You are on page 1of 29

ก า ร อ่ า น แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ว ร ร ณ ค ดี เ รื่ อ ง

ขั ต ติ ย พั น ธ ก ร ณี
โดย
นายภูชิสส์ บรรลือศักดิ์ เลขที่ ๒
นายพศุตม์ ขวัญแพ เลขที่ ๗
นายกฤติน แทนสีดา เลขที่ ๑๙
นางสาวปนิชา วงษ์ถ้วยทอง เลขที่ ๒๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๓
ก า ร อ่ า น แ ล ะ พิ จ า ร ณ า

เ นื้ อ ห า แ ล ะ ก ล วิ ธี
ใ น ว ร ร ณ ค ดี
เ นื้ อ เ รื่ อ ง ย่ อ

• เกิดข้อขัดแย้งขึ้นระหว่างฝรั่งเศสและไทย

• ทำให้เกิด “วิกฤตการณ์ ร.ศ.๑๑๒” ขึ้น

• เรือรบฝรั่งเศสบุกเข้าปากแม่น้ำเจ้าพระยา

• เจรจากับฝรั่งเศสจนต้องเสียดินแดนและทรัพย์สิน

• ด้วยพระอาการประชวรและปัญหาบ้านเมือง ทำให้พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความทุกข์โทรมนัสเป็นอันมาก

• พระองค์จึงทรงพระราชนิพนธ์โคลงฉันท์โต้ตอบกับสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระยาดำรงราชานุภาพ
• สมเด็จพระยาดำรงจึงทรงรีบให้กำลังใจพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่
๕ เพื่อให้ท่านได้หายจากพระอาการประชวรและกลับไปทรง
พระราชกรณียกิจดั่งเดิม
ตั ว ล ะ ค ร

• พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว

• พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ ใน
ราชวงศ์จักรี ผู้มีพระปรีชาสามารถ
รอบด้าน

• ท่านทรงแก้ไขปัญหาปฏิรูปเพื่อ
หลีกเลี่ยงการล่าอาณานิคมของ
ตะวันตก
ตั ว ล ะ ค ร

• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม
พระยาดำรงราชานุภาพ

• พระราชโอรสองค์ที่ ๕๗ ใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว

• เป็นที่ไว้วางใจในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

• “เพชรประดับพระมหาพิชัยมงกุฎ”
โ ค ร ง เ รื่ อ ง

• บทประพันธ์โต้ตอบระหว่าง พระบาทสมเด็จพระจุลอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว กับ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระยาดำรงราชานุภาพ

• ส่วนของพระบาทสมเด็จพระจุจอมเกล้าฯ เป็นการระบายความ
ทุกข์โสมนัส

• เป็นกลอนสี่สุภาพ ๗ บท
โ ค ร ง เ รื่ อ ง

• ส่วนของพระยาดำรงฯ ประพันธ์เพื่อบรรเทาความทุกข์ของพระบามสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าฯ

เป็นอินทรวิเชียรคำฉันท์โต้ตอบอีก ๒๖ บท
ฉ า ก ท้ อ ง เ รื่ อ ง

• สถานที่ไม่ได้ถูกระบุไว้อย่างเจาะจง

• เป็นบทพระราชนิพนธ์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงเหตุการณ์
วิกฤตการ ร.ศ. ๑๑๒

• ช่วงที่ประเทศทางฝั่งยุโรปทําการขยายอาณานิคมและยึด
ครองประเทศราช

• ถูกคัดมาจากพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บ ท เ จ ร จ า รำ พึ ง รำ พั น

• ทรงพระปรีชาสามารถในการบรรยายและพรรณาถึงความรู้สึก
และอารมณ์ผ่านบทกวีพระราชนิพนธ์ ขัตติยพันธกรณี อย่างลึก
ซึ้ง
ตัวอย่าง

เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย

คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลื้อง

ความเหนื่อยแห่งสูจัก พลันสร่าง

ตูจักสู่ภพเบื่อง หน้านั้นพลันเขษ

บรรยายถึงความเจ็บปวดภายในพระทัย และทรงปรารถนาที่จะปรงพระชนม์เพื่อจะได้
หลุดพ้นจากความทุกข์
ตัวอย่าง

ดุจเหล่าพละนา- วะเหว่ว้ากะปิตัน
นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง

บรรยายและให้ข้อคิด โดยเปรียบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ


กัปตัน และเปรียบ ปวงประชา กับลูกเรือ

กล่าวคือ หากเรือนั้นไร้กัปตัน ลูกเรือก็ยากที่หาหนแห่งและปลายทางจุดหมาย


ตัวอย่าง

ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลื่อนคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นที่หม่นหมอง
ขอจงสำเร็จรา- ชะประสงค์ที่ทรงปอง
ปกข้อฝ่าละออง พระบาทให้สามัคคี
ขอเหตุที่ขุ่นขัด จะวิบัติพระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ละลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ยุสถาวรพูน
เพิ่มเกียรติอนุกุล สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ

ทรงเป็นมิ่งขวัญกำลังใจและถวายพระพรแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้มีพระพระนามัยที่แข็งแรง สำเร็จตามพ


ระประสงค์ มีพระชนมายุยืนยาว และมีเกียรติยศ และพระปรีชาสามารถในการช่วยเหลือและดูแล ประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรือง
แ ก่ น เ รื่ อ ง

เป็นบทกวีพระราชนิพนธ์ที่ทรงบรรยายและพรรณาความยากลำบากและ
ความหนักหน่วงทั้งพระวรกายและใจ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ที่ทรงทำเพื่อปวงประชาและประเทศชาติ

ไม่ว่าท่านจะทรงเหนื่อยเพียงใด ท่านก็ยังคงไม่ย่อท้อ ที่จะปกป้องบ้านเมือง


ให้ร่มเย็นเป็นสุขในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน

จุดมุ่งหมายในการพระราชนิพนธ์ :

• แสดงความจงรักภักดี

• เป็นมิ่งขวัญกำลังใจ
ก า ร อ่ า น แ ล ะ พิ จ า ร ณ า

ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ใ น
ว ร ร ณ ค ดี
๒ . ๑ ก า ร ส ร ร คำ

• ทั้ ง ส อ ง พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ส ร ร ห า คำ อุ ป ม า อุ ป ลั ก ษ ณ์ เ พื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ พ ร ะ
ม ห า ก ษั ต ริ ย์ เ ส มื อ น กั ป ตั น เ รื อ แ ล ะ บ ร ร ด า ป ร ะ ช า ช น เ ห มื อ น ก ะ ล า สี เ รื อ

ลู ก เ รื อ แ ล ะ ก ะ ล า สี เ รื อ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม เ รื อ ใ น ท่ า ม ก ล า ง ม ห า ส มุ ท ร
อั น ก ว้ า ง ข ว า ง ไ ด้ ถ้ า ข า ด กั ป ตั น เ รื อ ไ ป

ทำ ใ ห้ เ กิ ด จิ น ต ภ า พ แ ล ะ ก ร ะ ตุ้ น อ า ร ม ณ์ ที่ อ่ า น ใ ห้ มี ใ จ หึ ก เ หิ ม รั ก ช า ติ ยิ่ ง


ขึ้ น แ ล ะ เ รี ย บ เ รี ย ง ส า ร สำ คั ญ ไ ว้ ว่ า “ ธ ร ร ม ด า ม ห า ส มุ ท ร มี ค ร า ว ห ยุ ด
พ า ยุ ผั น มี ค ร า ว ส ล า ตั น ตั้ ง ร ะ ล อ ก ก ร ะ ฉ อ ก ฉ า น ”

ทำ ใ ห้ ผู้ อ่ า น ต ร ะ ห นั ก ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ธ ร ร ม ด า ที่ ไ ม่ ว่ า จ ะ ทำ ง า น อ ะ ไ ร ก็ มั ก จ ะ มี
ปั ญ ห า ห รื อ อุ ป ส ร ร ค ต่ า ง ๆ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ทุ ก ปั ญ ห า มี ท า ง แ ก้ ไ ข ข อ ใ ห้
ทุ ก ค น ลุ ก ขึ้ น สู้ แ ล ะ ไ ม่ ย้ อ ท้ อ ต่ อ ปั ญ ห า ใ ด ๆ
๒ . ๒ ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง คำ

• บทประพันธ์ขัตติยพันธกรณีใช้คำฉันท์ในการแต่งขึ้นโดยการใช้ คำครุ-ลหุโดยที่ไม่ใด้เคร่งครัดมากนัก
แต่ทรงใช้การออกเสียง

• การใช้จินตภาพและการแสดงอารมณ์ที่ทำให้เกิดการสะเทือนใจเป็นหลัก

• มีการจัดวางคำที่ต่อเนื่องกับจังหวะตามโครงสร้างของภาษาอย่างเหมาะสม

• ในบทพระนิพนธ์มีการนำเสนอเนื้อเรื่องจากจุดเล็กๆไปจนถึงเนื้อหาที่มีความสำคัญมากขึ้นตามลำดับ
ทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย

• ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน

• หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป

• ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี้อยู่ทุกจิตใจ

• แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม
๒ . ๓ ก า ร ใ ช้ โ ว ห า ร

• บทประพันธ์นี้เน้นการใช้โวหารภาพพจน์ตัวอย่างเช่น อุปมาโวหาร ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบสิ่งใดกับสื่งหนึ่ง โดยมีการใช้


คำว่า “ดุจ” เพื่อเปรียบเทียบว่าประชาชนดั่งลูกเรือและพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าเรือ โดยตามคำประพันธ์

ดุจเหล่าพละนาวา วะเหว่ว้ากะปิตัน

นายท้ายก็ฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง

• หากลูกเรือขาดหัวหน้าเรือไปก็จะทำให้เรือล่มลงได้ เนื่องจากหากเรือขาดผู้นำไปจะทำให้ลูกเรือสับสนในหน้าที่ของ
ตนเองทำให้เกิดความวุ่นวายภายในและอาจถูกอุปสรรคต่างๆซัดเรือให้ล่มได้

• อีกทั้งในบทพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้อุปมาโวหารในการเปรียบความทุกข์โทร
มนัสและหน้าที่เหมือนตะปูที่ตรึงพระบาทของพระองค์ไว้ ตามคำประพันธ์

ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง บาทา อยู่เฮย

จึง บ อาจลีลา คล่องได้

• โดยในบทประพันธ์นี้ได้เปรียบภาระหน้าที่ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสมือนตะปูที่ยึดพระองค์ไว้ทำให้
พระองค์ไม่สามารถทำสิ่งที่พระองค์ทรงปรารถนาที่จะทำตามพระราชหฤทัยได้ซึ่งก็คือ การปลงพระชนม์ชีพพระองค์เอง
๒ . ๓ ก า ร ใ ช้ โ ว ห า ร

• นอกจากนี้ ในบทพระราชนิพนธ์ และพระนิพนธ์ส่วนที่แต่งเป็น


คำฉันท์ ทั้งสองพระองค์ทรงเลือกใช้อินทรวิเชียรฉันท์โดยมิได้
ทรงเคร่งครัดเรื่องการใช้คำครุ-ลหุให้ตรงตามตำแหน่งที่วาง
ไว้ในคณะฉันท์ แต่ทรงใช้ตามการออกเสียงหนักเบาตาม
ธรรมชาติของภาษาพูดภาษาไทยเหมือนที่กวีโบราณปฏิบัติมา

ประสาทแต่อยู่ใกล้ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา

เลือเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย
ก า ร อ่ า น แ ล ะ พิ จ า ร ณ า

ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ
คุ ณ ค่ า ใ น ว ร ร ณ ค ดี
คุ ณ ค่ า ท า ง ด้ า น อ า ร ม ณ์

• บทพระราชนิพนธ์

• พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแสดงความ
กังวลพระทัยทั้งพระอาการประชวรและปัญหาบ้านเมือง

• พระองค์ทรงท้อกับปัญหาเหล่านี้ถึงขึ้นจะทรงปรารถนาที่จะ
ปลงชีพพระองค์เอง

• แสดงให้เห็นถึงความห่วงแหนแผ่นดินของพระมหากษัตริย์
และอีกมุมของพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีความท้อพระทัยไป
บ้างแล้ว
คุ ณ ค่ า ท า ง อ า ร ม ณ์

• บทพระนิพนธ์

• สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระยาดำรงราชานุภาพทรงมี
ความวิตกกังวลและเป็นห่วงเป็นใยพระมหากษัตริย์ พร้อม
เสียสละชีวิตเพื่อพระเจ้าแผ่นดิน

• แสดงถึงความรู้สึกเสียสละและจงรักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดิน
คุ ณ ค่ า ท า ง อ า ร ม ณ์

• อารมณ์ที่ผู้อ่านได้รับ:

• รู้สึกทราบซึ้งถึงพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์

• รู้สึกรักพระมหากษัตริย์มากยิ่งขึ้น
คุ ณ ค่ า ด้ า น ศี ล ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม

• ทศพิธราชธรรม = ธรรมที่พระมหากษัตริย์ควรพึงมี

• คุณธรรมที่เห็นได้ชัดคือ ความอดทน ถึงแม้ท่านจะทรงท้อ


พระทัย แต่ท่านต้องทรงอดทนต่อไป เพื่อความสงบของ
ประเทศชาติ

• ความกตัญญูและเสียสละต่อชาติและพระมหากษัตริย์

• กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงพร้อมที่จะเสียสละชีพของ
พระองค์เพื่อปกป้องชาติและพระมหากษัตริย์
คุ ณ ค่ า ด้ า น อื่ น ๆ

• คุณค่าด้านสังคม

• การยกสุภาษิตไทย (คำสอนของไทย) มาใช้สอดแทรกในกลอน เช่น “ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน =


ชีวิตมักไม่แน่นอน”

• คุณค่าด้านประวัติศาสตร์

• สะท้อนเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ เช่น วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒

• คุณค่าด้านวรรณศิลป์

• มีการใช้ฉันทลักษณ์ที่หลากหลาย

• การใช้อุปมาโวหาร

• สัมผัสนอก สัมผัสใน สัมผัสสระและอักษร รวมถึงการเล่นคำซ้ำ อีกด้วย


ชีวิตมนุษย์นี้ เปลี่ยนแปลง จริงนอ
ทุกข์และสุขพลิกแพลง มากครั้ง
โบราณท่านจึงแสดง เป็นเยี่ยง อย่างนา
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดข้าง ฝ่ายดี
ขอบคุณสำหรับการรับชม

You might also like