You are on page 1of 55

มัน

่ พัฒนา...
บนเส้นทางแห่งความยั่งยืน
อนุรกั ษ์ผสานพั ฒ นา
บนวิถแี ห่งดุลยภาพ ๓
ย่านตลาดนางเลิ้ง ตลาดบกแห่งแรกที่สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕
๓ อนุรกั ษ์ผสานพัฒนา บนวิถแี ห่งดุลยภาพ

น่ า ภู มิ ใ จยิ่ ง นั ก ที่ ป ระเทศไทยของเราเป็ น ประเทศที่ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มา


แม้ เ ราจะไม่ อ าจต้ า นกระแสของการเปลี่ ย นแปลง

อั น ยาวนาน มี ร ากฐานทางอารยธรรมที่ ง อกงามมาตั้ ง แต่ ยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์


ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ตราบเท่ า ที่ ก ารเรี ย นรู้ แลกเปลี่ ย น ติ ด ต่ อ

มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันโดดเด่น จนกลายเป็นอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความเป็น
สื่อสารระหว่างวัฒนธรรมยังคงดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และ
ตัวตนของชนชาติอย่างเด่นชัด ทั้งภาษา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ทัศนคติ
ความจำเป็ น ในการพั ฒ นาก้ า วตามกระแสโลกยุ ค ใหม่

ความเชื่อ ค่านิยม ที่ยังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งยังคงต้องดำเนินต่อไป

แต่ ด้ ว ยกาลเวลาที่ ล่ ว งผ่ า นมาเนิ่ น นานนั บ ร้ อ ยนั บ พั น ปี เอกลั ก ษณ์ แ ห่ ง


อย่างไม่หยุดยั้ง ในขณะที่รากเหง้า รากฐาน ความเป็นมา
ความเป็ น ไทยเหล่ า นี้ ก็ ไ ด้ มี วิ วั ฒ นาการเคลื่ อ นไหวไปข้ า งหน้ า ตามกาลเวลาและบริ บ ท
ดั้งเดิม ก็ยังจำเป็นต้องธำรงรักษาไว้เช่นกัน แต่เราสามารถ

ที่เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงนี้มิได้เกิดขึ้นเฉพาะกับประเทศไทยเท่านั้น หากแต่


ที่ จ ะผสมผสานวิ ถี แ ห่ ง การพั ฒ นาและวิ ถี แ ห่ ง การอนุ รั ก ษ์

เกิ ด ขึ้ น ทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในยุ ค แห่ ง การไหลบ่ า ของกระแสโลกาภิ วั ต น์
ที่ แ ตกต่ า งกั น คนละขั้ ว ให้ ส ามารถส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น กั น

ที่ โ ลกทั้ ง ใบเชื่ อ มโยงถึ ง กั น ได้ด้ ว ยเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารไร้ พ รมแดน หลายๆ ประเทศ
และกันได้ด้วยการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ
สูญเสียเอกลักษณ์ดั้งเดิมของตนเองไปมากบ้างน้อยบ้ า งตามความเข้ ม แข็ ง ของรากฐาน

ทางวัฒนธรรม ส่งผลให้เกิด “วัฒนธรรมเลียนแบบ” กันเกือบทั่วโลก


ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า อิทธิพลของกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ในทุกยุคทุกสมัยได้ส่งผลให้ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปในทุกมิติ ทั้งลักษณะทางกายภาพ
ค่ า นิ ย ม หรื อ แม้ แ ต่ วิ ถี ก ารดำรงชี วิ ต หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า สภาพการณ์ ข องสั ง คมไทย

สมัยใหม่สะท้อนภาพเอกลักษณ์ของชาติไทยไม่ชัดเจน จนน่าเป็นห่วงว่าเด็กและเยาวชน

คนรุ่ น หลั ง ซึ่ ง กำลั ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากการไหลบ่ า ทางวั ฒ นธรรมที่ ถ าโถมเข้ า มา

อย่างไม่หยุดยั้งจะเริ่มห่างไกลจากวิถีไทยไปเรื่อยๆ จนหลงลืมรากฐานความเป็นมาดั้งเดิม

และอาจทำให้สูญเสียเอกลักษณ์และความภาคภูมิใจในชนชาติไปในที่สุด

z ๖๖
ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของการธำรงรักษารากฐานความเป็นมาและคุณค่า
ความสำคัญของการพัฒนาเชิงอนุรักษ์ มิใช่เป็นไป

แห่ ง วิ ถี ไ ทยอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ แ ละมรดกทางวั ฒ นธรรมอั น ทรงคุ ณ ค่ า และเป็ น


เพื่อรักษาความทรงจำแห่งอดีตเท่านั้น หากแต่การเรียนรู้
ความภาคภู มิ ใ จของชนชาติ ในฐานะองค์ ก รที่ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาอั น ยาวนาน
รากฐานความเป็ น มาในอดี ต ยั ง ทำให้ ส ามารถเข้ า ใจ

มี ค วามผู ก พั น แนบแน่ น และมี ส่ ว นร่ ว มในประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวิ วั ฒ นาการทางสั ง คม


ในวิถีปัจจุบัน เพื่อที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์
ของประเทศไทยอย่างใกล้ชิดในทุกยุคทุกสมัย อีกทั้งพื้นที่หลายแห่งในความดูแลยังเป็น สำหรั บ การก้ า วต่ อ ไปในอนาคตได้ อ ย่ า งเข้ ม แข็ ง มั่ น คง
พื้นที่ที่มีคุณค่าทั้งในทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม และสะท้อน
และยั่งยืนท่ามกลางการไหลบ่าของกระแสโลกาภิวัตน์
วิถีชีวิตดั้งเดิมไม่ว่าจะเป็นชุมชนโบราณ ย่านเก่า วัดวาอาราม ตลาด อาคาร และสถานที่
สำคัญต่างๆ ซึ่งล้วนแต่เป็นประจักษ์พยานที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และรากฐานความเป็นมา
ของชนชาติ ตลอดจนเป็นสื่อสะท้อนวิถีไทยที่ยังปรากฏชัดเจนสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
สำนักงานทรัพย์สินฯ จึงต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมธำรงรักษา และร่วมสืบสานมรดก
ของชาติเหล่านี้ให้อยู่คู่แผ่นดินไทยตลอดไป
สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ให้ ค วามสำคั ญ กั บ ภารกิ จ ด้ า นการพั ฒ นาเชิ ง อนุ รั ก ษ์

เป็ น อย่ า งยิ่ ง โดยได้ ก ำหนดนโยบายและแนวทางในการดู แ ลรั ก ษาและพั ฒ นาพื้ น ที่

อั น ทรงคุ ณ ค่ า เหล่ า นี้ อ ย่ า งเหมาะสม สอดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ วิ ถี ชุ ม ชน


เอกลักษณ์ของพื้นที่ ตอบสนองความต้องการของผู้เช่าและสังคมรอบข้าง และสอดรับ

กั บ นโยบายและทิ ศ ทางการพั ฒ นาในทุ ก ระดั บ ชั้ น ควบคู่ ไ ปพร้ อ มกั บ การสร้ า งกลไก

ที่กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคม พร้อมทั้ง “ปลูกสร้างจิตสำนึก”

ให้ประชาชนตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของรากฐานอันทรงคุณค่าเหล่านี้ ซึ่งถือเป็น
งานที่ยากที่สุด สำคัญที่สุด แต่มีประสิทธิภาพยิ่งกว่าทฤษฎีการอนุรักษ์ใดๆ

z ๖๗
อนุรกั ษ์อาคาร
ผสานประโยชน์ผา่ นกาลเวลา

“อาคาร ๙ ห้อง” ริมถนนพระอาทิตย์ หลังแปลงโฉมใหม่ ตกแต่งเป็นร้านรวงทันสมัย


เป็นแหล่งท่องเที่ยวยามราตรีที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ในบรรยากาศอันโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์
จุ ด เปลี่ ย นแห่ ง พั ฒ นาการของประเทศเริ่ ม ขึ้ น อย่ า งเด่ น ชั ด ในรั ช สมั ย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อเนื่องมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อสยามประเทศเริ่มเปิดรับศิลปวิทยาการจากตะวันตก
มาใช้ เ ป็ น แม่ แ บบในการวางรากฐานการพั ฒนาประเทศสู่ความทันสมัยเพื่อสร้าง
ภูมิคุ้มกันจากการยึดครองของต่างชาติ ที่ปรากฏอย่างชัดเจนที่สุดคือ การสร้างบ้านเมือง
ตามแบบตะวันตกไม่ว่าจะเป็นปราสาทราชวัง วัดวาอาราม สถานที่ราชการ ตึกราม
บ้านช่อง ตลอดจนสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยนำรูปแบบของสถาปัตยกรรมตะวันตก

มาผสมผสานเข้ากับสถาปัตยกรรมไทยได้อย่างลงตัว
สำนักงานทรัพย์สินฯ หรือ “กรมพระคลังข้างที่” ในยุคนั้น ได้มีส่วนร่วม

ในการบุกเบิกวางรากฐานการพัฒนาบ้านเมืองสู่ความทันสมัยด้วยการก่อสร้างอาคาร

และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะตึกแถวหรืออาคารพาณิชย์ตามแนวถนน

ที่ ตั ด ขึ้ น ใหม่ ห ลายสายในพระนคร และให้ สิ ท ธิ ก ารเช่ า แก่ ป ระชาชนเป็ น ครั้ ง แรก

เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางการค้าตามแบบตะวันตก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ไม่เพียง

ส่ ง ผลต่ อ ลั ก ษณะทางกายภาพของเมื อ งเท่ า นั้ น แต่ ยั ง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ วิ ถี ก ารดำรงชี วิ ต

ของประชาชนในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมในการตั้งถิ่นฐาน

จาก “เมื อ งน้ ำ ” มาเป็ น “เมื อ งถนน” มี การขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

อย่างรวดเร็ว และการก่อเกิดของย่านการค้าสำคัญต่างๆ อีกมากมาย


กว่ า ๑๐๐ ปี แห่ ง วิ วั ฒ นาการจากจุ ด เริ่ ม ต้ น จนถึ ง ปั จ จุ บั น ร่ อ งรอย

แห่งความรุ่งเรืองในยุคนั้นยังคงปรากฏให้เห็นมาจนถึงทุกวันนี้ สะท้อนผ่านอาคาร

และสิ่ ง ปลู ก สร้ า งต่ า งๆ จำนวนมากที่ ไ ด้ รั บ การดูแลรักษาให้คงอยู่ในสภาพค่อนข้าง


สมบู ร ณ์ เป็ น วั ต ถุ พ ยานที่ ส ามารถบอกเล่ า เรื่ อ งราวต่ า งๆ ทั้ ง ในเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์
วัฒนธรรม ศิลปกรรม สังคม เศรษฐกิจ หรือแม้แต่การเมืองได้อย่างเป็นรูปธรรม

ยิ่งกว่าคำจารึกในตำนานใดๆ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานชุมชนในระยะแรก

และเป็นศูนย์กลางการบริหารของประเทศทั้งในอดีตและปัจจุบัน

z ๖๙
เป็ น ที่ น่ า ภาคภู มิ ใ จอย่ า งยิ่ ง ที่ ห ลายๆ พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วมา อยู่ ใ นความดู แ ลของ อย่ า งไรก็ ดี การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ มี คุ ณ ค่ า

สำนักงานทรัพย์สินฯ ความสำคัญของ “อาคารและย่าน” ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ท า งประวั ติ ศ าสตร์ โดยเฉพาะอาคารที่ มี ผู้ อ ยู่ อ าศั ย

เหล่ า นี้ จึ ง มิ ไ ด้ จ ำกั ด อยู่ แ ค่ ผู้ เ ช่ า สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ หรื อ กรุ ง เทพมหานครเท่ า นั้ น
และใช้ ง านจริ ง นั้ น สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จะคำนึ ง ถึ ง

แต่ ถื อ เป็ น สมบั ติ ข องชาติ ที่ ค วรค่ า แก่ ก ารถนอมรั ก ษาให้ อ ยู่ เ คี ย งคู่ แ ผ่ น ดิ น ไทย
“วิ ถี ชี วิ ต ” ของประชาชนมากกว่ า คำนึ ง ถึ ง ลั ก ษณะทาง
ไปตราบนานเท่ า นาน การพั ฒ นาใดๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ เ หล่ า นี้ จึ ง มั ก เป็ น ที่ จั บ ตามอง
กายภาพของสิง่ ปลูกสร้าง เพราะ “การอนุรกั ษ์รปู แบบทาง
และอยู่ในความสนใจของผู้คนจำนวนมาก สถาปัตยกรรม” มิ ใ ช่ อ ยู่ ที่ ก ารออกแบบที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะ

ความพยายามในการดู แ ลพื้ น ที่ แ ละสิ่ ง ปลู ก สร้ า งอั น ทรงคุ ณ ค่ า เหล่ า นี้ ใ ห้ เ กิ ด และสวยงามเพี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ หั ว ใจสำคั ญ คื อ “ต้ อ ง

ประโยชน์อย่างเหมาะสมในทุกมิติได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง แต่ที่ผ่านมา อุปสรรคสำคัญ


สอดรั บ กั บ ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ใ นทุ ก ยุ ค

ที่ ท ำให้ ก ารบริ ห ารจั ด การตามหลั ก “การพั ฒ นาเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ” มี ค วามยากลำบาก


ทุ ก สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นไป” ให้ ผู้ ใ ช้ เ กิ ด ความสุ ข กาย สบายใจ

และไม่ราบรื่นเท่าที่ควร เพราะนโยบายในการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ที่มีมาแต่เดิม
และไม่ตกเป็น “เหยื่อ” ของการอนุรักษ์ หรืออีกนัยหนึ่งคือ
ยั ง ไม่ เ ป็ น รู ป ธรรมชั ด เจน อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค วามยื ด หยุ่ น ผ่ อ นปรน และประนี ป ระนอมสู ง
ต้องระมัดระวังให้มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของผู้อยู่อาศัย

ด้ ว ยเกรงผลกระทบต่ อ ผู้ เ ช่ า ทำให้ ที่ ผ่ า นมามี ก ารใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ แ ละอาคาร
น้อยที่สุด จึงจะบรรลุเจตนารมณ์ของการพัฒนาเชิงอนุรักษ์

อย่ า งแตกต่ า งหลากหลายไม่ เ ป็ น ระเบี ย บ หลายแปลงมี ส ภาพอาคารที่ ช ำรุ ด ทรุ ด โทรม


ที่ถูกต้องอย่างแท้จริง
มี ก ารต่ อ เติ ม ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งด้ ว ยขาดทั้ ง ความรู้ ความตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ความรั ก

และความหวงแหนในที่อยู่ มีการปล่อยเช่าช่วง ต่อเติมอาคารผิดรูปแบบจนทำให้อาคาร


หลายๆ แห่ ง ในหลายๆ ย่ า น สู ญ เสี ย คุ ณ ค่ า และเอกลั ก ษณ์ ท างประวั ติ ศ าสตร์

และสถาปัตยกรรมไปอย่างน่าเสียดาย
ด้วยตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของอาคารอนุรักษ์ดังกล่าว ซึ่งควรได้รับ
การดูแลและควบคุมแปลงที่ดินที่มีคุณค่าให้อยู่ในสภาพดี ใน พ.ศ. ๒๕๔๓ สำนักงาน

ทรัพย์สินฯ จึงปรับปรุงนโยบายการพัฒนาอาคารที่มีคุณค่าและพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ
เหล่านี้ใหม่ โดยการกำหนดมาตรการติดตาม ตรวจสอบ ควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์

ที่เข้มงวดรัดกุม และใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น กำหนดนโยบายในการพัฒนาและแนวทางควบคุม


การก่อสร้าง ต่อเติมและดัดแปลงอาคารให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมโดยมิให้สูญเสียเอกลักษณ์
ดั้ ง เดิ ม ดำเนิ น โครงการฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาอาคารที่ เ สื่ อ มโทรมหรื อ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งให้ เ กิ ด

การใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม เพื่อเป็น “ต้นแบบ” ในการพัฒนาเชิงอนุรักษ์ที่เพิ่มพูน

ทั้ง “มูลค่า” และ “คุณค่า” ให้แก่อาคารโดยลักษณะทางกายภาพที่เกิดขึ้นใหม่ยังคง


สอดคล้ อ งกั บ องค์ ป ระกอบเดิ ม ในขณะเดี ย วกั น ก็ ส ามารถจะพั ฒ นาให้ เ กิ ด ความคุ้ ม ค่ า

ในเชิ ง เศรษฐกิ จ ได้ ตลอดจนการคั ด เลื อ กผู้ เ ช่ า ที่ เ หมาะสมและมี ศั ก ยภาพในการดู แ ล

โดยเฉพาะอาคารประเภท “วัง” ซึ่งต้องได้รับการดูแลอย่างพิถีพิถันเป็นพิเศษภายใต้ข้อจำกัด


และเงือ่ นไขมากมาย นอกจากนี้ สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ยังให้ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ
ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์ ซึ่งไม่เพียงมุ่งคืนความสง่างามแก่อาคารบ้านเรือน

ทั้งหลายเช่นที่เคยเป็นมาเท่านั้น หากแต่ยังสรรค์สร้างให้มีความทันสมัยเพื่อสอดรับกับ วิถีชีวิตของผู้คนในย่านชุมชนเก่าแก่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ


บริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปในโลกปัจจุบันได้อย่างกลมกลืนอีกด้วย บนซ้าย: ย่านท่าเตียน
บนขวา: ย่านแพร่งนรา
ล่าง: ย่านท่าเตียน
z ๗๐
อาคารอนุรกั ษ์ ๙ ห้อง ริมถนนพระอาทิตย์
โครงการบู ร ณะซ่ อ มแซมอาคารอนุ รั ก ษ์ ๙ ห้ อ ง ริ ม ถนนพระอาทิ ต ย์

ตอนหลังวัดชนะสงคราม ถือเป็นหนึ่งตัวอย่างสำคัญที่สำนักงานทรัพย์สินฯ มุ่งหมาย


ให้ เ ป็ น “โครงการต้ น แบบ” ในด้ า นการพั ฒ นาเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ที่ ไ ม่ เ พี ย งรั ก ษาคุ ณ ค่ า

ทางสถาปัตยกรรมให้คงอยู่ แต่ยังคำนึงถึงวิถีชีวิตของผู้เช่าไม่ให้ได้รับผลกระทบด้วย
โดยได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่กลาง พ.ศ. ๒๕๔๖ แล้วเสร็จสมบูรณ์ในเดือนมกราคม
พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประเภทอาคารพาณิชย์
จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑ ด้วย
อาคารตึกแถว ๒ ชั้น จำนวน ๙ ห้อง บนถนนพระอาทิตย์ ถือเป็นอาคารชุด

ที่ มี ค วามเก่ า แก่ แ ละสวยงามเป็ น อย่ า งยิ่ ง ด้ ว ยรู ป แบบสถาปั ต ยกรรมที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ล

จากตะวันตก หลังคามุงด้วยกระเบื้องว่าว ด้านหน้ามีระเบียงยื่นออกมา สำนักงาน

ทรัพย์สินฯ ได้ดำเนินการปรับปรุงพร้อมทั้งอนุรักษ์โครงสร้างแบบเดิมให้มีความมั่นคง
แข็งแรง แก้ไขเฉพาะจุดที่ชำรุด เช่น การจัดการระบบสาธารณูปโภคใหม่ และเพิ่มเติม

สิ่งจำเป็น เช่น บันไดหนีไฟ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ของผู้พักอาศัย อีกทั้งยังสามารถรองรับการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้อย่างครบถ้วน
ที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด คื อ ในระหว่ า งการดำเนิ น การบู ร ณะซ่ อ มแซม ผู้ เ ช่ า สามารถ

อยู่อาศัย ดำเนินชีวิตและธุรกิจต่างๆ ได้ตามปกติโดยไม่ได้รับผลกระทบ


การบูรณะอาคาร นอกจากช่วยเพิ่มความคงทนถาวร ช่วยพลิกฟื้นคืนชีวิตชีวา
เสริ ม สร้ า งความงามสง่ า ให้ ย่ า นถนนพระอาทิ ต ย์ อี ก ครั้ ง แล้ ว ยั ง เป็ น การส่ ง เสริ ม

การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ทั้ ง เชิ ง ท่ อ งเที่ ย วและเชิ ง พาณิ ช ย์ ด้ ว ยหลากหลายร้ า นรวง

ที่ ต กแต่ ง อย่ า งทั น สมั ย มี ส ไตล์ เ ป็ น ของตั ว เอง ไม่ ว่ า จะเป็ น ร้ า นอาหาร ร้ า นกาแฟ

ร้ า นหนั ง สื อ หรื อ แม้ แ ต่ ร้ า นที่ น ำเสนอผลงานศิ ล ปะ ด้ ว ยบรรยากาศสุ ด คลาสสิ ก

ของสถาปัตยกรรมที่กรุ่นไปด้วยกลิ่นอายประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอันน่าภาคภูมิใจ ความมีชีวิตชีวาได้กลับคืนมาสู่
“อาคาร ๙ ห้อง” ริมถนนพระอาทิตย์
อีกครั้ง ภายหลังได้รับการดูแล

z ๗๑
อาคารอนุรกั ษ์หน้าพระลาน - ท่าช้างวังหลวง
หน้ า พระลาน - ท่ า ช้ า งวั ง หลวง เป็ น อี ก หนึ่ ง ย่ า นที่ ส ำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ

ได้ดำเนินการอนุรักษ์และพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ ซึ่งนอกจากจะคงความงดงามทาง
ด้านสถาปัตยกรรมไว้ให้คงทนแล้ว ยังเป็นการเพิ่มพูนโอกาสทางธุรกิจให้มากขึ้นด้วย
เนื่ อ งจากพื้ น ที่ บ ริ เ วณดั ง กล่ า วตั้ ง อยู่ ใ กล้ กั บ พระบรมมหาราชวั ง ซึ่ ง เป็ น จุ ด ดึ ง ดู ด

นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ส ำคั ญ ในแต่ ล ะปี จ ะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกมุ่ ง หน้ า

มาเยี่ ย มเยื อ นมากกว่ า ๒ ล้ า นคนต่ อ ปี ดั ง นั้ น การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้

อย่างถูกต้องเหมาะสม ย่อมเป็นการเติมเต็มศักยภาพของพื้นที่ ส่งเสริมเศรษฐกิจ

การท่องเที่ยวที่นับวันมีแต่จะทวีความสำคัญมากยิ่งขึ้นได้อย่างมหาศาล
สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้ดำเนินการซ่อมแซมและปรับปรุงสภาพภายในอาคาร

ที่ชำรุดทรุดโทรมให้แข็งแรงคงทนมากยิ่งขึ้น ทั้งยังร่วมมือกับกรุงเทพมหานครกำหนด
แนวทางในการปรับแต่งภูมิทัศน์บริเวณท่าช้างวังหลวงและพื้นที่ที่เกี่ยวเนื่องเพื่อเชื่อมโยง
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและได้มาตรฐาน สอดคล้องกับการดำเนินงานทั่วทั้งพื้นที่
นอกจากนัน้ สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ยังดำเนินการ “จัดระเบียบ” พืน้ ทีบ่ ริเวณนี

เสียใหม่ ด้วยการคัดเลือกผู้เช่า และจัดกลุ่มผู้ค้า รวมทั้งกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมพื้นที่บริเวณนี้ให้กลายเป็น “Niche Market” ของ
กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ชื่นชอบของฝาก ของที่ระลึก ซึ่งเป็นผลงานศิลปหัตถกรรม

อั น ประณี ต งดงามแบบไทยๆ หรื อ เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วในบรรยากาศการตกแต่ ง สถานที่

และร้ า นรวงที่ อ บอวลไปด้ ว ย “มนต์ ข ลั ง ” ทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมแห่ ง

กรุงรัตนโกสินทร์ที่รุ่งเรืองเฟื่องฟูมาเป็นเวลายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี

บน: ในแต่ละปี ย่านหน้าพระลานจะมีโอกาสได้ต้อนรับ


นักท่องเที่ยวจำนวนมหาศาล
ล่าง: ย่านท่าช้างวังหลวง

z ๗๒
ตึกแถวหน้าพระลาน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องด้วยบริเวณดังกล่าว
เป็นย่านชุมชนและย่านพาณิชยกรรมเก่าแก่ทั้งของชาวไทยและชาวต่างชาติ
อาคารชุดนี้สร้างขึ้นในสมัยเดียวกันและมีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกเช่นเดียวกันกับตึกแถวท่าช้างวังหลวง
ปัจจุบันได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของกรุงรัตนโกสินทร์
วังวาริชเวสม์
วังวาริชเวสม์ บนถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ เป็นอีกหนึ่งโครงการ
ตั ว อย่ า งของการพั ฒ นาเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ข องสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ตามนโยบาย

การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กผู้ เ ช่ า ที่ เ หมาะสม มี ค วามมุ่ ง มั่ น และเจตนารมณ์ เ ดี ย วกั น

ในการอนุรักษ์อาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
วั ง วาริ ช เวสม์ ก่ อ สร้ า งขึ้ น ใน พ.ศ. ๒๔๗๖ เดิ ม เป็ น ที่ ป ระทั บ ของพระเจ้ า

บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า วาปี บุ ษ บากร พระธิ ด าลำดั บ ที่ ๘๔ ในพระบาทสมเด็ จ

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพร้อม
ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของอาคารในฐานะหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์

อันทรงคุณค่าที่ยังคงอยู่ในสภาพสมบูรณ์ หากปล่อยทิ้งไว้ หรือ ดำเนินการอนุรักษ์

แบบเดิมๆ ด้วยการ “ปิดตาย” มิได้มีการใช้ประโยชน์ นานไปก็จะยิ่งชำรุดทรุดโทรม

และสูญเสียคุณค่าไปอย่างน่าเสียดาย สำนักงานทรัพย์สินฯ จึงใช้เวลาในการกำหนด


แนวทางการพัฒนาอย่างรอบคอบ และเมื่อได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วจึงเห็นสมควรให้

บริ ษั ท แม็ ท ชิ่ ง สตู ดิ โ อ จำกั ด (มหาชน) ซึ่ ง มี ศั ก ยภาพพร้ อ ม มี เ จตนารมณ์

และจุดมุ่งหมายเดียวกันได้รับสิทธิในการใช้ประโยชน์ พร้อมรับผิดชอบ ดูแล และอนุรักษ์

วังวาริชเวสม์ ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานทรัพย์สินฯ วังวาริชเวสม์ภายนอก


วังวาริชเวสม์ ได้รับการบูรณะอย่างเป็นขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นงานสถาปัตยกรรม

ที่ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การคงไว้ ซึ่ ง รู ป แบบเดิ ม และใช้ วั ส ดุ ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ของเดิ ม มากที่ สุ ด

เน้ น แก้ ไ ขเฉพาะส่ ว นที่ ช ำรุ ด บกพร่ อ งเท่ า นั้ น ในขณะเดี ย วกั น ก็ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การ

ปรั บ แต่ ง ภู มิ ทั ศ น์ โ ดยรอบ ซึ่ ง นอกจากจะก่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ม รื่ น สวยงามแล้ ว ยั ง ช่ ว ย

เสริมสร้างทัศนียภาพให้กับวังวาริชเวสม์และอาณาบริเวณโดยรอบด้วย
ผลสำเร็จที่ได้รับจากการบูรณะวังวาริชเวสม์ นอกจากจะเป็นการคงไว้ซึ่งคุณค่า
ของงานสถาปัตยกรรมในช่วง “หัวเลี้ยวหัวต่อ” ของยุคประวัติศาสตร์ที่สะท้อนให้เห็นถึง
วิวัฒนาการเชิงรูปแบบและโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมในประเทศไทยได้เป็นอย่างดีแล้ว
ยั ง เป็ น การ “ถ่ า ยทอดเจตนารมณ์ ” ในการพั ฒ นาเชิ ง อนุ รั ก ษ์ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ จ าก
สำนักงานทรัพย์สินฯ ไปสู่ผู้เช่า ช่วยกระตุ้นและปลูกฝังจิตสำนึกของผู้เช่าให้ตระหนัก

ในคุณค่าของอาคารอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นกลไกที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การพัฒนาเชิงอนุรักษ์
เกิดความยั่งยืน
บริเวณโถงภายใน
ด้วยการผนึกกำลังความร่วมมือร่วมใจ มุ่งมั่นไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกันนี้ ทำให้

วั ง วาริ ช เวสม์ ไ ด้ รั บรางวั ล อนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปสถาปั ต ยกรรมดี เ ด่ น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๑ “วังวาริชเวสม์” ภายหลังปรับปรุงใหม่ บริษัท แม็ทชิ่ง สตูดิโอ
ประเภทอาคารสถาบันและอาคารสาธารณะ จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม จำกัด (มหาชน) ได้จัดให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

โดยใช้เป็น “เรือนรับรองลูกค้า” และได้จัดพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็น
ราชูปถัมภ์ อย่างสมภาคภูมิ พิพิธภัณฑ์บอกเล่าประวัติความเป็นมาของวัง
z ๗๔
นาวาอากาศเอก อาวุธ เงินชูกลิน

ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์)
สาขาย่อยสถาปัตยกรรม ประจำปี ๒๕๔๑

“บรรพบุรุษไทยในอดีตกาลได้ใช้ภูมิปัญญา ฝีไม้ลายมือ ตลอดจนจินตนาการ


“การอนุรักษ์จะมีความก้าวหน้าและมีการพัฒนา

อั น ล้ ำ เลิ ศ ในการรั ง สรรค์ ผ ลงานด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมอั น ล้ ำ ค่ า ฝากไว้ บ นแผ่ น ดิ น ไทย
ขึ้ น เป็ น ลำดั บ เมื่ อ สามารถปรั บ เปลี่ ย นมุ ม มอง วิ ธี คิ ด

และกลายเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราทุกคน โดยเฉพาะผลงานด้านสถาปัตยกรรม
และวิ ธี ก ารของการอนุ รั ก ษ์ ใ ห้ เ หมาะสมสอดคล้ อ งกั บ
ซึ่งเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรมมากที่สุด สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปในแต่ ล ะยุ ค สมั ย ได้ ซึ่ ง ผม

“เมื่อเวลาผ่านไป ผลงานเหล่านี้ก็ย่อมชำรุดทรุดโทรมลงไปเรื่อยๆ ตามกาลเวลา เห็นว่าเป็นเป้าหมายที่สำคัญที่สุด


จำเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งมี ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความสามารถอย่ า งลึ ก ซึ้ ง มาดู แ ลรั ก ษาผลงาน
“สำหรั บ การอนุ รั ก ษ์ ง านสถาปั ต ยกรรมในปั จ จุ บั น
อั น ทรงค่ า เหล่ า นี้ ไ ว้ ใ ห้ ค งสภาพที่ แ ข็ ง แรง และคงไว้ ซึ่ ง รู ป แบบดั้ ง เดิ ม ให้ น านที่ สุ ด
นั บ เป็ น งานที่ มี ค วามสำคั ญ ยิ่ ง และจำเป็ น ต้ อ งอาศั ย

เท่ า ที่ จ ะทำได้ นั บ ว่ า คนไทยยั ง โชคดี ก ว่ า อี ก หลายๆ ประเทศ ที่ เ รายั ง มี สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง
ทั้ ง ความรู้ แ ละงบประมาณจำนวนมาก และต้ อ งอาศั ย

ที่ยังคงสภาพสมบูรณ์อยู่มาก และมีหลายๆ หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน พร้อมใจกัน


ความร่วมมือร่วมใจจากหลายภาคส่วนด้วย งานจึงจะบรรลุ

ร่วมธำรงรักษา ผลสำเร็จด้วยดี ดังจะเห็นตัวอย่างได้จากการที่สำนักงาน


“ในการอนุรักษ์นั้น ก่อนอื่นจำเป็นต้องทำความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนว่าเป้าหมาย ทรั พ ย์ สิ น ฯ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน

ในการอนุ รั ก ษ์ อ ยู่ ที่ ใ ด ทำเพื่ อ อะไร อย่ า งในกรณี ข องโบราณสถาน โบราณวั ต ถุ


และประชาชนในการดำเนิ น งานอนุ รั ก ษ์ ห รื อ แม้ แ ต่

บางประเภทนั้น จำเป็นต้องอนุรักษ์แบบคงสภาพเดิมเอาไว้ ห้ามแตะต้อง ห้ามรบกวน


ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง ผ ล ง า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ชิ้ น ใ ห ม่ ๆ เ ช่ น

เพราะสิ่ ง เหล่ า นี้ ล้ ว นเป็ น องค์ ค วามรู้ จำเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การเก็ บ รั ก ษาไว้ แต่ ใ นอี ก
การจั ด สร้ า งพระมหามณฑปประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธ

ลักษณะหนึ่งคือกลุ่มของ วัง วัด หรืออาคารโบราณที่ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้นั้น


มหาสุ ว รรณปฏิ ม ากร วั ด ไตรมิ ต รวิ ท ยาราม ซึ่ ง นั บ เป็ น
การอนุรักษ์ซึ่งนอกจากจะเป็นการซ่อมแซม บูรณะ เพื่อเพิ่มความคงทนถาวรโดยรักษา แนวทางหนึ่งในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านสถาปัตยกรรม

คุณค่าดั้งเดิมไว้อย่างครบถ้วนแล้ว ยังต้องคำนึงถึงการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมด้วย
ในประเทศไทยที่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับยุคสมัย
ซึ่ ง ต้ อ งมองแบบองค์ ร วม ไม่ ใ ช่ แ ค่ มี ไ ว้ โ ชว์ ห รื อ หวงไว้ ปิ ด ตาย แต่ เ ป็ น การทำอย่ า งไร
และมีความเหมาะสมต่อสถานการณ์ได้เป็นอย่างดี
ที่ จ ะทำให้ เ ราเก็ บ รั ก ษาคุ ณ ค่ า ของสิ่ ง เหล่ า นั้ น ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และเกิ ด ประโยชน์ ไ ปด้ ว ย
“ผมเชื่อว่าความสำเร็จของโครงการนี้ จะไม่เพียง
พร้อมกัน เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ข องการบู ร ณาการความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง

ภาคส่วนต่างๆ แต่ยังเป็นตัวอย่างของการร่วมกันสร้างสรรค์

และสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมชิ้นใหม่ให้แก่ลูกหลานไทย
ในอนาคตด้วย”
z ๗๕
ทะนุบำรุง “วัด”
สืบศรัทธาแห่งพระพุทธศาสนา ฝ่ากระแสวัตถุนยิ ม

ภายในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชินสีห์ (องค์หน้า) พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ


งดงามมากอีกองค์หนึ่งของประเทศไทย และ “พระพุทธสุวรรณเขต” (องค์หลัง) นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรม
ฝาผนังที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขรัวอินโข่งเขียนขึ้น
เป็นงานจิตรกรรมฝาผนังที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง เพราะเป็นรูปแบบของจิตรกรรมหัวเลี้ยวหัวต่อของการรับอิทธิพล
จากตะวันตกมาผสมผสานกับแนวคิดตามขนบนิยมของไทย
นั บ เป็ น เวลากว่ า พั น ปี ที่ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ เ ข้ า มาหยั่ ง รากฐานอยู่ ใ น

สังคมไทยและได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นศาสนาประจำชาติดังเช่นในปัจจุบัน ความสำคัญ
ของพระพุทธศาสนาจึงมิใช่เพียงแค่ในด้านความศรัทธาและความเชื่อเท่านั้น หากแต่
พระพุทธศาสนาได้เข้ามาอยู่ในสังคมไทยและผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยในทุกแง่มุม
เช่นเดียวกับ “วัด” ที่เปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของสถาบันศาสนา ซึ่งไม่เพียงเป็น
สถานที่ ป ระกอบศาสนกิ จ เท่ า นั้ น หากแต่ ยั ง มี ส ถานภาพอื่ น ๆ อี ก หลากหลาย

และไม่ ว่ า สภาพการณ์ ข องสั ง คมไทยจะเปลี่ ย นแปลงไปในทิ ศ ทางใด “วั ด ” ก็ ยั ง คง

เป็นแก่นแท้ของสังคมไทยไม่เปลี่ยนแปลง
แต่ไหนแต่ไรมา วัดกับชุมชนเป็นของคู่กัน มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคน

ในสั ง คมในฐานะศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของพุ ท ธศาสนิ ก ชน เป็ น สถานที่ เ ผยแผ่ พ ระธรรมคำสอน

ของพระพุ ท ธศาสนา สถานที่ ป ระกอบกิ จ ของสงฆ์ และในฐานะศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชุ น

ทั้งแหล่งรวมองค์ความรู้ ศูนย์กลางการศึกษา สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และพบปะสังสรรค์


เป็ น ที่ พึ่ ง ทางกายและทางใจของผู้ ค นในชุ ม ชน นอกจากนี้ วั ด ยั ง เป็ น แหล่ ง รวม

ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชาติ ซึ่ ง ไม่ เ พี ย งบ่ ง บอกถึ ง ความมั่ ง คั่ ง รุ่ ง เรื อ ง เฟื่ อ งฟู ข อง

ราชอาณาจั ก ร แต่ ยั ง บ่ ง บอกถึ ง ความงอกงามและความเจริ ญ ทางจิ ต ใจของผู้ ค น

ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย ได้ อี ก ด้ ว ย วั ด จึ ง สามารถสะท้ อ นเรื่ อ งราวทางประวั ติ ศ าสตร์

และวั ฒ นธรรมที่ สื บ เนื่ อ งจากอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวั ด

กับวิถีไทยจึงแนบแน่นใกล้ชิดกันจนไม่อาจแยกได้
แม้ อิ ท ธิ พ ลของกระแสโลกาภิ วั ต น์ จ ะหั น เหความสนใจของผู้ ค นสมั ย ใหม่

ให้ ห ลงใหลในวั ต ถุ นิ ย มมากขึ้ น และทำให้ วิ ถี ชี วิ ต ส่ ว นใหญ่ เ ปลี่ ย นแปลงไป โดยเฉพาะ

สั ง คมเมื อ งอย่ า งกรุ ง เทพฯ ส่ ง ผลให้ บ ทบาทของวั ด ในเชิ ง สั ง คมลดลงไปอย่ า งมาก

แต่ในด้านการให้ความสำคัญ คุณค่าทางจิตใจ และสายสัมพันธ์ระหว่างวัดกับชุมชน

ยังคงอยู่แทบมิได้เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจและสังคม

ที่ผันผวนอย่างเช่นในปัจจุบัน วัดยังคงเป็นศูนย์รวมแห่งศรัทธา เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ

ผ่ อ นคลายความเคร่ ง เครี ย ดและความเร่ า ร้ อ นในจิ ต ใจให้ ส งบเย็ น เป็ น ที่ พึ่ ง พิ ง ทางใจ

ได้อย่างดียิ่ง เราจึงยังเห็นภาพการทำบุญ ตักบาตร หรือประกอบพิธีกรรมในวันสำคัญ


ทางพระพุทธศาสนาหรือในโอกาสสำคัญๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันเฉลิมพระชนมพรรษา

วันสงกรานต์ หรือการเป็นศูนย์กลางในการทำบุญ ทำกุศล เป็นสถานที่รวบรวมปัจจัย


สำหรับสนับสนุนสาธารณประโยชน์ สาธารณกุศลต่างๆ ในชุมชนจากพุทธศาสนิกชน

ผู้มีจิตศรัทธาอยู่เสมอๆ
z ๗๗
ปัจจุบัน วัดเองก็ได้ปรับบทบาทให้สอดคล้องกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม

ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปมากขึ้ น บทบาทใหม่ ที่ ส ำคั ญ ไม่ แ พ้ บ ทบาทเดิ ม คื อ วั ด ได้ ก ลายเป็ น

แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรมที่ มี คุ ณ ค่ า ยิ่ ง โดยเฉพาะวั ด สำคั ญ ต่ า งๆ ที่ มี ป ระวั ติ

ความเป็นมายาวนาน ล้วนได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ

เป็นอย่างมาก
ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของวัด ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนา
เท่านั้น หากแต่ยังเป็นศูนย์รวมแห่งศรัทธาของบรรดาพุทธศาสนิกชนไทยทั่วประเทศ
สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง ได้ ส นั บ สนุ น หน่ ว ยงานต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนในการดำเนินโครงการบูรณปฏิสังขรณ์และทะนุบำรุงวัดวาอารามที่มีความสำคัญ
ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ โดยเฉพาะพระอารามหลวงสำคัญในเขตกรุงเทพฯ เพื่อธำรง
รักษาไว้เป็นมรดกแห่งความภูมิใจเคียงคู่แผ่นดินไทยไปตราบชั่วลูกชั่วหลาน

วัดบวรนิเวศวิหาร
“วัดบวรนิเวศวิหาร” เป็นพระอารามหลวงชัน้ เอก ชนิดราชวรวิหาร ก่อสร้างขึน้
โดยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาล
ที่ ๓ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๗๕ ซึ่งแต่เดิมเรียกว่า “วัดใหม่”
จนเมือ่ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงอาราธนาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว ขณะที่ทรงพระผนวชอยู่ที่วัดสมอรายให้เสด็จพระราชดำเนินมาประทับ

ที่วัดแห่งนี้ จึงได้พระราชทานนามวัดเสียใหม่ว่า “วัดบวรนิเวศวิหาร” หรือ “วัดบน”


นอกจากจะเป็นพระอารามหลวงที่มีประวัติความเป็นมายาวนานแล้ว ยังเป็น

ที่ตั้งของพระเจดีย์ใหญ่ ภายในประดิษฐานพระบรมธาตุ ซึ่งสร้างและอัญเชิญมาตั้งแต่

สมัยรัชกาลที่ ๓ นอกจากนี้ ภายในพระอุโบสถยังเป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธชินสีห์”


พระพุทธรูปสำคัญคูบ่ า้ นคูเ่ มืองทีส่ ร้างขึน้ คราวเดียวกันกับพระพุทธชินราช และ “พระพุทธ
สุ ว รรณเขต” พระพุ ท ธรู ป โบราณขนาดใหญ่ อั น มี พุ ท ธศิ ล ป์ แ บบขอมซึ่ ง มี คุ ณ ค่ า

ทางประวัติศาสตร์อย่างยิ่ง
ไม่ เ พี ย งเท่ า นั้ น วั ด บวรนิ เ วศวิ ห ารยั ง เป็ น ที่ ป ระทั บ ของพระมหากษั ต ริ ย์
บน: พระอุโบสถ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอุโบสถ
ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ที่เสด็จออกทรงพระผนวช นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จ ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากพระอุโบสถทั่วไป
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมาจนถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากศิลปะแบบจีนตามพระราชนิยม
ของรัชกาลที่ ๓ และศิลปะตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยม

สำนักงานทรัพย์สินฯ ร่วมกับกรมศิลปากร และประชาชนทั่วไปในการบูรณ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ มาผสมผสานเข้ากับศิลปะไทย

ปฏิสังขรณ์วัดให้มีความมั่นคง แข็งแรง และงดงามขึ้นอีกครั้งในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๔๙ ถึง ได้อย่างลงตัว กลายเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น
พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งการดำเนินงานในครั้งนี้นอกจากจะถวายเป็นพระราชกุศล พระกุศลแด่ และงดงามแปลกตาอย่างยิ่ง
ล่าง: เจดีย์กลมขนาดใหญ่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓
สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า สมเด็จพระบูรพาจารย์ และธำรงไว้ซึ่งความเป็น

ต่อมาในรัชกาลที่ ๙ ได้มีการบูรณะเพิ่มเติมโดยหุ้มด้วย
วัดธรรมยุติกนิกายแห่งคณะสงฆ์ไทยแล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์พุทธศาสนสถานที่ทรงคุณค่า กระเบื้องสีทอง รอบฐานพระเจดีย์มีศาลาจีนและซุ้มจีน
ทางประวัติศาสตร์และคงความงดงามทางด้านสถาปัตยกรรมซึ่งหาชมได้ยากยิ่งในปัจจุบัน อันเป็นศิลปะที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งในสมัยรัชกาลที่ ๓
z ๗๘
วัดมกุฎกษัตริยาราม
“วั ด มกุ ฎ กษั ต ริ ย าราม” เป็ น พระอารามหลวงชั้ น โท ชนิ ด ราชวรวิ ห าร

ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้สร้างขึ้นภายหลังจากการ
ขุ ด คลองผดุ ง กรุ ง เกษมเพื่ อ เป็ น คู พ ระนครชั้ น นอก และสร้ า งวั ด โสมนั ส วิ ห าร

เพื่อพระราชทานแด่สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี พระบรมราชเทวี โดยมี

พระราชประสงค์ให้เป็นวัดส่วนพระองค์เคียงคู่กับวัดโสมนัสวิหาร บริเวณริมคลองผดุง
กรุงเกษมด้านเหนือ ใกล้ป้อมหักกำลังดัสกร ตามธรรมเนียมการสร้างวัดเรียงราย
ตามคูพระนครเช่นเดียวกับที่นิยมในสมัยอยุธยา โดยก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๑๑
ความสำคัญของวัดมกุฎกษัตริยาราม จึงมิได้เป็นเพียงพระอารามหลวงชั้นโท

ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเท่านั้น หากแต่ยังเป็นวัดที่บรรดา
พระบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปพระราชทานเพลิงศพบุคคลสำคัญๆ อยู่เนืองนิตย์ และได้รับ

การขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานจากกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมด้วย
เพื่ออนุรักษ์วัดมกุฎกษัตริยารามให้เป็นมรดกสำคัญสำหรับประชาชนและประเทศ

ชาติสืบไป สำนักงานทรัพย์สินฯ จึงได้ร่วมกับวัดมกุฎกษัตริยาราม ชุมชนโดยรอบ และ


ประชาชนทั่ ว ไป ดำเนิ นโครงการบูร ณปฏิสั ง ขรณ์ อ าคารสิ่ ง ปลู ก สร้ า งพร้ อ มปรั บ ปรุ ง

ภู มิ ทั ศ น์ ภ ายในวั ด ซึ่ ง นอกจากจุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ


พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสวั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี

ในวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ และเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติแด่


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
๘๐ พรรษา ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๐ แล้ ว ยั ง เป็ น การฟื้ น ฟู คุ ณ ค่ า ทางศิ ล ปกรรม
สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ให้กลับคืนสู่ชุมชนและสังคมไทยอีกครั้ง

และที่สำคัญที่สุดคือเป็นการเปิดโอกาสให้ชุมชนโดยรอบได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา

อันจะนำมาซึ่งความรัก ความผูกพัน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ ซึ่งจะช่วยให้การดูแลรักษา


บน: พระอุโบสถ วัดมกุฎกษัตริยาราม มีลายพระมหามงกุฎ

“วัด” ศูนย์กลางของชุมชนไทย เกิดความยั่งยืนได้ในที่สุด อันเป็นพระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ ๔ ที่หน้าบัน


และด้านบนของซุ้มประตูหน้าต่าง
ล่าง: ด้านในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมอันหลากหลายแตกต่าง

จากวัดอื่น เช่น เรื่องพระสาวกในบาลีและอรรถกถา พระอัครสาวก
๑๑ องค์ อัครสาวิกา ๘ องค์ และภาพการบำเพ็ญกรรมฐาน
เป็นต้น

z ๗๙
“พระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร” เป็นพระพุทธรูปทองคำแท้ เชื่อกันว่าเป็นหนึ่งในพระพุทธรูปสำคัญ
ของวัดมหาธาตุ สุโขทัย เดิมถูกพอกปูนลงรักปิดทองทั่วทั้งองค์ เพื่อป้องกันภัย
เมื่อต้นรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้เกิดเหตุการณ์ทำให้ปูนที่หุ้มไว้้กะเทาะออก
เผยให้เห็นเนื้อทองคำบริสุทธิ์ ปรากฏการณ์ดังกล่าวเปรียบเสมือนเป็นนิมิตหมายแห่งความเจริญรุ่งเรือง
ของประเทศชาติ และความร่มเย็นเป็นสุขของพสกนิกรทุกหมู่เหล่าบนแผ่นดินใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร
วัดไตรมิตรวิทยาราม
“วัดไตรมิตรวิทยาราม” เป็นวัดโบราณ สร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐาน ในการรังสรรค์พระมหามณฑปให้มีความงดงาม
แน่ ชั ด เดิ ม ชื่ อ “วั ด สามจี น ” สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งขึ้ น โดยชาวจี น ๓ คนที่ อ พยพ
ยิ่งใหญ่ จึงได้มีการดำเนินงานอย่างพิถีพิถันโดยรวบรวม

เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองไทยในยุคแรกๆ และสามารถสร้างเนื้อสร้างตัวจนมีฐานะ
ผู้ มี อั จ ฉริ ย ภาพทางศิ ล ปะระดั บ ชาติ ใ นหลากหลายสาขา

มั่ ง คั่ ง ร่ ำ รวยระดั บ เจ้ า สั ว ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วั ด ไตรมิ ต รวิ ท ยาราม”
มาร่วมกันสร้างสรรค์พุทธสถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่านี้
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร
โ ด ย ค ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ ยึ ด ถื อ เ ป็ น ห ลั ก ป รั ช ญ า

ในวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๙ ในการออกแบบ ทั้ ง ในด้ า นความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละสง่ า งาม

“วัดไตรมิตรวิทยาราม” เป็นที่ประดิษฐาน “หลวงพ่อทองคำ” เมื่อวันที่ ๒๐ ความมั่นคงถาวร และความร่วมสมัย ด้วยการออกแบบ

ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ได้ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ที่ เ น้ น ความเรี ย บง่ า ยแต่ ส ร้ า งสรรค์ โดยคำนึ ง ถึ ง

พระราชทานนามให้ คู่ ค วรแก่ ฐ านะบารมี ว่ า “พระพุ ท ธมหาสุ ว รรณปฏิ ม ากร”


ความจำเป็น ประโยชน์ใช้สอย และบริบทแวดล้อมเป็นหลัก

เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยสุโขทัยที่มีลักษณะพิเศษคือหล่อขึ้นจากทองคำ
รวมพื้ น ที่ ใ ช้ ส อยที่ จ ำเป็ น เข้ า ไว้ ใ นอาคารหลั ง เดี ย ว

เนื้อเจ็ดน้ำสองขา น้ำหนัก ๕.๕ ตัน ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เ สด็ จ มี โ ครงสร้ า งหลั ก ๔ ชั้ น ชั้ น ล่ า งสุ ด จั ด ทำเป็ น พื้ น ที่
พระราชดำเนิ น พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง อเนกประสงค์ ชั้นที่ ๒ จัดนิทรรศการศูนย์ประวัติศาสตร์
นราธิวาสราชนครินทร์ไปทรงสักการะและทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ยอดพระเกตุ เยาวราช ชั้นที่ ๓ จัดนิทรรศการพระพุทธมหาสุวรรณ
มาลาพระพุ ท ธรู ป ทองคำองค์ นี้ นั บ จากนั้ น บรรดาพระบรมวงศานุ ว งศ์ ต่ า งก็ เ สด็ จ มา
ปฏิมากร และชั้นที่ ๔ ประดิษฐานพระพุทธมหาสุวรรณ
ทรงนมัสการพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร ณ วัดไตรมิตรวิทยาราม อยู่เป็นประจำ ปฏิมากร
นั บ เป็ น เวลากว่ า ครึ่ ง ศตวรรษที่ พ ระพุ ท ธมหาสุ ว รรณปฏิ ม ากรประดิ ษ ฐาน

ณ วิหารหลังปัจจุบันภายในวัดไตรมิตรวิทยาราม ซึ่งสร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ ปัจจุบัน


วิ ห ารหลั ง ดั ง กล่ า วได้ ท รุ ด โทรมลง กอปรกั บ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาสั ก การบู ช าและชื่ น ชม

ความงดงามยิ่ ง ใหญ่ ข องหลวงพ่ อ ทองคำเป็ น จำนวนมาก สถานที่ ป ระดิ ษ ฐานแห่ ง นี้

จึงคับแคบและไม่เหมาะแก่ฐานะบารมีของหลวงพ่อทองคำ
ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี

ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ และทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ สำนักงาน


ทรัพย์สินฯ จึงได้ร่วมกับประชาคมนักธุรกิจเขตสัมพันธวงศ์ ชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีน
รัฐบาล และประชาชนทั่วไป ดำเนิน “โครงการจัดสร้างพระมหามณฑปประดิษฐาน
พระพุ ท ธมหาสุ ว รรณปฏิ ม ากร (หลวงพ่ อ ทองคำ) วั ด ไตรมิ ต รวิ ท ยาราม” ขึ้ น

ด้ ว ยความมุ่ ง หวั ง ให้ พ ระมหามณฑปหลั ง ใหม่ นี้ มี ค วามวิ จิ ต รงดงามควรค่ า แก่ ก าร


ประดิ ษ ฐานหลวงพ่ อ ทองคำ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ

พระเจ้ า อยู่ หั ว ในโอกาสอั น เป็ น มหามงคลนี้ พระมหามณฑปแห่ ง นี้ จึ ง มิ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย ง


สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง พลังศรัทธาอันแรงกล้าของพุทธศาสนิ ก ชนที่ มี ต่ อ สถาบั น ศาสนาเท่ า นั้ น

แต่ยังเป็นสัญลักษณ์แห่งพลังศรัทธาของประชาชนที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วย

z ๘๑
ตลาด ศูนย์กลางการค้าขาย
และสายสัมพันธ์ของชุมชน

บรรยากาศภายในตลาดนางเลิ้ง ตลาดบกแห่งแรกของประเทศไทย
ที่อยู่เคียงคู่วิถีชีวิตชาวพระนครมาเนิ่นนานกว่าศตวรรษ
น อกจากการธำรงรั ก ษาสิ่ ง ปลู ก สร้ า งอั น เป็ น ตั ว แทนแห่ ง ความเจริ ญ
งอกงามทางวั ต ถุ แ ละการทะนุ บ ำรุ ง วั ด อั น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง ความเจริ ญ งอกงาม

ทางจิตใจแล้ว สำนักงานทรัพย์สินฯ ยังให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ “ตลาด”

อันสะท้อน “วิถีชีวิตแบบไทย” ไว้อีกด้วย


“...เบื้ อ งตี น นอนสุ โ ขทั ย นี้ มี ต ลาดปสาน มี พ ระอจนะ มี ป ราสาท

มีป่าหมากพร้าว มีป่าหมากลาง มีไร่นา มีถิ่นฐาน มีบ้านใหญ่บ้านเล็ก...”


จากข้อความที่ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยสุโขทัย สะท้อนให้เห็นว่า
ไม่ว่ายุคใด สมัยใด การค้าขายถือเป็นปัจจัยสำคัญของการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคม
โดยมี “ตลาด” ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าที่สำคัญยิ่งและผูกพัน

อยู่กับวิถีชีวิตของชาวไทยมาช้านาน
ด้วยกาลเวลาที่ล่วงผ่าน วิถีชีวิตของผู้คนในแต่ละยุคสมัยก็ค่อยๆ ปรับเปลี่ยน

ไปเรื่อยๆ จาก “ตลาดน้ำ” ที่เคยคึกคักมาตั้งแต่สมัยอยุธยา มาสู่ “ตลาดบก” ในสมัย


รัชกาลที่ ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมี “ตลาดนางเลิ้ง” เป็นตลาดบกแห่งแรก

ที่ ส ร้ า งขึ้ น ในยุ ค นั้ น จวบจนถึ ง ยุ ค ปั จ จุ บั น สั ง คมยั ง มี พั ฒ นาการต่ อ เนื่ อ งมาอย่ า ง

ไม่หยุดนิ่ง “ตลาด” ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของวิถีไทยในอดีตเริ่มถูกแทนที่ด้วยการมาเยือน


ของร้านค้ารูปแบบใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต

ขนาดใหญ่ หรือแม้แต่ร้านสะดวกซื้อที่แพร่หลายกระจายอยู่ทั่วทุกมุมเมือง ทำให้ผู้คน

ลดความจำเป็ น ที่ ต้ อ งไปตลาดลงเรื่ อ ยๆ ตลาดหลายแห่ ง ถู ก รื้ อ ถอนและแทนที่ ด้ ว ย

สิ่ ง ปลู ก สร้ า งใหม่ ๆ ในขณะที่ อี ก หลายๆ แห่ ง ถู ก ละเลย ทิ้ ง ร้ า ง ตกอยู่ ใ นสภาพ

รอวันรื้อทิ้ง และแทนที่ด้วยศูนย์การค้าทันสมัย

z ๘๓
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มุมหนึ่งคือการนำมาซึ่งวิถีชีวิตที่ทันสมัย สะดวกสบาย
แต่ในอีกมุมหนึ่งก็คือการห่างเหินจากวิถีชีวิตดั้งเดิมที่มีคุณค่าออกไปทุกทีๆ
ด้ ว ยตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของ “ตลาด” ในฐานะศู น ย์ ก ลางชุ ม ชน

เชื่ อ มสายสั ม พั น ธ์ ข องวิ ถี ชี วิ ต แบบไทย สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง ดำเนิ น การปรั บ ปรุ ง

และอนุ รั ก ษ์ ต ลาดบนพื้ น ที่ ข องสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ในทุ ก จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศไทย

ให้กลับมาเป็นศูนย์กลางของวิถีชีวิตแบบไทยๆ อีกครั้ง ด้วยการรื้อถอน ซ่อมแซมส่วนที่


ชำรุ ด ทรุ ด โทรม จั ด ระบบสาธารณู ป โภคอั น ทั น สมั ย ให้ ค รบครั น และถู ก สุ ข ลั ก ษณะ

มากขึ้ น จนสามารถพลิ ก ฟื้ น ตลาดหลายแห่ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น ตลาดในจั ง หวั ด นครปฐม


พระนครศรีอยุธยา นครศรีธรรมราช ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี นครสวรรค์ ให้กลับมาคึกคัก
และมีชีวิตชีวาอีกครั้ง
แต่ก่อนที่จะได้มาซึ่งความสำเร็จอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ สำนักงานทรัพย์สินฯ ไม่เพียง
แต่ ต้ อ งอาศั ย ประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่จะดำเนิน การบริ ห ารจั ด การอย่ า งเป็ น ระบบ

และมี ค วามเหมาะสมกับแต่ละพื้นที่เท่านั้น หากยัง ต้ อ งเข้ า ใจถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ของประชาชน

อย่ า งถ่ อ งแท้ อี ก ด้ ว ย เพราะการบริ ห ารจั ด การตลาดมิ ไ ด้ มี เ งื่ อ นไขเฉพาะการจั ด การ

ด้ า นกายภาพเท่ า นั้ น หากแต่ ยั ง เต็ ม ไปด้ ว ยความผู ก พั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ของผู้ ซื้ อ

และผู้ขาย โดยเฉพาะ “พฤติกรรมของผู้บริโภค”


การปรั บ ปรุ ง ตลาดในอดี ต นั้ น ระหว่ า งการปรั บ ปรุ ง สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ

จะจัดเตรียมพื้นที่ค้าขายให้พ่อค้า แม่ค้า ไปค้าขายชั่วคราว เพื่อมิให้ขาดรายได้ แต่ปญ ั หา


ทีพ่ บคือ ระยะเวลาในการปรับปรุง ซึง่ บางครัง้ ใช้เวลานานหลายเดือน กลุ่มลูกค้าดั้งเดิม

ที่เคยใช้จ่ายที่ตลาดก็ได้ย้ายไปจับจ่ายใช้สอยยังตลาดแห่งอื่นที่อยู่ในบริเวณเดียวกัน ทำให้
ภายหลังปรับปรุงเสร็จ เมื่อพ่อค้าแม่ค้าย้ายกลับมาที่เดิมแล้ว ลูกค้าเก่าจึงลดจำนวนลง
อย่างมากเนื่องจากเคยชินกับการจับจ่ายที่ตลาดแห่งอื่นแล้ว ทำให้ตลาดที่ปรับปรุงใหม่

ไม่คึกคักอย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งเป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่ง

บนซ้าย: วิถีชีวิตของผู้คนในย่านตลาดล่าง จังหวัดนครปฐม


บนขวา: การค้าขายริมทางเท้าในย่านตลาดสด เสน่ห์แบบไทยๆ
ที่ยังพอหาชมได้อยู่
ล่าง: ตลาดล่าง จังหวัดนครปฐม หลังปรับปรุงแล้วเสร็จ
z ๘๔
ความผิดพลาดในอดีตคือบทเรียนที่สำคัญที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งสำนักงานทรัพย์สินฯ

ได้ น ำมาปรั บ ใช้ เ พื่ อ การดำเนิ น งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น การปรั บ ปรุ ง ตลาด

ยุคปัจจุบันจึงคำนึงถึงความสะดวกสบายของผู้ค้าและลูกค้าที่เข้ามาจับจ่ายใช้สอยในตลาด
เป็นหลัก ด้วยการปรับปรุงพื้นที่โดยการแบ่งพื้นที่และทยอยปรับปรุงเป็นโซนๆ ทำให้

การดำเนิ น การปรั บ ปรุ ง และกิ จ กรรมการค้ า ขายสามารถดำเนิ น คู่ ข นานกั น ไปได้ อ ย่ า ง

ราบรื่น ไม่ส่งผลกระทบซึ่งกันละกัน อีกทั้งในระหว่างการปรับปรุง สำนักงานทรัพย์สินฯ


ยังลดภาระผู้เช่าด้วยการไม่เก็บค่าเช่าด้วย สร้างความพึงพอใจให้แก่ทั้งผู้ค้าผู้ขาย และ
ลูกค้าเป็นอย่างยิ่ง และได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นอย่างเต็มที่
นอกจากนี้ สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ยั ง มี โ ครงการที่ จ ะฟื้ น ฟู ต ลาดอี ก หลายแห่ ง

ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เช่น ตลาดท่านา จังหวัด


นครปฐม ตลาดริมน้ำในจังหวัดราชบุรี และตลาด ๑๐๐ ปี ในอำเภอเดิมบางนางบวช
จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งล้วนแต่เป็นตลาดที่มีอายุเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมายาวนาน

และเปี่ ย มไปด้ ว ยวิ ถี ชี วิ ต อั น ทรงคุ ณ ค่ า ควรแก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ไ ว้ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องชุ ม ชน

เป็นอย่างยิ่ง
ผลที่ ไ ด้ จ ากการอนุ รั ก ษ์ ต ลาดที่ ม ากกว่ า การรั ก ษาแหล่ ง ค้ า ขายตามวิ ถี ชี วิ ต

แบบไทยๆ คือ การรักษาภูมิปัญญาชาวบ้านที่สะท้อนผ่านอาหารการกินและสิ่งประดิษฐ์


ต่างๆ อันเป็นสีสันและเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นที่หาชมได้ยากยิ่งให้คงอยู่ กลายเป็น “จุดขาย”
ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้แวะเวียนมาเยี่ยมเยือนอย่างไม่ขาดสายได้ ยิ่งไปกว่านั้น

ยังเป็นการสืบทอดอาชีพค้าขาย การรักษารากฐานและสืบสายสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นยาวนาน

ของผู้คนในชุมชนจากรุ่นสู่รุ่นให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ซึ่งซูเปอร์มาร์เก็ตหรือห้างสรรพสินค้า
สมัยใหม่มิอาจทำได้

ตลาดสด คือ ศูนย์กลางการซื้อ – ขาย ของชุมชน ที่อยู่เคียงคู่

วิถีชีวิตแบบไทยๆ มาอย่างยาวนาน และกำลังเริ่มลดจำนวนลงเรื่อยๆ


เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่หันไปนิยมจับจ่ายใช้สอย
ที่ “ซูเปอร์มาร์เก็ต” หรือ “ร้านสะดวกซื้อ” มากกว่า
ปัจจุบันตลาดสดจึงเริ่มหาได้ยาก ควรที่จะอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างยิ่ง

z ๘๕
เพราะ “คน” คือ รากฐานสำคัญของการพัฒนาในทุกมิตแิ ละทุกระดับ
ไม่วา่ การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าในระดับประเทศ
การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชมุ ชน
หรือแม้แต่การสร้างความมัน่ คงในทีอ่ ยูอ่ าศัย
การช่วยเหลือประชาชนให้มชี วี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้
พึง่ พาตนเองได้มากขึน้ มีความสุขในการดำรงชีวติ มากขึน้
จึงเป็นรากฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในการนำไปสูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน

ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนคือ “คน” ในชุมชน


สามารถพึ่งพาตนเองได้ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการประกอบอาชีพสุจริต
ภายในชุมชนเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้
ซ้ายและขวา: ตัวอย่างการประกอบอาชีพบางส่วนของชาวชุมชนร่วมสามัคคี
เข้มแข็งเพราะพึ
มัน
่ ง่ คง ๔
ตนได้
๔ เข้มแข็งมัน
่ คง เพราะพึง่ ตนได้

จากภารกิจหลักของสำนักงานทรัพย์สินฯ ในการดูแลรักษาและบริหาร แม้ “รูปแบบ” และ “ทิศทาง” ของการพัฒนา


อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โ ดยให้ ป ระชาชนเช่ า ที่ ดิ น และอาคาร ทั้ ง เพื่ อ การอยู่ อ าศั ย
ชุมชนในยุคแรกเริม่ จะไม่ชดั เจนและเป็นรูปธรรมเหมือนเช่น

และหาประโยชน์ พ อยังชีพ และเพื่อการพาณิชย์ใ นพื้ น ที่ ส่ ว นกลางและส่ ว นภู มิ ภ าค


ในปัจจุบัน และมิใช่ทุกครั้งที่ประสบความสำเร็จ หากแต่
โดยมีผเู้ ช่าอยูใ่ นความดูแลกว่า ๓๗,๐๐๐ สัญญานัน้ ประสบการณ์จากความผิดพลาดเหล่านั้นก็ไม่อาจบั่นทอน

ด้วยตระหนักอยู่เสมอว่า “คน” และ “ชุมชน” คือรากฐานที่แข็งแกร่งของ


กำลั ง ใจและปณิ ธ านอั น มุ่ ง มั่ น ในการดำเนิ น งานได้

สังคมไทยและมีบทบาทสำคัญยิง่ ต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และพัฒนาการทุกด้าน ตรงกันข้ามกลับยิ่งเปรียบเสมือน “บทเรียน” อันล้ำค่า

ของประเทศ สำนักงานทรัพย์สินฯ จึงมิได้ดูแลแค่พื้นที่เท่านั้น นอกเหนือจากการสร้าง


ที่ไม่เพียงทำให้สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้เรียนรู้การทำงาน

ความมั่ น คงในที่ อ ยู่ อ าศั ย ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง ทางด้ า นกายภาพให้ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ อยู่ ใ น
และวิธีทำงานเพื่อ “ผู้อื่น” แต่สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ทำให้
สภาพแวดล้อมทีด่ ี มีสาธารณูปโภคทีเ่ หมาะสมครบครัน อันเป็นปัจจัยพืน้ ฐานสำคัญของการ สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้ “รู้จักตนเอง” ได้เรียนรู้จุดอ่อน
ดำรงชีวิตแล้ว สำนักงานทรัพย์สินฯ ยังมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ในการปรับปรุง พัฒนา จุดแข็ง และรูศ้ กั ยภาพของตนมากยิง่ ขึน้ และได้นำบทเรียน
และยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้เช่าและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบนพื้นที่ด้วย
เหล่ า นั้ น มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการดำเนิ น โครงการพั ฒ นา

โดยดำเนินโครงการหรือกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ ส่งเสริมสวัสดิการชุมชน ในช่วงเวลาต่อมาด้วยความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาให้ดียิ่งๆ ขึ้น

พั ฒ นาศั ก ยภาพของ “คน” และ “ชุ ม ชน” ให้ เ ข้ ม แข็ ง ทั้ ง การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู
้ ต่อไป
การสนั บ สนุ น ด้ า นการศึ ก ษา และการพั ฒ นาอาชี พ เพื่ อ ให้ ส ามารถพึ่ ง พาตนเองได้

ซึง่ เป็นเจตนารมณ์อนั มุง่ มัน่ ทีส่ ำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ดำเนินมาอย่างต่อเนือ่ งโดยตลอด

z ๘๘
วิวฒ
ั น์แห่งการเรียนรู้ เพือ่ ปูทางสูค่ วามมัน่ คง

ด้ ว ยความที่ ส ำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ เป็ น องค์ ก รเก่ า แก่ ที่ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มา
ตลอดเวลาที่ผ่านมา สำนักงานทรัพย์สินฯ รับรู้
ยาวนาน ที่ ดิ น ในความดู แ ลส่ ว นใหญ่ จึ ง เป็ น ชุ ม ชนเก่ า แก่ ที่ อ ยู่ อ าศั ย กั น มานาน
ปัญหาที่เกิดขึ้นมาโดยตลอด ในช่วงต้นทศวรรษ ๒๕๓๐

หลายชั่วอายุคน ซึ่งในอดีตสำนักงานทรัพย์สินฯ จะพยายามรักษาสภาพเดิมของที่ดิน


จึงได้มีการปรับแนวความคิดและริเริ่มแนวทางการพัฒนา

และสิ่งปลูกสร้างไว้ให้มากที่สุด ไม่เข้าไปดำเนินการเปลี่ยนแปลงสภาพการอยู่อาศัยหรือ ที่อยู่อาศัยใหม่โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาชุมชนแออัด


กำหนดนโยบายใดๆ ทีอ่ าจสร้างผลกระทบต่อพืน้ ทีแ่ ละผูเ้ ช่า แต่ดว้ ยผลแห่งการเร่งพัฒนา มากเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่และเป็นบ่อเกิด
ประเทศตัง้ แต่ชว่ ง พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๒๐ เป็นต้นมา ทำให้กรุงเทพฯ เติบโตขึน้ กลายเป็น ของปัญหาสังคมนานัปการทั้งปัญหาสิ่งแวดล้อม คุณภาพ
ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน เป็นศูนย์รวมความเจริญทุกด้าน และเป็น
ชีวติ ยาเสพติด และอาชญากรรม ฯลฯ ซึง่ มิได้สง่ ผลกระทบ
แหล่ ง จ้ า งงานที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ของประเทศ ดึ ง ดู ด ผู้ ค นจากทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ให้ อ พยพเข้ า มา
เฉพาะในชุ ม ชนเท่ า นั้ น แต่ ยั ง ส่ ง ผลกระทบไปถึ ง สั ง คม

เป็นแรงงานปีละจำนวนมหาศาล สภาวการณ์ดังกล่าวทำให้สภาพสังคมและกลุ่มผู้เช่าที่ดิน ส่วนรวม จำเป็นต้องเร่งแก้ไขโดยด่วน โดยมุง่ เน้นการพัฒนา


ของสำนักงานทรัพย์สินฯ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตเมืองเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีการ
ทั้ ง ในเชิ ง กายภาพและการสร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ แ ก่

ย้ายออกของกลุ่มผู้อยู่อาศัยเดิมเพื่อไปหาแหล่งที่อยู่อาศัยใหม่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีกว่า
ผู้ อ ยู่ อ าศั ย ควบคู่ ไ ปพร้ อ มกั น งานด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชน

และปล่อยที่ดินให้เช่าช่วงโดยกลุ่มผู้อยู่อาศัยใหม่ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นจำนวนมาก
บนพื้ น ที่ ข องสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง เริ่ ม ต้ น อย่ า งเป็ น

เพราะที่ดินมีราคาถูกและใกล้แหล่งงาน ทำให้ชุมชนบนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ
รู ป ธรรมตั้ ง แต่ นั้ น และได้ มี ก ารเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นา

มี ก ารขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว และไร้ ทิ ศ ทาง มี ก ารก่ อ สร้ า งที่ พั ก อาศั ย กั น เองอย่ า ง
อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดมา เพื่ อ ให้ ก ารยกระดั บ และพั ฒ นา
ไม่เป็นระเบียบ ขาดสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน ไม่ถกู สุขลักษณะ เสือ่ มโทรม จนกลายเป็น
คุณภาพชีวิตของผู้เช่ารวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของชุมชน
ชุมชนแออัดในทีส่ ดุ ดำเนินไปอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเกิด
ความยัง่ ยืน

z ๘๙
ยุคที่ ๑: ปฐมบทแห่งการเรียนรู.้ ..มุง่ สูก่ ารพัฒนา
จ ากการอพยพของแรงงานชนบทเข้ า สู่ เ มื อ งอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด

การขยายตัวอย่างรวดเร็วและไร้ทิศทางของชุมชนแออัดจนกลายเป็นปัญหาที่ลุกลาม

ไปอย่างกว้างขวาง ความต้องการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในเขตเมืองเพิม่ สูงขึน้ ทีด่ นิ มีราคา


แพงอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ส่งผลให้เจ้าของที่ดินส่วนใหญ่ได้มีการเปลี่ยนแปลง

การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ โดยนำพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพมาพัฒนาเชิงพาณิชย์กนั มากขึน้


แม้ว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ จะอยู่ในเขตเมืองและเป็นพื้นที่

ที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนาเชิงพาณิชย์ แต่ด้วยตระหนักถึงคุณค่าของ “คน” และ


“ชุ ม ชน” สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง ดำเนิ น นโยบายในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ชุ ม ชนแออั ด

ในเขตเมืองอย่างประนีประนอมเพื่อให้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่และสภาพ

ความเป็ น ชุ ม ชนน้ อ ยที่ สุ ด แต่ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในขณะเดี ย วกั น โดยนำรู ป แบบ

การพัฒนาทีด่ นิ ทีเ่ รียกว่า “การประสานประโยชน์ทดี่ นิ ” หรือ Land Sharing มาใช้


โดยจัดแบ่งพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่ สำหรับปลูกสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ชมุ ชนเช่าอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
และนำพืน้ ทีส่ ว่ นทีเ่ หลือมาพัฒนาตามความเหมาะสม
ในส่วนของการปรับปรุงพืน้ ทีเ่ พือ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ได้ดำเนิน
การรื้อที่อยู่อาศัยเดิมที่มีสภาพทรุดโทรมแล้วสร้างที่อยู่อาศัยใหม่ โดยเปิดโอกาสให้

ชาวชุมชนสามารถเลือกได้ตามความสมัครใจ สำหรับผูท้ ปี่ ระสงค์จะย้ายออกไปหาทีอ่ ยูใ่ หม่


สำนักงานทรัพย์สินฯ จะจ่ายค่าเวนคืน ค่าชดเชยสิ่งปลูกสร้าง หรือจัดหาที่อยู่ใหม่ให้

อย่างเหมาะสม ส่วนผูท้ ตี่ อ้ งการอยูอ่ าศัยในพืน้ ทีเ่ ดิม จะสร้างทีพ่ กั ใหม่ในรูปแบบอาคารสูง

ซึ่ ง เป็ น แนวทางที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งแพร่ หลายในยุคนั้น เนื่องจากประหยัดเนื้อที



บนพืน้ ราบ โดยจัดเก็บค่าเช่าในราคาถูก พร้อมจัดสาธารณูปโภคทีจ่ ำเป็นอย่างเหมาะสม
ซึง่ สามารถสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย แก้ไขปัญหาด้านสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี
โดยได้ดำเนินการที่ “ชุมชนสามยอด” เป็นแห่งแรกใน พ.ศ. ๒๕๓๑ และได้ดำเนินการ
ลักษณะเดียวกันในอีกหลายชุมชน เช่น ชุมชนเทพประทาน ชุมชนคลองไผ่สงิ โต

การพัฒนาชุมชนที่อยู่อาศัยในรูปแบบอาคารสูง ชุมชนเทพประทาน
z ๙๑
เมื่อโครงการดำเนินไปได้ชั่วระยะเวลาหนึ่ง สิ่งที่สำนักงานทรัพย์สินฯ คิดว่าดี

และเหมาะสมกับชาวชุมชนมากที่สุดแล้วนั้น กลับพบว่า ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร

ซ้ำยังก่อให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เพราะการอาศัยอยู่ในอาคารสูงไม่สอดคล้องกับ

วิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวชุมชนซึ่งเคยชินกับวิถีชีวิตบนพื้นราบ ส่งผลกระทบในด้านการ
ประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต ชาวชุมชนขาดพื้นที่ค้าขาย พื้นที่เตรียมการค้าขาย

และพื้ น ที่ เ ก็ บ อุ ป กรณ์ ทำให้ มี ก ารต่ อ เติ ม ดั ด แปลงอาคาร มี ก ารใช้ พื้ น ที่ ผิ ด ประเภท

การใช้งาน ขาดพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรมชุมชน ซึ่งส่งผลกระทบ

อย่างยิง่ ต่อปฏิสมั พันธ์ของคนในชุมชน นอกจากนี้ ด้วยขนาดห้องทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละชัน้


และการจัดสรรตามขนาดครอบครัว ทำให้ชาวชุมชนเดิมที่เคยอยู่บ้านใกล้เรือนเคียงกัน
สนิ ท สนมกั น มาก่ อ นไม่สามารถอยู่รวมในชั้นเดียวกั น ได้ นำไปสู่ ปั ญ หาการเลื อ กผู้ น ำ

ที่เป็นตัวแทนชั้น เกิดการแบ่งพรรคแบ่งพวก ยิ่งไปกว่านั้น การออกแบบจำนวนห้อง

ให้ มี ม ากกว่ า จำนวนสิ ท ธิ ข องผู้ เ ช่ า ทำให้ ช าวชุ ม ชนเดิ ม ได้ รั บ สิ ท ธิ ม ากกว่ า ๑ สิ ท ธิ

ซึ่งนำไปสู่การเช่าช่วงและการขายสิทธิ จนในที่สุดชาวชุมชนเดิมก็ย้ายออกและกลับไป

อาศัยอยูใ่ นชุมชนแออัดทีอ่ นื่ ต่อไป


บทเรียนจากการพัฒนาในยุคนี้ ทำให้สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ได้เรียนรูว้ า่ การพัฒนา
โดยไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวิถีชุมชนนั้น ท้ายที่สุดแล้วก็จะไม่ยั่งยืน ควรให้ชาวชุมชน

มีส่วนร่วมตลอดกระบวนการ ตั้งแต่การออกแบบ การเตรียมความพร้อมในการโยกย้าย


เรียนรู้การปรับตัวก่อนขึ้นไปใช้ชีวิตจริงบนอาคารสูง เรียนรู้ปัญหาและวิธีแก้ไขปัญหา

ด้วยการพึง่ พาตนเอง ร่วมกันคิดและวางแผน และทีส่ ำคัญคือ ต้องให้ความสำคัญกับการ


รักษาความสัมพันธ์ดั้งเดิมของชาวชุมชนไว้ เพื่อให้ชาวชุมชนรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
และรู้ สึ ก ร่ ว มกั น ว่ า อาคารเปรี ย บเสมื อ นบ้ า นของตนที่ จ ะต้ อ งช่ ว ยกั น ดู แ ลรั ก ษา

และร่วมมือกันแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้

บน: การพัฒนาชุมชนที่อยู่อาศัยในรูปแบบอาคารสูง
ชุมชนคลองไผ่สิงโต
ล่าง: วิถีชีวิตบนอาคารสูงของชาวชุมชนเทพประทาน

z ๙๒
แม้การอาศัยบนอาคารสูง อาจจะไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทยเท่าใดนัก
แต่เด็กๆ ในชุมชนเทพประทาน ก็สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
ยุคที่ ๒: ก้าวทีส่ อง...ปรับเปลีย่ นมุมมองเพือ่ ความก้าวหน้า

บรรยากาศอันสงบร่มรื่นและวิถีชีวิตบนพื้นราบที่สะดวกสบายกว่าบนอาคารสูง ในชุมชนพลับพลา
ความผิดพลาดจากการพัฒนาที่อยู่อาศัย โดยปราศจากการศึกษาวิถีชีวิต
และความต้องการที่แท้จริงของประชาชน นำไปสู่แนวคิดใหม่ในการพัฒนายุคต่อมา
โดยปรับเปลี่ยนจากการพัฒนาที่อยู่อาศัยในแนวสูงซึ่งไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของ

ชาวชุมชน เป็นการปรับปรุงพัฒนาที่อยู่อาศัยในแนวราบโดยการปรับปรุงที่อยู่อาศัย

ในที่ดินเดิม (Slum Upgrading) และก่อสร้างที่อยู่อาศัยใหม่บางส่วน พร้อมจัดสภาพ


แวดล้อมในชุมชน พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และจัดโครงการส่งเสริมสวัสดิการชุมชน
ควบคู่ไปด้วย โดยผู้อยู่อาศัยสามารถเลือกต่อเติมหรือก่อสร้างบ้านใหม่เองหรือเลือก

พั ก อาศั ย ในบ้ า นที่ ส ำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ก่ อ สร้ า งให้ เช่ น ที่ “ชุ ม ชนพลั บ พลา”

โดยเริ่มดำเนินการอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. ๒๕๓๓ มีการจัดเก็บค่าสาธารณูปโภค

ส่วนกลางในลักษณะเดียวกับโครงการบ้านจัดสรร ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาด้านสภาพ
แวดล้อมและสาธารณูปโภคพื้นฐานได้อย่างกว้างขวาง ผู้อยู่อาศัยยอมรับสถานภาพ

ของชุมชนและสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง แต่ในที่สุด

ก็เกิดปัญหาตามมา นั่นคือ ความไม่เข้าใจของชาวชุมชนต่อรูปแบบโครงการพัฒนา

ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ชาวชุ ม ชนเกิ ด ความรู้ สึ ก ว่ า ถู ก บี บ บั ง คั บ

และตกอยูใ่ นภาวะจำยอม

z ๙๕
โครงการพลับพลา
โครงการพลับพลา มีพนื้ ทีป่ ระมาณ ๒๘๘ ไร่ ตัง้ อยูใ่ นบริเวณทีเ่ ป็นทีต่ งั้ ของ
หมู่ บ้ า นคลองพลั บ พลาในอดี ต ในพื้ น ที่ เ ขตวั ง ทองหลาง สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ

ได้ดำเนินการพัฒนาพืน้ ทีด่ งั กล่าวด้วยวิธกี ารประสานประโยชน์ทดี่ นิ (Land Sharing)


โดยแบ่งพืน้ ทีท่ งั้ หมดออกเป็นโซนต่างๆ เพือ่ การอยูอ่ าศัย ส่วนทีม่ คี ณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ
สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ก็นำมาพัฒนาตามความเหมาะสม
การดำเนินงานในระยะแรกมีอุปสรรคและปัญหามากมาย เนื่องจากนโยบาย

ในการพัฒนาพื้นที่และกฎเกณฑ์การช่วยเหลือต่างๆ ของสำนักงานทรัพย์สินฯ ที่สื่อสาร

ออกไปเข้าไม่ถึงผู้อยู่อาศัย เนื่องจากชาวชุมชนถูกปิดกั้นข่าวสาร นอกจากนี้ แนวทาง

การพัฒนายังกระทบผลประโยชน์ของผู้เช่าบางรายและบางกลุ่ม แต่สำนักงานทรัพย์สินฯ

ก็ พ ยายามเข้ า ไปเจรจาทำความเข้ า ใจ พร้ อ มสร้ า งความมั่ น ใจให้ ก ลุ่ ม ผู้ ต่ อ ต้ า นว่ า

จะดำเนิ น การพั ฒ นาโดยให้ ผู้ อ ยู่ อ าศั ย ได้ รั บ ผลกระทบน้ อ ยที่ สุ ด และให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น

จนในทีส่ ดุ ก็ได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดี


ปั จ จุ บั น สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ได้ ด ำเนิ น การพั ฒ นาชุ ม ชนทั้ ง ในด้ า นกายภาพ

การยกระดับคุณภาพชีวติ โดยมีแผนพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งในระยะสัน้ และระยะยาว ตลอดจน


การปลูกจิตสำนึกของผู้อยู่อาศัยให้มีความรักในชุมชน อันจะเป็นพื้นฐานสำคัญที่ก่อให้เกิด
ความร่วมมือร่วมใจในอนาคต และมุ่งหวังให้ชุมชนแห่งนี้เป็นศูนย์การเรียนรู้แก่ชุมชนอื่นๆ
เช่ น เรื่ อ งการพั ฒ นาพื้ น ที่ โ ดยปรั บ รู ป แบบของชุ ม ชนเกษตรกรรมมาเป็ น ชุ ม ชนเมื อ ง

ตามแนวพระราชดำริ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ด้วยการฝึกอาชีพ เป็นต้น “วิถีชีวิตบนพื้นราบ” ของชาวชุมชน

พลับพลา ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิม
ของคนไทยมากกว่า

z ๙๖
พื้นที่สาธารณะหรือพื้นที่ส่วนกลาง คือ บริการพื้นฐานที่จำเป็นต้องมีในทุกชุมชน เนื่องจาก
เป็นพื้นที่สำคัญในการประกอบกิจกรรมที่จะช่วยเชื่อมกระชับความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว
และในชุมชนได้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน
(ในภาพ: พื้นที่ส่วนกลางในชุมชนพลับพลา)
ยุคที่ ๓: มัน
่ คงด้วยความร่วมมือ

ตัวแทนผู้บริหารจากสำนักงานทรัพย์สินฯ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ร่วมด้วยตัวแทน


จากภาคส่วนต่างๆ ในพิธียกเสาเอกบ้านมั่นคง ชุมชนน้อมเกล้า ซอยรามคำแหง ๓๙ เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
แ ม้ สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ จากการดำเนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชนในช่ ว ง ๒ ยุ ค

ที่ ผ่ า นมา จะไม่ ใ ช่ ค วามสำเร็ จ อย่ า งที่ ค าดหวั ง แต่ สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ไม่ แ พ้ กั น คื อ
“ประสบการณ์” อันมีคา่ ยิง่ ทีท่ ำให้สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ได้เรียนรูว้ า่ การดำเนินการ
พัฒนาโครงการใดๆ ควรเรียนรู้วิถีชีวิต และความต้องการของผู้รับการพัฒนาก่อน

เป็ น อั น ดั บ แรก เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการอย่ า งแท้ จ ริ ง และการพั ฒ นา

ที่ เ หมาะสมต้ อ งไม่ เ ป็ น การพั ฒ นาที่ ยั ด เยี ย ดให้ แต่ ค วรพั ฒ นาชุ ม ชนให้ มี ค วาม
กระตือรือร้นทีจ่ ะพัฒนาตนเอง ขณะเดียวกัน ก็ได้เรียนรู้ “ศักยภาพ” ของตนเองว่า
สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ มิ ไ ด้ มี ค วามเชี่ ย วชาญทุ ก ด้ า น และมิ อ าจปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได้

สมบูรณ์แบบโดยลำพัง
การพัฒนาชุมชนในยุคถัดมา (ยุคที่ ๓) จึงได้มีการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ใหม่
จากเดิมที่สำนักงานทรัพย์สินฯ เป็นผู้กำหนดรูปแบบและวิธีการพัฒนา เปลี่ยนเป็น

การยึ ด “คน” และ “ชุ ม ชน” เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการพั ฒ นา พร้ อ มทั้ ง ได้ แ สวงหา

กลุ่มพันธมิตรเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อมาช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติ
ภารกิ จ ด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชนของสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น

โดยร่ ว มมื อ กั บ ผู้ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นอย่ า ง “สถาบั น พั ฒ นาองค์ ก รชุ ม ชน
(องค์การมหาชน)” หรือ “พอช.” ซึ่งมีประสบการณ์ด้านการพัฒนาชุมชนในพื้นที่

ทั่วประเทศมานานกว่า ๓๐ ปี โดยร่วมกันดำเนินโครงการพัฒนาชุมชนในรูปแบบ

“บ้านมัน่ คง” ซึง่ เน้นทัง้ การพัฒนาในเชิงกายภาพ คุณภาพชีวติ และสร้างชุมชนเข้มแข็ง


แต่ จ ะแตกต่ า งจากการพั ฒ นารู ป แบบเดิ ม คื อ เปิ ด โอกาสให้ ช าวชุ ม ชนเป็ น แกนหลั ก

ในการกำหนดรูปแบบ แนวทาง และขับเคลือ่ นการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยและชุมชนของตนเอง


แนวทางการพัฒนาจึงแตกต่างกันไปตามลักษณะปัญหา ความต้องการ ตลอดจนบริบท

ทีเ่ กีย่ วข้องของแต่ละชุมชน โดยสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ปรับเปลีย่ นบทบาทมาเป็นผูส้ นับสนุน


การขับเคลื่อนโครงการ นับตั้งแต่การสำรวจข้อมูลชุมชน ร่วมประชุมหารือกับชุมชน

เพือ่ กำหนดความต้องการทีต่ รงกัน ร่วมวางผัง สร้างแปลน “บ้านมัน่ คง” ให้สอดคล้อง


กับความต้องการของผู้อยู่อาศัย วางระบบการออมทรัพย์ สร้างระบบสาธารณูปโภค

ที่ได้มาตรฐาน สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันของทุกคนในชุมชน ยกระดับคุณภาพ


ชีวติ ด้วยการขยายโอกาสทางการศึกษาและอาชีพ รวมถึงการสร้างความมัน่ คงในเรือ่ งทีด่ นิ
จัดระบบสิทธิที่อยู่อาศัยในรูปแบบที่ยั่งยืน เพื่อให้ชาวชุมชนมีที่อยู่อาศัยถาวร ถูกต้อง

ตามกฎหมาย โดยมี พอช. เป็ น แกนนำหลั ก ในการขั บ เคลื่ อ นโครงการ และได้ ม



การทำบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ด้ า นการพั ฒ นาชุ ม ชนและสั ง คมตามโครงการบ้ า นมั่ น คง

ร่วมกันอย่างเป็นทางการเป็นครัง้ แรกใน พ.ศ. ๒๕๔๗ ปัจจุบนั มีชมุ ชนทีด่ ำเนินการอย่าง


เป็นรูปธรรมแล้ว ๕ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนพัฒนาบ่อนไก่ ชุมชนร่วมสามัคคี ชุมชน

เก้าพัฒนา ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร และชุมชนหลังตลาดเจริญนคร


z ๙๙
โครงการบ้านมัน
่ คง ในชุมชนบนพืน
้ ทีข่ องสำนักงานทรัพย์สน
ิ ฯ
ชุมชนซอยรามคำแหง ๓๙

พื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ บริเวณซอยรามคำแหง ๓๙ ประกอบด้วย

๗ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนเทพลีลา ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา ชุมชนทรัพย์สินใหม่ ชุมชน

เก้าพัฒนา ชุมชนร่วมสามัคคี ชุมชนทรัพย์สนิ เก่า และชุมชนน้อมเกล้า แบ่งการพัฒนา


เป็น ๒ รูปแบบ คือ รือ้ สร้างใหม่ทงั้ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนร่วมสามัคคี ชุมชนเก้าพัฒนา
ชุ ม ชนน้ อ มเกล้ า ส่ ว นที่ เ หลื อ จะพั ฒ นาในรู ป แบบผสมผสานระหว่ า งรื้ อ สร้ า งใหม่

และปรับปรุงบางส่วน โดยสำนักงานทรัพย์สินฯ จะจัดทำสัญญาเช่าระยะยาวกับ

ชาวชุมชนทีร่ ว่ มกันพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัย


ปั ญ หาสำคั ญ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการพั ฒ นาโครงการคือ ความไม่ เ ข้ า ใจในโครงการ

บ้านมั่นคงของชาวชุมชน เนื่องจากความแตกต่างด้านความเป็นอยู่ของผู้อยู่อาศัยในชุมชน
ต้องใช้เวลาในการสร้างความเข้าใจ การเตรียมความพร้อม และสร้างการมีส่วนร่วม

เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและทราบถึงประโยชน์ที่จะได้รับ พร้อมเฟ้นหาผู้นำทาง
ธรรมชาติ แ ละผู้ ที่ ชุ ม ชนให้ ก ารยอมรั บ เป็ น ตั ว กลางในการประสานงานและร่ ว มกั น

สร้างความเข้าใจ รวมทัง้ เปิดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นร่วมคิด ร่วมทำ ในการดำเนินการ


พัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ ทั้งด้านกายภาพและคุณภาพชีวิต มีการแบ่งกลุ่มย่อยในการ
ทำงานอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย ด้านบริหารจัดการ ด้านสังคม ด้านข้อมูล และด้าน
สาธารณูปโภค โดยสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ พอช. และหน่วยภาคีตา่ งๆ เพียงแค่คอยสนับสนุน

ให้กระบวนการทำงานราบรืน่ ขึน้ เท่านัน้

การเปิดโอกาสให้ชาวชุมชนมีสิทธิ มีเสียง มีโอกาสในการแสดง

ความคิดเห็นตามกระบวนการ “การสร้างการมีส่วนร่วม”
เป็นวิธีหนึ่งในการแก้ไขปัญหาจากการพัฒนาที่อยู่อาศัย

ที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิตของชาวชุมชน
และเป็นหัวใจหลักในการดำเนินโครงการ “บ้านมั่นคง”

z ๑๐๐
เด็กๆ ในชุมชนร่วมสามัคคี กำลังสนุกสนานเพลิดเพลินกับการทำกิจกรรมร่วมกัน ถือเป็นการเชื่อมกระชับ
ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให้ใกล้ชิด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนพัฒนาบ่อนไก่

ชุ ม ชนพั ฒ นาบ่ อ นไก่ ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณซอยปลู ก จิ ต ถนนพระรามที่ ๔

เขตคลองเตย โดยชาวชุ ม ชนเริ่ ม เข้ า มาปลู ก ที่ พั ก อาศั ย ได้ ป ระมาณ ๓๐ ปี แ ล้ ว

โดยไม่มสี ญ ั ญาเช่า ในเวลาต่อมามีความแออัดมากขึน้ จนมีสภาพเป็นแหล่งเสือ่ มโทรม


ขนาดใหญ่ มีบ้านเรือนประมาณ ๑,๕๐๐ ครัวเรือน ประชากร ๑๒,๐๐๐ คน

ชาวชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง เป็นกรรมกร และค้าขายทั่วไป และได้มีการ

รวมตัวกันทำกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๖ เช่น การทำประปา


ชุ ม ชน ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก จั ด ตั้ ง กรรมการชุ ม ชน ตลอดจนตั้ ง กลุ่ ม ออมทรั พ ย์

และจดทะเบียนเป็นสหกรณ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ รวมทั้งมีการจัดทำโครงการพัฒนา

ทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยเสนอขอเช่าทีด่ นิ จากสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ


ต่อมาเมื่อปลาย พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้เกิดเหตุการณ์เพลิงไหม้ขึ้น หลังเหตุการณ์

ดังกล่าว สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ อนุญาตให้ชมุ ชนอาศัยอยูใ่ นทีด่ นิ เดิม มีการทำสัญญาเช่า

และได้บรรจุเข้าร่วมโครงการบ้านมัน่ คงตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นต้นมา รูปแบบการพัฒนา


ที่ อ ยู่ อ าศั ย เป็ น การก่ อ สร้ า งในที่ ดิ น เดิ ม (Reconstruction) โดยสหกรณ์ เ คหสถาน

ชุ ม ชนพั ฒ นาบ่ อ นไก่ จำกั ด ที่ ช าวชุ ม ชนร่ ว มกั น ตั้ ง ขึ้ น มาเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการ

การดำเนินงานแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๙ - ๑๐ หลัง ประกอบด้วยหัวหน้ากลุ่ม

และผู้ช่วย กลุ่มละ ๒ คน แต่ละกลุ่มย่อยจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างชุมชนใหม่

ทีเ่ กิดจากการร่วมกันคิด ร่วมกันทำ อย่างแท้จริง


กว่าจะมาถึงวันนี้ ชาวชุมชนได้ร่วมกันฟันฝ่าอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น

นับตั้งแต่การบุกเบิกเข้ามาตั้งหลักปักฐาน ยุคต่อสู้กับการไล่ที่ ยุคสร้างความเข้มแข็ง


บน: บ้านมั่นคง ชุมชนพัฒนาบ่อนไก่
ให้ชุมชนด้วยโครงการยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตต่างๆ และยังคงเดินหน้าพัฒนา
ล่าง: วิถีชีวิตของชาวชุมชนพัฒนาบ่อนไก่
ที่อยู่อาศัยกันอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบันโครงการประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี

และเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจสำหรับชุมชนอื่นๆ ในฐานะ “ชุมชนเข้มแข็งตัวอย่าง”

ที่สามารถเอาชนะอุปสรรคปัญหามาได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจและสมัครสมานสามัคคี

ของคนในชุมชน

z ๑๐๒
ชุมชนหลังตลาดเจริญนคร

ชุมชนหลังตลาดเจริญนครเป็นชุมชนเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมายาวนาน

นับร้อยปี เดิมเป็นที่สวน บ้านเรือนส่วนใหญ่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ มีชื่อเรียกว่า “ชุมชน

หลังตลาดบอมเบย์” ชาวชุมชนมีความเป็นอยูอ่ ย่างเรียบง่าย สงบสุข และเกือ้ กูลกัน


ต่ อ มาภายหลั ง สภาพชุ ม ชนเปลี่ ย นแปลงไป มี บุ ค คลภายนอกเข้ า มาอยู่ อ าศั ย

เป็นจำนวนมาก สภาพบ้านเรือนก็ทรุดโทรมลงตามกาลเวลา
สำนักงานทรัพย์สินฯ ร่วมกับ พอช. กำหนดแนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัย

โดยการปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซมที่ อ ยู่ อ าศั ย บางส่ ว น รื้ อ ถอน และปลู ก สร้ า งใหม่ บ างส่ ว น

สำหรับในส่วนที่มีสภาพดีอยู่แล้วก็คงสภาพเดิมไว้ แต่ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในชุมชน

โดยรวมให้ ดี ขึ้ น เป็ น ชุ ม ชนตั ว อย่ า งของการพั ฒ นาตามรู ป แบบโครงการบ้ า นมั่ น คง

เชิงอนุรกั ษ์ผสมผสาน
อุปสรรคสำคัญของการพัฒนาคือ ความไม่พร้อมของชุมชนบางส่วนในการเข้าร่วม
โครงการเนื่องจากความแตกต่างทางฐานะของชาวชุมชน แต่ด้วยการสร้างความเข้าใจ

และการมีส่วนร่วม รวมถึงความมุ่งมั่นตั้งใจจริงในการแก้ปัญหา ประกอบกับความรู้

และประสบการณ์ทสี่ งั่ สมมาอย่างยาวนานในด้านการพัฒนาชุมชนของสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ


เชือ่ ว่าจะเป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้โครงการพัฒนาประสบความสำเร็จ ซึง่ ต้องอาศัยระยะเวลา
พอสมควร
นอกเหนือจากการปรับปรุงสิง่ แวดล้อม สาธารณูปโภค สาธารณูปการทางด้าน
กายภาพแล้ว สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ยังมุง่ เน้นให้ชาวชุมชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ในระยะยาว
ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนมี ร ายได้ สามารถพึ่ ง พาตนเองได้ รวมทั้ ง ปลู ก จิ ต สำนึ ก แห่ ง ความ

เป็นเจ้าของ การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และความสามัคคีกัน เพื่อบรรเทาปัญหาต่างๆ

ทีเ่ ป็นภัยคุกคามต่อชีวติ ความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และความมัน่ คงในชุมชน

วิถีชีวิตอันเรียบง่าย ของชุมชนหลังตลาดเจริญนคร

z ๑๐๓
ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร

ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร เป็นชุมชนที่มีประวัติยาวนานนับร้อยปี

โดยเชื่อกันว่าเดิมบริเวณนี้เป็นที่ตั้งของ “วัดพระยาไกรโชตินาราม” ต่อมากลายเป็น

วัดร้าง กรมการศาสนาจึงให้โรงงานแปรรูปไม้ของบริษัทเอกชนรายหนึ่งเช่าใช้พื้นที่

และเนื่ อ งจากโรงงานต้ อ งใช้ แ รงงานคนจำนวนมาก บริ เ วณนี้ จึ ง มี แ รงงานเข้ า มา

อยู่ อ าศั ย จนกลายเป็ น ชุ ม ชนขึ้ น ในเวลาต่ อ มาชุ ม ชนได้ ข ยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว

จนกลายสภาพเป็นชุมชนแออัดในปัจจุบัน
ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีเ่ ขตบางคอแหลม ติดถนนเจริญกรุง
มีขนาดพืน้ ที่ ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ จัดให้ประชาชนอยูอ่ าศัย
จำนวน ๑๖๒ แปลง มีสภาพความเป็นอยูค่ อ่ นข้างแออัด สาธารณูปโภค สาธารณูปการ

ยังไม่ได้มาตรฐาน จึงเป็นปัญหาต่อการอยู่อาศัย จนกระทั่งเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่

ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึง่ มีสาเหตุสำคัญมาจากสภาพความแออัดของชุมชนจนไม่สามารถใช้เส้นทาง


เข้ า -ออกได้ โ ดยสะดวก เป็ น อุ ป สรรคต่ อ การเข้ า ไปช่ ว ยดั บ เพลิ ง สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ

จึงได้ขอความร่วมมือไปยังสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เข้ามาร่วมปรับปรุงพื้นที



ให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย น่าอยู่อาศัยอย่างยั่งยืน ครอบคลุมทั้งพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ

และไม่ได้รับผลกระทบเพื่อป้องกันมิให้เกิดสภาพแออัดเหมือนที่เคยเป็นมา โดยได้กำหนด
นโยบายในการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ผทู้ ไี่ ด้รบั ความเดือดร้อนจากเหตุเพลิงไหม้กอ่ น
สำหรั บ โครงการพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย ใหม่ นี้ มี รู ป แบบเป็ น อาคารสู ง ๔ ชั้ น

(เป็นโครงการบ้านมั่นคงในรูปแบบอาคารสูงแห่งแรกในประเทศไทย) จำนวน ๘๐ ห้อง

โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการออกแบบที่อยู่อาศัยและกำหนดกติกาในการพักอาศัยร่วมกัน

คาดว่าชุมชนแห่งนี้จะสามารถเป็นชุมชนนำร่องในการพัฒนาที่อยู่อาศัยตัวอย่างสำหรับ
บน: พิธีลงเสาเอกบ้านมั่นคงของชุมชนหลังตลาดเก่า
ชุมชนอืน่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์เพลิงไหม้ได้เป็นอย่างดี วัดพระยาไกร
ล่างซ้าย: อาคารบ้านมั่นคงในชุมชนหลังตลาดเก่า
วัดพระยาไกร ระหว่างก่อสร้าง
ล่างขวา: วิถีชีวิตของชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร

z ๑๐๔
นางนันทวัน
นายบัลลังก์ นันทิวชั รินทร์ ฉัตรสกุลเพ็ญ
ประธานสหกรณ์เคหสถานมั่นคง หัวหน้าฝ่ายชุมชน
ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร และสวัสดิการสังคม
สำนักงานเขตบางคอแหลม

“ที่ ผ่ า นมา ชุ ม ชนเราเกิ ด เพลิ ง ไหม้ บ่ อ ยครั้ ง มาก เพราะหากมี ป ระกายไฟ


“เขตบางคอแหลมมีชุมชนบนพื้นที่ของสำนักงาน
เพียงนิดเดียวเกิดขึ้น ณ จุดใดก็ตาม ไฟจะลามไปถึงบ้านอื่นด้วย หลังเหตุการณ์เพลิงไหม้ ทรัพย์สินฯ รวม ๑๖ ชุมชน จากทั้งหมด ๒๙ ชุมชน

สงบลง ชาวบ้ า นมักสร้างบ้านใหม่ในสภาพเดิม ๆ จนกระทั่ ง เหตุ ก ารณ์ เ พลิ ง ไหม้ ใ นปี ซึ่ ง ทุ ก ชุ ม ชนล้ ว นมี ส ภาพไม่ ต่ า งกั น คื อ เป็ น ชุ ม ชนแออั ด

๒๕๔๘ บนเนื้อที่ ๒ ไร่ จำนวน ๒๔ หลังคาเรือน ๗๖ ครอบครัว สำนักงานทรัพย์สินฯ มีปัญหายาเสพติดและปัญหาคุณภาพชีวิต แต่ในระยะหลัง


ใช้ วิ ธี ล้ อ มพื้ น ที่ ไม่ ใ ห้ มี ผู้ บุ ก รุ ก และใช้ โ อกาสนี้ ด ำเนิ น โครงการบ้ า นมั่ น คง เพื่ อ ให้
สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้ประสานความร่วมมือมาทางเรา

ชาวชุมชนได้อยู่บนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ อย่างมีความสุข มั่นคง และปลอดภัย เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชนบ่อยขึ้น ทำให้เราเห็นถึงความ

มากขึ้น มุง่ มัน่ ตัง้ ใจจริงของสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ในการทำงานด้านนี ้


“ก่ อ นดำเนิ น โครงการ สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ เข้ า มาระดมความคิ ด เห็ น
“งานด้านการพัฒนาหรือปรับปรุงสภาพทีอ่ ยูอ่ าศัยนัน้
จากชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อน และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า จะสร้างเป็นอาคารชุด
เชื่ อ ว่ า สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ รั บ รู้ ปั ญ หาและมี น โยบาย

๒ อาคาร รวมจำนวน ๘๐ ยูนิต โดยแต่ละยูนิตมีเนื้อที่ ๒๔ ตารางเมตร ราคา ยกระดับคุณภาพความเป็นอยู่ของชาวชุมชนอยู่แล้ว แต่ต้อง


๓๐๐,๐๐๐ บาท สัญญาเช่าระยะยาว ๓๐ ปี ซึ่งพวกเราทุกคนรู้สึกดีใจมาก เพราะแต่เดิม ยอมรับว่าในทางปฏิบัติมีข้อจำกัดมาก เพราะเมื่อชาวชุมชน
เป็นสัญญาเช่าระยะสั้นเพียง ๓ ปีเท่านั้น เขารู้สึกว่าเขาอยู่กันได้ เขาก็ไม่เห็นความสำคัญหรือความ
“ระหว่ า งดำเนิ น การก่ อ สร้ า ง สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ไม่ เ คยปล่ อ ยให้ พ วกเรา
จำเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง ยกเว้นตอนเดือดร้อนจริงๆ เช่น
โดดเดี่ยวหรือผลักภาระ แต่คอยช่วยเหลือและเป็นพี่เลี้ยงในด้านต่างๆ รวมถึงการจัดตั้ง เกิดเหตุเพลิงไหม้เช่นที่ชุมชนหลังตลาดเก่าวัดพระยาไกร
กลุ่มออมทรัพย์ ซึ่งจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ฯ ในภายหลัง ทำหน้าที่รวบรวมเงินจาก สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง ได้ เ ข้ า มาพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย ให้ มี
สมาชิกเพื่อลดภาระการผ่อนต่อเดือนเมื่อเข้าอยู่จริง ซึ่งหากคำนวณคร่าวๆ จากที่สมาชิก ความมั่นคงที่ไม่ใช่แค่การสร้างบ้าน แต่รวมถึงการปรับปรุง
แต่ละคนออมไว้ น่าจะผ่อนกันเดือนละประมาณ ๓,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ บาท คุณภาพชีวิตด้านอื่นๆ ด้วย เช่น การรวมกลุ่มจัดตั้งสหกรณ์
“ผมมองว่าสำนักงานทรัพย์สินฯ ปรับกลยุทธ์ในเชิงรุกและเดินมาถูกทางแล้ว
บ้านมั่นคง นับเป็นตัวอย่างที่ดีมากเพราะเป็นการรวบรวม
เชื่อว่าโครงการนี้น่าจะเป็นต้นแบบสำหรับพื้นที่ในอีก ๘ ไร่ที่เหลือได้ เพียงแต่คนในชุมชน เงิ น จากคนในชุ ม ชนไปทำสาธารณประโยชน์ ต่ า งๆ เช่ น
ต้องไม่นิ่งเฉย ถึงเวลาแล้วที่ทุกคนจะต้องเสียสละประโยชน์ส่วนตัว และหารือกับสำนักงาน ปรับปรุงทางเท้า ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ซึ่งจะเกิดผลดีคือ

ทรัพย์สินฯ ว่าควรวางแผนพัฒนาชุมชนของเราทั้งระบบหรือไม่ คือไม่ใช่สร้างเฉพาะ


ทุกคนจะช่วยกันรักษาสาธารณสมบัติเหล่านี้ไว้อย่างเข้มแข็ง
ที่อยู่อาศัย แต่ต้องมีสถานที่ที่คนในชุมชนสามารถทำมาหากินได้ เช่น ตลาด รวมถึงพื้นที่ เพราะเห็ น คุ ณ ค่ า ของสิ่ ง ที่ ไ ด้ ม าด้ ว ยน้ ำ พั ก น้ ำ แรงของตน
ส่วนกลางของชุมชน เช่น ที่จอดรถ สวนสาธารณะ ศูนย์พยาบาลเบื้องต้น ห้องสมุด และเกิ ด สำนึ ก ร่ ว มแห่ ง ความเป็ น เจ้ า ของ ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง

ศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียน ฯลฯ เพื่อช่วยกันทำบ้านของเราให้เป็นเหมือนสวรรค์ และเป็น สิ่งสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้แก่ชุมชน”


อนาคตที่ดีสำหรับลูกหลานในวันข้างหน้า” z ๑๐๕

แม้ โ ครงการบ้ า นมั่ น คง จะช่ ว ยลดอุ ป สรรคและบรรเทาปั ญ หาเดิ ม ๆ ที่ เ คย

เกิดขึน้ ใน ๒ ยุคแรกได้ หากแต่กม็ ปี ญ ั หาใหม่ๆ เกิดขึน้ ตามมา เพราะด้วยกระบวนการ


พัฒนาตามแบบประชาธิปไตยซึง่ เปิดโอกาสให้ทกุ คนมีสทิ ธิ มีเสียง มีสว่ นร่วมในการวางแผน
กำหนดวิถีชีวิตของตนเองและดำเนินโครงการพัฒนาต่างๆ ได้อย่างอิสระ มีเสรีภาพ

ในการปกครองตนเองโดยการเลื อ กตั้ ง ผู้ น ำชุ ม ชน กรรมการชุ ม ชน มี ก ารรวมกลุ่ ม

ก่ อ ตั้ ง สหกรณ์ ชุ ม ชน เลื อ กตั้ ง ผู้ น ำสหกรณ์ และกรรมการสหกรณ์ แต่ ก็ น ำมาซึ่ ง

“ความแตกแยกทางความคิด” และก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาอีกมากมาย


ประสบการณ์จากการพัฒนาตลอดช่วง ๓ ยุค ทีผ่ า่ นมา พบว่าการปรับปรุงพืน้ ที่
เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงในการอยู่ อ าศั ย ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย หากแต่ เ ชื่ อ มโยงในหลายมิ ต

สลับซับซ้อน ละเอียดอ่อน และลึกซึง้
การพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ สร้างความมัน่ คงในทีอ่ ยูอ่ าศัย โดยแก้ปญ ั หาทางด้านกายภาพ

สร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ ดี ควบคู่ ไ ปพร้ อ มกั บ การยกระดั บ และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ผู้ เ ช่ า

ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง อาจไม่ใช่ “คำตอบ” หรือ


“เครื่ อ งยื น ยั น ” ว่ า การพั ฒ นานั้ น จะประสบความสำเร็ จ ชุ ม ชนจะเข้ ม แข็ ง และยั่ ง ยื น

เพราะท้ายทีส่ ดุ แล้ว ก็มปี ญ ั หาใหม่ๆ เกิดขึน้ มาเรือ่ ยๆ และต้องตามแก้ไขกันไม่รจู้ กั จบสิน้

มุมมองใหม่เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสำนักงานทรัพย์สินฯ จึงมองย้อนกลับไปแก้ที่
“ต้นเหตุ” แห่งปัญหาทั้งปวง นั่นคือ การพัฒนา “คน” ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของ

การพัฒนาไม่วา่ ในมิตใิ ด

ประสบการณ์กว่า ๒๐ ปี ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยในชุมชน
บนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ พบว่า “คน” คือจุดเริ่มต้น
ของปัญหาทั้งปวง การพัฒนาใดๆ จึงต้องให้ความสำคัญกับ
การพัฒนา “คน” ก่อนเป็นลำดับแรก ด้วยการยกระดับและพัฒนา
คุณภาพชีวิตอย่างครบทุกด้าน

z ๑๐๖
เด็กและเยาวชน คือ กลุ่มเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาชุมชน บนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ
เนื่องจากจะเป็นกำลังสำคัญ ในการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเมื่อพวกเขาเติบใหญ่
(ในภาพ: ชุมชนพัฒนาบ่อนไก่)
ปัจจุบน
ั : มุง่ มัน
่ ...สานต่อเจตนารมณ์

การจักสานตะกร้าพลาสติก หนึ่งใน “โครงการฝึกอบรมอาชีพ” ที่สำนักงานทรัพย์สินฯ จัดขึ้น


ณ ชุมชนพลับพลา เพื่อช่วยยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวชุมชน
ก ว่ า ๒ ทศวรรษแห่ ง การเรี ย นรู้ สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ตระหนั ก ว่ า

ปั จ จั ย สำคั ญ ที่ สุ ด ที่ เ ป็ น ตั ว กำหนดหรื อ ชี้ วั ด ความเข้ ม แข็ ง และยั่ ง ยื น ของชุ ม ชน

อย่างแท้จริง คือ “คน”


ชุมชนจะเข้มแข็งได้ต้องเกิดจากคนในชุมชนเข้มแข็ง และคนจะเข้มแข็งได้

ก็ต่อเมื่อคนๆ นั้นมีความพร้อมในเรื่องปัจจัยยังชีพพื้นฐาน อยู่ในสภาพแวดล้อม

ที่ดี มีครอบครัวที่อบอุ่น มีงานทำ พึ่งตนเองได้ เลี้ยงครอบครัวได้ ไม่เป็นภาระ

ของสังคม ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีจิตอาสาในการปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม

รู้รักสามัคคี มีสายใยไมตรี มีจิตเอื้ออารีและเกื้อกูลกัน และที่สำคัญ คือ ต้องมี


“สำนึกร่วมแห่งการเป็นเจ้าของชุมชน” โดยเน้นการพัฒนาอย่างครอบคลุมทุกมิต

ทัง้ เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม คุณธรรม และจริยธรรม

ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็ง ผูเ้ ช่าพึง่ ตนเองได้
สำนักงานทรัพย์สินฯ ร่วมเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งโดยการส่งเสริม

ให้ ผู้ เ ช่ า พึ่ ง ตนเองได้ ด้ ว ยการจั ด “โครงการฝึ ก อบรมอาชี พ ” เพื่ อ เพิ่ ม โอกาส

เพิ่ ม ช่ อ งทางในการประกอบอาชี พ เสริ ม สร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ ต นเองและครอบครั ว

ส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบต่างๆ เช่น การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ เพื่อความ

เข้ ม แข็ ง และช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ภายในกลุ่ ม การจั ด ตั้ ง กลุ่ ม สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์

และให้ความรู้แก่ผู้เช่าเกี่ยวกับการออมเงิน เพื่อกระตุ้นให้ชาวชุมชนเห็นความสำคัญ

ของการออมเงิน อันเป็นการสร้างภูมคิ มุ้ กันเพือ่ รองรับเหตุการณ์ไม่คาดฝันในวันข้างหน้า

z ๑๐๙
สร้างสังคมแห่งความร่วมมือ
สำนักงานทรัพย์สินฯ สนับสนุนการจัดกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์

ของคนในชุมชน สร้างความสมัครสมานสามัคคี เอือ้ อาทร เพือ่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุข


ส่ ง เสริ ม การทำงานแบบมี ส่ ว นร่ ว มโดยเริ่ ม จากการปรั บ เปลี่ ย นมุ ม มองหรื อ ความคิ ด

ของชุมชนจากเดิมที่คุ้นเคยกับการรอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกมาเป็น

การพึง่ พาตนเอง โดยให้ชาวชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันแก้ไขปัญหา และร่วมเป็น


กำลังสำคัญในการพัฒนาชุมชน รวมทั้งช่วยเหลือเกื้อกูลกันทั้งภายในชุมชนและระหว่าง
ชุมชน ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมตามศักยภาพของชุมชน สร้างองค์ความรู

และจัดหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาชุมชนให้แก่ผู้นำชุมชนและสมาชิก เพื่อสร้างความรู

และความเข้าใจที่ถูกต้องในการพัฒนาชุมชน การบริหารจัดการทีมงาน และการทำงาน

ร่ ว มกั น เพื่ อ ร่ ว มกั น เป็ น กำลั ง สำคั ญ ในการพั ฒ นาชุ ม ชนของตนเองให้ มี ค วามมั่ น คง
ปลอดภัย เป็นระเบียบ น่าอยูอ่ าศัย และเอือ้ อำนวยให้เกิดคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ไม่เพียงเท่านัน้

ยังจั ดกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้า ง “จิตสำนึกร่วมแห่งการเป็น เจ้าของ” เช่ น โครงการ

Big Cleaning Day เป็นต้น และกิจกรรมที่เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชน

อีกมากมาย อันจะสร้างความสุข ความมัน่ คงให้คน สร้างความเข้มแข็งให้ชมุ ชน และสร้าง


สังคมทีอ่ ยูเ่ ย็นเป็นสุขอย่างยัง่ ยืน

สร้างสภาพแวดล้อมทีด่ ใี นการดำรงชีวติ
สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาวะของคนในชุ ม ชนให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง

เข้ า ถึ ง ปั จ จั ย ยั ง ชี พ พื้ น ฐาน อยู่ ใ นสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การมี สุ ข ภาพที่ ดี ทั้ ง ร่ า งกาย

และจิตใจ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน โดยการจัดอบรมอาสาสมัครป้องกัน


กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นเพื่อช่วยยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิต

อัคคีภัย เพื่อให้ชาวชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลชุมชนของตนเอง การดำเนินโครงการ พัฒนาศักยภาพของชาวชุมชนบนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ


บนซ้าย: การอบรมหลักสูตรการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “การก่อสร้าง
พื้นที่ปลอดภัย หรือ Safety Zone โดยร่วมมือกับกรุงเทพมหานคร สถานีตำรวจ

การขออนุญาตต่างๆ หลักอุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์”
และการไฟฟ้ า นครหลวง พั ฒ นาระบบป้ อ งกั น และปราบปรามอาชญากรรมให้ ม
ี ของชุมชนร่วมสามัคคี
ประสิทธิภาพ ป้องกันการแพร่ระบาดของอาชญากรรมและยาเสพติดเพื่อสร้างความอุ่นใจ บนขวา: โครงการจัดอบรมอาสาสมัครป้องกันอัคคีภัย ชุมชนน้อมเกล้า
มัน่ ใจ ให้แก่ผเู้ ช่าในพืน้ ที่ ล่าง: โครงการ Big Cleaning Day จัดขึ้นที่ชุมชนทรัพย์สินเก่า
ในซอยรามคำแหง ๓๙

z ๑๑๐
การส่งเสริมให้ชาวชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ
คือ เป้าหมายสำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาชุมชนบนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ
(ในภาพ: ชุมชนพลับพลา)
เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในชุมชน
สำนักงานทรัพย์สินฯ ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศของสังคมคุณธรรมในชุมชน

ด้วยการยกย่องสนับสนุนคนดีโดยมอบ “รางวัลบุคคลต้นแบบที่ดีเพื่อชุมชนที่ยั่งยืน”

แก่บุคคลที่มีจิตอาสาในการอุทิศตนทำงานเพื่อชุมชนและส่วนรวม การมอบโล่เกียรติคุณ

แก่ผู้เช่าดีเด่น เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ ส่งเสริมให้คนดีได้เป็นที่รู้จักและเป็นแบบอย่าง

อันดีงามในชุมชน
นอกจากนี้ เพื่ อ ปู ท างและเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ ชุ ม ชน
สำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จึ ง ให้ ค วามสำคั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง แก่ เ ด็ ก และเยาวชน คนรุ่ น ใหม่

ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชุมชน ตลอดจนการพัฒนาชาติในอนาคต โดยการ

จั ด ทำโครงการส่ ง เสริมพัฒนาศักยภาพและความรู้ค วามสามารถของเด็ ก ในทุ ก ช่ ว งวั ย

ตั้งแต่เด็กก่อนวัยเรียนไปจนถึงระดับอุดมศึกษา นับตั้งแต่การจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาเด็ก

ก่อนวัยเรียน” ขึน้ ในชุมชนบนพืน้ ทีข่ องสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ กว่า ๑๙ แห่ง เพือ่ ให้เด็ก

ได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้องใกล้ชิดโดยผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการอบรมมาเป็นพิเศษ จัดตั้ง
“โครงการกองทุนเพื่อการศึกษา” มอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กที่ยากจนหรือด้อยโอกาส

ในชุ ม ชนแต่ มี ค วามประพฤติ ดี ตั้ ง ใจเรี ย น และไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติ ด ตั้ ง แต่ ร ะดั บ

ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ไปจนถึงระดับอุดมศึกษาทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

และเพื่ อ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการที่ ค รบถ้ ว นในทุ ก ด้ า น นอกเหนื อ จากส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้

ในห้องเรียนแล้ว สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ยังสนับสนุน “การเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์จริง”


ด้วยการจัดกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่างๆ ทั้งการจัดตั้ง “เครือข่ายเยาวชนรักชุมชน”

เพือ่ เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรูแ้ ละมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง การจัดกิจกรรม


ทั ศ นศึ ก ษาตามสถานที่ ส ำคั ญ ต่ า งๆ การจั ด กิ จ กรรมเข้ า ค่ า ย “เปิ ด โลกการเรี ย นรู

กับสำนักงานทรัพย์สินฯ” “โครงการค่ายอาสาพัฒนา ตามโครงการพระราชดำริิ”

สำนักงานทรัพย์สินฯ มุ่ง “เปิดโลกแห่งการเรียนรู้” ให้กับเด็ก

รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมด้ า นการกี ฬ า ทั้ ง การแข่ ง ขั น กี ฬ าในชุ ม ชนและระหว่ า งชุ ม ชน

และเยาวชนในพื้นที่ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์หลากหลายรูปแบบ
การแข่งขันฟุตบอล โครงการแบดมินตัน โครงการ “สปอร์ต ซัมเมอร์ แคมป์” ฯลฯ
บน: หนูน้อยกำลังชมนิทรรศการจำลองวิถีชีวิตเกษตรกรไทย

ซึง่ นอกจากจะเป็นการเปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ ให้เด็กได้รบั ความรู้ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน


ในพิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี
และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์แล้ว กิจกรรมเหล่านี้ ยังเปิดโอกาสให้พวกเขาได้พบปะ หนึ่งในกิจกรรมของค่าย “เปิดโลกการเรียนรู้กับสำนักงานทรัพย์สินฯ”
ล่างซ้าย: เด็กๆ กำลังเล่น “อินเทอร์เน็ต” สื่อส่งเสริมการเรียนรู้
สังสรรค์และเชื่อมกระชับความสัมพันธ์กับเพื่อนใหม่ ได้เรียนรู้การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่น
สำคั ญ ในการเปิ ด โลกแห่ ง การเรี ย นรู้ ไ ร้ พ รมแดน ซึ่ ง จั ด เตรี ย มไว้

ในสังคม ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วยส่งผลให้พวกเขาเติบโตเป็นคนที่มีทั้ง “คุณภาพ”


ในห้องสมุดชุมชน
และ “คุ ณ ธรรม” มี จิ ต สำนึ ก ในหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบทั้ ง ต่ อ ตั ว เองและผู้ อื่ น
ล่างขวา: กิจกรรมของน้องๆ ระหว่างเข้าค่าย “เปิดโลกการเรียนรู้
กับสำนักงานทรัพย์สินฯ” ที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี
มีจติ สำนึกรักชุมชน และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติตอ่ ไปในอนาคต

z ๑๑๒
ใ นเวลานี้ แม้ โ ครงการพั ฒ นา
ต่างๆ ที่สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้ปูทาง
สร้ า งรากฐานไว้ แ ละริ เ ริ่ ม เพิ่ ม ขึ้ น ใหม่

จะยังไม่สามารถเห็นผลสำเร็จได้ในเร็ววัน
และไม่ อ าจสรุ ป ยื น ยั น ว่ า จะสร้ า งความ

เข้ ม แข็ ง มั่ น คง ให้ ค นและชุ ม ชนอย่ า ง

ยัง่ ยืนได้หรือไม่
แต่ สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ เชือ่ มัน่
เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ด้ ว ยเจตนารมณ์ อั น ดี

และความมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจจริ ง ที่ จ ะสร้ า งการ


พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที

แม้ ภ ายภาคหน้ า จะพานพบอุ ป สรรค

ปั ญ หาใดๆ ก็ พ ร้ อ มจะเรี ย นรู้ แ ละแก้ ไ ข


พร้ อ มที่ จ ะเอาชนะทุ ก อุ ป สรรคปั ญ หาได้
ด้วยจิตใจอัน “มัน่ พัฒนา”

น้องๆ ตัวแทนจากชุมชนบนพืน้ ทีข่ องสำนักงาน

ทรัพย์สนิ ฯ พร้อมใจกันใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกฝังจิตสำนึก

ด้านการอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม


ณ ป้อมพระสุเมรุ สวนสันติชยั ปราการ
อีกหนึง่ กิจกรรมในค่าย “เปิดโลกการเรียนรูก้ บั
สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ”
z ๑๑๓
นายวิสทุ ธ์
นางสาวจิรารัตน์ ลายกระ ธัมมรุจม
ิ าตา
อดีตผู้ได้รับทุนการศึกษา
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จากโครงการ
โรงเรียนวัดราชาธิวาส “กองทุนเพื่อการศึกษา”

จิรารัตน์ วัย ๑๕ ปี หนึ่งในเยาวชนที่ร่วมกิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชนของ วิสุทธ์ วัย ๒๓ ปี อดีตผู้ได้รับทุนการศึกษา

สำนักงานทรัพย์สินฯ ใน “โครงการค่ายอาสาพัฒนา ตามโครงการพระราชดำริ จากโครงการ “กองทุนเพื่อการศึกษา” ของสำนักงาน

เครื อ ข่ า ยเยาวชนรั ก ชุ ม ชน” ที่ จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ บอกเล่ า ถึ ง โอกาสและ


ทรัพย์สนิ ฯ กล่าวถึงความซาบซึ้งใจที่ได้รับทุนว่า
ความประทับใจในการได้ร่วมกิจกรรมว่า “ตั้งแต่จำความได้ สำนักงานทรัพย์สินฯ ไม่เคย
“สาเหตุ ที่ ห นู ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมนี้ น่ า จะเป็ น เพราะได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาจาก ทอดทิ้งครอบครัวผมเลย แม่ผมขายของในตลาดทรัพย์สินฯ
สำนักงานทรัพย์สินฯ มาตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ต่อเนื่องมาถึงตอนนี้ และ จังหวัดสงขลามานานแล้ว และตอนนี้ก็ยังขายอยู่ ทำให้ผม
เคยได้ร่วมกิจกรรมทัศนศึกษาที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี ตอนนั้นมีเจ้าหน้าที่ รู้สึกผูกพันกับสำนักงานทรัพย์สินฯ มาตั้งแต่เด็กๆ
ของสำนักงานทรัพย์สินฯ มาแจ้งหัวหน้าชุมชนข้างวัดสุคันธารามที่หนูอาศัยอยู่ ซึ่งหนูได้ “วั น หนึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ข องสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ

ลงชื่อไปร่วมกิจกรรมกับเพื่อนในชุมชนอีก ๒ คน ที่ค่ายพวกเราได้ชมสัตว์ ได้ทำกิจกรรม เข้ามาบอกแม่ว่ามีโครงการสนับสนุนทุนการศึกษาลูกแม่ค้า

เข้าฐานต่างๆ และได้วาดรูปความประทับใจลงบนเสื้อสำหรับใส่กลับบ้าน หนูวาดรูปยีราฟ ที่ขยันเรียนแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ให้ผมส่งข้อมูลไปขอทุน


และยังเก็บเสื้อตัวนั้นไว้ถึงทุกวันนี้ “นับเป็นความกรุณาอย่างสูงที่สำนักงานทรัพย์สินฯ
“หนูรู้สึกดีใจมากที่ได้ร่วมกิจกรรมของสำนักงานทรัพย์สินฯ อีกครั้งที่กองบิน ๕ พิ จ ารณาให้ ทุ น การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาแก่ ผ ม เพราะ
ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันที่ ๔ - ๕ พฤษภาคม
ฐานะครอบครัวของผมค่อนข้างยากจน ทั้งตัวผมและพี่สาว
พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ผ่านมา ซึ่งในคราวนี้ หนูได้ปลูกป่า ปล่อยกุ้ง และเข้าฐานทำกิจกรรม ต้องกู้เงินจากกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษามาตั้งแต่เรียนระดับ
ต่างๆ เป็นกิจกรรมที่ให้ทั้งความรู้และความสนุกสนานเพลิดเพลิน หนูรู้สึกภูมิใจมากที่ได้ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายซึ่ ง ก็ ยั ง ไม่ เ พี ย งพอกั บ ค่ า ใช้ จ่ า ย

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยอนุรักษ์ผืนป่าไว้ และได้เรียนรู้ว่าการปลูกป่าไม้ไม่ใช่เรื่อง
ทีจ่ ำเป็น
ยากเลย เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถทำได้ ขอเพียงแค่มีความมุ่งมั่นตั้งใจและได้ลงมือทำจริงๆ “ผมเพิ่ ง รั บ ปริ ญ ญาไปเมื่ อ เดื อ นกั น ยายน พ.ศ.
“หนูอยากให้สำนักงานทรัพย์สินฯ มีโครงการในลักษณะนี้ต่อไปเรื่อยๆ เพราะ
๒๕๕๑ ที่ผ่านมา และได้ทำงานในสาขาที่เรียนจบมาได้
ไม่ เ พี ย งปลู ก ฝั ง ให้ เ ยาวชนมี จิ ต สำนึ ก ในเรื่ อ งของการอนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ แต่ ยั ง ช่ ว ย
หลายเดือนแล้ว ต้องขอขอบพระคุณสำนักงานทรัพย์สินฯ
เปิดโลกทัศน์ ช่วยเสริมสร้างความรู้นอกเหนือจากที่ได้รับในห้องเรียน ได้เพื่อนใหม่ๆ
ที่ให้โอกาสผมมาไกลถึงวันนี้ ซึ่งในอนาคตผมหวังว่าจะได้
จากหลายจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ และที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด คื อ ได้ ใ ช้ เ วลาว่ า งอย่ า งสร้ า งสรรค์
ส่ ง เงิ น ไปช่ ว ยเหลื อ ทางบ้ า น และถ้ า มี โ อกาสผมก็ อ ยาก

โดยทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ต่อสังคม และประเทศชาติ” ทำประโยชน์ตอบแทนสังคมเช่นกัน”


z ๑๑๔
เหล่าบรรดาศิลปินน้อยกำลังขะมักเขม้นกับการวาดภาพตามจินตนาการ
อีกหนึง่ กิจกรรมสร้างสรรค์ในค่าย “เปิดโลกการเรียนรูก้ บั สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ”
ทีจ่ ดั ขึน้ ณ สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ ๒ - ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑
สำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนมากทีส่ ดุ
โดยให้การส่งเสริมกิจกรรมทีเ่ สริมสร้างทัง้ ความรูแ้ ละคุณธรรม เพราะตระหนักดีวา่
พวกเขา คือ พลังสำคัญในการพัฒนาความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชนในอนาคต
(ในภาพ: เด็กๆ ระหว่างเยีย่ มชมอาคารทีท่ ำการขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)
อีกหนึง่ อาคารอนุรกั ษ์ของสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ ในย่านถนนพระอาทิตย์)
รองศาสตราจารย์ ดร. จุรี วิจติ รวาทการ
ประธานกรรมการศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ผู้เชี่ยวชาญด้านงานพัฒนาชุมชน

“ปัญหาสำคัญของการดำเนินงานด้านการพัฒนาชุมชนของสำนักงานทรัพย์สินฯ “สิ่งที่ดิฉันมองว่าเป็นปัญหาที่สุดในด้านการพัฒนา
เมื่อ ๒ – ๓ ปีก่อน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ที่อาศัยในชุมชนบนที่ดินของสำนักงาน ชุมชนนั้น ไม่ใช่ปัญหาทางด้านกายภาพ แต่อยู่ที่การพัฒนา
ทรัพย์สินฯ ยังไม่รับทราบบทบาทด้านนี้มากนัก เนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ “คน” ซึ่ ง เป็ น ต้ น ตอของปั ญ หาทั้ ง หมด และโดยธรรมชาติ

ของสำนักงานทรัพย์สินฯ มีลักษณะต่างคนต่างทำ ขาดการประสานงานระหว่างกันเอง คนส่ ว นใหญ่ ก็ มั ก จะเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นตน และเรื่ อ ง

โดยเฉพาะฝ่ายที่เก็บค่าเช่ากับฝ่ายที่เข้าไปจัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ ซึ่งคนในชุมชนมักมอง ผลประโยชน์นกี้ เ็ ป็นจุดเริม่ ต้นทีน่ ำไปสูป่ ญ


ั หาอืน่ ๆ อีกมากมาย
เห็นบทบาทแรกชัดเจนมากกว่า เพราะกิจกรรมด้านสังคมที่เคยจัดส่วนใหญ่เป็นกิจกรรม ทั้ ง ปั ญ หาอาชญากรรม การไม่ ดู แ ลรั ก ษาสาธารณสมบั ต

แบบเป็นครั้งคราว มิได้มีลักษณะของการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในระยะยาว ส่วนรวม ความมักง่าย ความไม่เป็นระเบียบ การเรียกร้องสิทธิ
“นอกจากนี้ ยังพบปัญหาการปล่อยเช่าช่วงของผู้เช่าเดิมแก่ผู้เช่าใหม่ ซึ่งไม่เพียง ผลประโยชน์อย่างไม่รจู้ กั พอ ซึง่ ดิฉนั คิดว่าสำนักงานทรัพย์สนิ ฯ
ไม่เป็นธรรมอย่างยิ่งต่อสำนักงานทรัพย์สินฯ แต่ยังส่งผลให้ผู้เข้าอยู่ใหม่ขาดความรู้สึก คงทราบถึงปัญหาเหล่านีด้ แี ละคงมีประสบการณ์มาแล้ว
หวงแหนหรือผูกพันกับชุมชน ขาดความรักในชุมชน เมื่อสำนักงานทรัพย์สินฯ เข้าไป
“การดำเนินโครงการพัฒนาชุมชนใดๆ จึงต้องศึกษา
จั ด กิ จ กรรมใดๆ ในชุ ม ชน คนเหล่ า นี้ ก็ มั ก ไม่ เ ห็ น ความสำคั ญ และไม่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ
ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงวิถีชีวิต ทัศนคติ และค่านิยมของ
ที่จะเข้าร่วมกิจกรรม คนในชุมชนนั้นๆ พร้อมทั้งต้องศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์
“ในฐานะที่ทำงานด้านการพัฒนาชุมชนมาโดยตลอด ที่ผ่านมา ดิฉันก็ได้เห็น ในมิติต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันอย่างสลับซับซ้อนเสียก่อน จึงจะ

ความพยายามและความตั้งใจจริง ตลอดจนพัฒนาการของสำนักงานทรัพย์สินฯ ในการ สามารถเข้าไปพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน


แก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ตั้งแต่การจ้างผู้เชี่ยวชาญ ได้อย่างตรงจุด
เฉพาะด้ า นให้ เ ข้ า มาทำการศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาชุ ม ชน และได้ มี ก ารนำ
“ปั จ จุ บั น ดิ ฉั น เห็ น ความพยายามของสำนั ก งาน
ผลการศึกษาดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในชุมชนจริง โดยเห็นผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมแล้ว
ทรั พ ย์ สิ น ฯ ในการยกระดั บ และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต คน

หลายโครงการ และชุ ม ชนโดยทำอย่ า งครบวงจรมากขึ้ น ทั้ ง ยั ง ส่ ง เสริ ม

“นอกจากนี้ สำนักงานทรัพย์สินฯ ยังได้มีการปรับโครงสร้างภายใน ปรับเปลี่ยน ให้ ค นในชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการคิ ด แก้ ปั ญ หาของตนเอง

นโยบาย และมี ก ารจั ด สรรบุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเข้ า มาทำงานด้ า นชุ ม ชนอย่ า ง
โดยสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ ทำหน้ า ที่ เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย งในด้ า นทุ น

ต่อเนื่อง ซึ่งนับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี แต่เท่านี้ก็อาจจะยังไม่เพียงพอและถือเป็นเรื่องท้าทาย ความคิด และองค์ความรู้ รวมถึงการส่งเสริมกระบวนการ


อย่ า งยิ่ ง เพราะสำนั ก งานทรั พ ย์ สิ น ฯ จะต้ อ งปรั บ ตั ว และปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารทำงาน
ปลู ก ฝั ง จิ ต สำนึ ก เรื่ อ งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย ม

ให้ทันสมัยอยู่เสมอเพื่อให้ทันกับยุคที่สังคมมีพลวัตสูงอย่างเช่นในปัจจุบัน โดยจะต้อง อันดีงามแก่คนในชุมชน ซึ่งดิฉันคิดว่าน่าจะเป็นแนวทางที่ดี

สามารถประสานประโยชน์ทุกฝ่ายได้อย่างลงตัวและตั้งอยู่บนความพอเหมาะ พอดี ที่จะทำให้การพัฒนาชุมชนบนพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินฯ


เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนได้ในที่สุด”
z ๑๑๗
การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าและประโยชน์สขุ สูส่ งั คมส่วนรวม
มิใช่หน้าทีข่ องใครคนใดคนหนึง่ หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึง่
ยิง่ สังคมมีความสลับซับซ้อนมากเพียงใด
ก็ยงิ่ เป็นเรือ่ ง “ใหญ่” และ “ยาก”
เกินกว่ากำลังความสามารถทีจ่ ะทำโดยลำพัง
แต่หากทุกฝ่ายร่วมมือ ร่วมใจ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ตามกำลังความสามารถทีม่ ี
สังคมนัน้ ย่อมเต็มไปด้วยความเจริญงอกงาม ความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู่

แปลงทดลองปลูกข้าว ในศูนย์วจิ ยั ข้าว จังหวัดปทุมธานี

You might also like