจากพงศาวดารให้ได้มากที่สุด เนื้อหาของเรื่องเป็นการเล่าเเละสอนเรื่องในอดีตได้ดี
ที่สุด ทาให้เราได้รู้ความเป็นมาเเละวีธีการดาเนินชีวิตของคนไทยสมัยนั้น

14
บรรณำนุกรม
ชนะศักดิ์ เล็กสิงห์โต. ลิลิตตะเลงพ่าย[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2561. สืบค้นได้จาก
http://teaiporn1213.blogspot.com/
วิกิพีเดีย. โคลงสี่สุภาพ[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2561. สืบค้นได้จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%
B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2
%E0%B8%9E
กษิลินทร์ มะโนชัย. ลิลิตตะเลงพ่าย[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2561. สืบค้นได้จาก
https://alilit.wordpress.com/category/09-
%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8
%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0
%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B0
%E0%B9%80/
พันทิพย์ โขมะนาม. วรรณคดีไทยน่าอ่าน เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม
2561. สืบค้นได้จาก
https://thaistudym5.wordpress.com/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%
97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%95-
%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8
%B2-
%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8
%B0/%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E
0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%8
1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B
8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9/
ลิลิตตะเลงพ่าย[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2561. สืบค้นได้จาก
http://thaililitpc5.blogspot.com
คุณค่าทางด้านเนื้อหาและวรรณศิลป์ของลิลิตตะเลงพ่าย[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2561.
สืบค้นได้จากhttp://hiyorichann.blogspot.com/2015/01/blog-post.html

15

You might also like