You are on page 1of 22

คัมภีร ์ฉันทศาสตร ์

แพทย ์ศาสตร ์สงเคราะห ์


นํ าเสนอโดย

นาย ภพศรุต อ ักโข เลขที่ 1


นางสาว พัชราพร ชวาลกุล เลขที่ 6
ั ษ ์สิน ลขที่ 16
นางสาว ธ ันยธรณ์ สหพิทก

้ั ธยมศึกษาปี ที่ 5/8


ชนมั
เนือ้ เรือ่ ง
● ผูแ้ ต่งได ้เปรียบเทียบร่างกายของคนเรากับบ ้านเมือง
● มีโรคร ้ายเป็ นผูบ้ ุกรุกหรือ อุปสรรคในการใช ้ชีวต
ิ มีแพทย ์เป็ น
่ อยู่หรือกาลังทหารใน
ตัวร ักษาและแก ้ไขปัญหากับอุปสรรคทีมี
การต่อสู ้รบกับโรคร ้าย
● ่
เปรียบเทียบอาหารคือเสบียงทีคอยเลี ้ พเพือให
ยงชี ่ ้มีชวี ต
ิ อยู่
่ ส
รอด แล ้วสิงที ่ าคัญทีสุ
่ ดคือเราต ้องมีจต ่ มแข็งเพือต่
ิ ใจทีเข็ ่ อกร

กับโรคร ้าย
● ่ ความรู ้ ความเชียวชาญในหารร
เเพทย ์ควรทีจะมี ่ ักษาโรคร ้ายให ้
่ จะร
ถูกวิธ ี ร ักษาให ้ถูกโรค และทันเวลา เพือที ่ ักษาอาการ

ึ้
เจ็บป่ วยให ้หายดีขน

โครงเรือง
เป็ นการเปรียบเทียบระหว่างร่างกายของมนุษย์กบั
บ้านเมือง หมอจะต้องรักษาอาการเจ็บใคร่ได้ป่วยของคนไข้ให้ถูกต้องเพือ่ จะได้
ช่วยเหลือคนไข้ได้อย่างสาเร็จ
ตัวละคร
เปรียบแพทย ์คือทหาร อันชานาญรู ้ลาเนา
ข ้าศึกมาอย่าใจเบา ห ้อมล ้อมรอบทุกทิศา

● แพทย ์มีหน้าทีร่ ักษาคนไข ้ คนเจ็บทีมาหา



● ่
เปรียบเสมือน แพทย ์เป็ นทหาร ทีคอยบอกป้ ่
องข ้าศึกทีมาร ้อมรอบ
● เปรียบเสมือนโรคภัยทีเข ่ ้ามาในร่างกายคนไข ้

ฉากท้องเรือง
ในบทกลอนนี ้ ไม่มฉ ่ เนื่ องจาก ผูเ้ ขียนได ้
ี ากท ้องเรือง

รวบรวมความรู ้จากเล่มอืนๆมาประกอบกั น จึงไม่สามารถระบุ

ตาแหน่ งหรือท ้องเรืองได ้
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
เนื่ องจากบทกลอนนี ส่้ วนใหญ่ผู ้เขียนได ้รวบรวมความรู ้จากเล่มอืนๆมาประกอบกั
่ น จึงไม่มบ
ี ท
สนทนา

แก่นเรือง
สมัยโบราณนั้นเปรียบเทียบร่างกายเป็ น
เหมือนเมืองๆหนึ่ ง ส่วนโรคร ้ายเป็ นเหมือนข ้าศึก

แพทย ์มีหน้าทีในการปกป้ องเมืองจากข ้าศึก
เหล่านี ้ เพราะชะนั้นหมอไม่ควรประมาท, หลง
้ั
ตัวเอง, พูดยาลวงคนไข ้ และอย่าโลภเงิน ไม่งน หมอ
คนไข ้อาจตายได ้ สิ่งที่ไม่ควร สิ่งที่ควรทำ
ทำ
การพิจารณาการใช ้โวหารในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
๑.การสรรคา
กวีจะต ้องเลือกใช ้คาศัพท ์ให ้ถูกต ้องและมีความเหมาะสมตาม

ความต ้องการของผูเ้ เต่ง และกวีก็ต ้องเลือกทีจะใช ้คาศัพท ์ให ้ถูกต ้อง
่ ้เกิดความสวยงามและความไพเราะของบทกลอง และยังต ้องเลือก
เพือให

ทีจะใช ้คาให ้เกิดความคลอ้ งจองกันในบทกลอน ดังต่อไปนี ้
่ ้องการ
๑.๑เลือกใช ้คาให ้ถูกต ้องตรงตามความหมายทีต
่ อาการไข ้ ปวดศีรษะ ตัวร ้อน นัยน์ตาแดง ไอ อาเจียน เบืออาหาร
ถ ้าจะกล่าวถึงโรคทีมี ่ ถ ้ามีอาการมาก
จะมีเม็ ดด ้
ุ ขึนตามร่
างกาย มีอาการไอ เสมหะและ เลือดออกทางปาก จมูก ต ้องใช ้คาว่า “กาเดา” จะใช ้คา “กา”
่ ้องการ
หรือ “เดา” อย่างเดียวไม่ได ้ เพราะจะไม่ได ้ความหมายทีต
่ งแล ้วบดละเอียดประสมน้า พอให ้เปี ยกสาหร ับ
ถ ้าจะกล่าวถึงยาทีปรุ
้ ายยาแล ้วกวาดทีโคนลิ
ใช ้นิ วป้ ่ ้
นหรือในลาคอ ต ้องใช ้คาว่า “ยากวาด”
่ ชดั
จะใช ้คา “ยา” อย่างเดียวไม่ได ้ เพราะจะทาให ้ไม่ทราบความหมายทีแน่
ถ ้าจะกล่าวถึงสานวนทีว่่ า ต่างคนก็ตา่ งใช ้ยาต่างกันไป จะต ้องใช ้สานวนว่า “ต่างเนื อก็
้ ตา่ งยา” จะใช ้ “ต่าง ยาก็ตา่ ง
้ ไม่ได ้ เพราะผิดจากสานวนทีใช
เนื อ” ่ ้ในภาษา
่ เนื อหาเกี
ถ ้าจะกล่าวถึงคัมภีร ์ของประเทศอินเดียทีมี ้ ่ ักษาโรค จะต ้องใช ้คาว่า “คัมภีร ์ไสย” จะใช ้คา “คัมภีร ์” อย่าง
ยวร
่ นหนังสือตาราของศาสนาได ้
เดียวไม่ได ้ เพราะว่าผูอ้ า่ นจะเข ้าใจผิดได ้โดยนึ กคิดว่าเป็ นคัมภีร ์ทีเป็
๑.๒ เลือกใช ้คาโดยคานึ งถึงเสียง
่ นเสียงสัมผัส
๑.) คาทีเล่
่ ้เกิดเสียงที่
กวีเล่นสระของคาลงท ้ายของแต่ละบรรทัดในบทกลอนโดยการใช ้สรพตัวเดียวกัน เพือให

คล ้ายคลึงกันของเสียงทาให ้เกิดความไพเราะขึนในบทกลอน ดังนี ้

เปรียบแพทย ์คือทหาร อันชานาญรู ้ลาเนา


ข ้าศึกมาอย่าใจเบา ห ้อมล ้อมรอบทุกทิศา
ให ้ดารงกระษัตริย ์ไว ้ คือดวงใจให ้เร่งยา
อนึ่ งห ้ามอย่าโกรธา ข ้าศึกมาจะอันตราย
จะสังเกตได ้ว่ากวีเล่นคาโดนใช ้สระอาในคาลงท ้าย เช่น
- เนา, เบา
- ศา, ยา
- ยา, ธา
การเรียบเรียงคํา ้

กวีได ้เลือกทีจะเรี
้ อยๆ ่
ยบเรียงคาโดยการเรียบเรียงประโยค
่ นการเกรินเรื
่ อง

เนื อหาให ้เข ้มข ้นขึนเรื อยู่ชว่ งแรกเพือเป็
แต่หลังจากพักหนึ่ งกวีได ้เลือกทีจะเปลี ่ ่
ยนการเรี ยงคาเป็ นแบบ
เรียงคาวลีหรือเรียงทีมี ่ ความสาคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป
เพราะกวีพยายามจะสือว่ ่ าแต่ละสิงที ่ กวี
่ เขียนนั้นล ้วนสาคัญ
และไม่ได ้เขียนให ้ความเข ้มข ้นนั้นมากขึนหรื ้ อน้อยลงเลย
เพราะกวีต ้องการจะสือว่ ่ า สิงที
่ ไม่
่ ควรทาแต่ละอย่างนั้นสาคัญ
หมดและไม่ควรทา


“รู ้น้อยอย่าบังอาจ หมินประมาทในโรคา”

ั้ ้ยา เห็นโรคาไม่ถอยหนี ”
“อวดยาครนให

“โรคนั้นคือโทโส จะภิยโยเร่งวัฒนา”
โวหารอุปมา
่ อนร ักษาได ้
เมืออ่ แก่แล ้วไซร ้ยากนักหนา
ไข ้นั้นอุปมา เหมือนเพลิงป่ าไหม้ลุกลาม
● ้ ้าร ักษาตังแต่
โรคจะหายได ้เร็วขึนถ ้ เนิ่ นๆ
● ่ ้าไม่ รบี ร ักษาจะทาให ้อาหารยิงหนั
อีเปรียบเทียบไข ้กับเพลิงป่ า ซึงถ ่ กขึน้
● ่ อยๆลามและจะหยุดไฟป่ านั้น ยาก
เปรียบเสมือนเพลิงป่ าทีจะค่
โวหารอุปลักษณ์
ดวงจิตคือกษัตริย ์ ผ่านสมบัตอิ น
ั โอฬาร ์
ข ้าศึกคือโรคา เกิดเข่นฆ่าในกายเรา

● เปรียบเทียบ จิตใจของคน
● ่
ดังกษั ่ โรค เปรียบเสือนข ้าศึกเข ้ามาโจมตี
ตริย ์ ทีมี
● ่ ยบเปรย
ลักษณะการใช ้ถ ้อยคาทีเปรี
ความสําคัญและคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
คุณค่าด้านคุณธรรม
คัมภีร ์ฉันทศาสตร ์ แพทย ์ศาสตร ์สงเคราะห ์ ให ้คติสอนใจว่าเป็ นหมออะไรควรทาหรือไม่ควร เช่น อย่าทาเป็ นรู ้
้ รู่ ้น้อยหรือไม่รู ้ ควรจะตรวจสอบโรคให ้ดีกอ
ทังๆที ่
่ นๆทีจะสรุ ้ ยั
ปว่าคนไข ้เป็ นอะไรทังๆที ่ งไม่รู ้ดี เป็ นแพทย ์อย่าอวดรู ้และ
อย่าโทษอย่างอืนเมื่ อคนไข
่ ่ นแพทย ์ เพราะถ ้าคนไข ้ตาย
้ไม่หาย เช่น ผีอา, ยาไม่ดี เป็ นต ้น และอย่าโลภหวังเงินเมือเป็

ขึนมามั นไม่ดี
คุณค่าด้านปั ญญา
● กาพย ์ยานี ๑๑ ในการประพันธ ์
● และยังใช ้คาประพันธ ์ประเภทร่าย
● ้
การให ้ความรู ้ในการร ักษาโรคระบาดเบืองตน และวิธ ี
สังเกตุอาการ
● ่
การให ้ข ้อคิดเกียวกั
บการปฏิบต ั ต
ิ นของแพทย ์
● ่ แพทย
สิงที ่ ์ควรทาหรือไม่ควรทา
คุณค่าด้านประวัติศาสตร ์
● ในสมัยร ัชกาลที่ ๕
● พระยาพิศณุ ประสาทเวช หรือหมอคง
● ่
ความรู ้รวบยอด และเพือเผยแพร่ให ้กับประชาชน
● ได ้มีโรคระบาดเกิดขึน้
● ประชาชน มีวธิ ก ้
ี ารร ักษาปฐมพยาบาลเบืองต ้น
● คาแนะนากับหมอ
คุณค่าด้านการใช้ภาษา
● ได ้มีการใช ้กาพย ์ยานี ๑๑ เป็ นประเภทร่าย
● ่
ภาษาทีสละสลวย
● เน้นการใช ้ โวหารอุปลักษณ์ในการประพันธ ์
● ่ น้
เปรียบเทียบให ้ผูอ้ า่ นเห็นภาพชัดเจนยิงขึ
● สรรหาคาทีใช ่ ้เปี ยบเปรยอย่างชัดเจน
● ่ ้ผูอ้ า่ นเห็นภาพ และคล ้อยตามบทประพันธ ์
เพือให
ขอบคุณค่ะ/คร ับ

You might also like