You are on page 1of 27

การอ่านและพิ จารณวรรณคดีเรือง

สามัคคีเฉทคําฉันท์
นางสาวณัฐวดี ปญจอานทท์ ม.5/8 เลขที 13 (มินท์)
นางสาวอิงตะวัน ไตรตระกูลสินธ์ุ ม.5/8 เลขที 19 (อิง)
นายจิรัฐโชติ ตันกันภัย ม.5/8 เลขที 20 (ไอซ์)
นายณัฐนนท์ วีนะกุล ม.5/8 เลขที 21 (นนท์)
บทที 1
การอ่านและพิ จารณาเนือหาและกลวิธี
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
เรืองย่อ
กษั ตริย์ในสมัยโบราณนามว่าพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธมีอํามาตย์คนสนิทชือ
วัสสการพราหมณ์ พระเจ้าอชาตศัตรูมีความคิดทีจะยึดแคว้นวัชชี ซึงมีกษั ตริย์ลิจฉวี
ครอบครองแต่แคว้นวัชชีมีการปกครองกันด้วยความสามัคคีพระเจ้าอชาตศัตรูจึงปรึกษา
กับวัสสการพราหมณ์เพือหาวิธีทีจะทําลายความสามัคคีของเหล่ากษั ตริย์ลิจฉวีโดย
การเเกล้งเนรเทศวัสสการพราหมณ์ออกจากแคว้นมคธเดินทางไปยังเมืองเว สาลี แล้ว
ทําอุบายจนได้เข้าเฝากษั ตริย์ลิจฉวีและในทีสุ ดได้เปนครูสอนภาษาและศิลปวิทยาแก่ราช
กุมารทังหลายเมือได้โอกาสก็ทําอุบายให้ศิษย์ทะเลาะกันลามไปถึงพ่อของตนซึงเปน
กษั ตริย์จึงเกิดการแตกร้าวระหว่างกษั ตริย์ไปด้วยจนเกิดการวิวาทและเปนเหตุทําให้
ความสามัคคีในหมู่กษั ตริย์ลิจฉวีถูกทําลายลง พระเจ้าอชาตศัตรูจึงได้ยกทัพสู่ เมือง
เวสาลี เเละสามารถปราบแคว้นวัชชีลงได้อย่างง่ายดาย
โครงเรือง
กษั ตริย์องค์หนึงและ
มหาอํามาตย์ใช้เล่ห์กลอุบาย
เพือชิงเมือง โดยการทําลาย
ความสามัคคีของเหล่ากษั ตริย์
ทีปกครองแคว้นทีต้องการยึด
ตัวละคร
พระเจ้าอชาตศัตรู
● กษั ตริย์แห่งแคว้นมคธ
● ต้องการทีจะขยายอาณาจักร
● ทรงมีความคิดรอบคอบ คิดจะยึดแคว้นวัชชีโดย
การทําลายความสามัคคีในแคว้นนัน
วัสสการพราหมณ์

● มหาอํามาตย์ของพระเจ้าอชาตศัตรู
● มีความเฉลียวฉลาดอย่างมาก เพราะว่าเปนผู้ทีวาง
แผนการทําลายความสามัคคี
● รักชาติบ้านเมืองและมีความอดทนเปนอย่างมาก
ยอมเสี ยสละเวลาประมาณสามปไปอยู่ทีแคว้นวัชชี
● มีความรอบคอบและไหวพริบทีดีเยียม
เหล่ากษัตริย์ลิจฉวี

● กษั ตริย์แห่งแคว้นวัชชี
● ตังมันในความสามัคคี ปกครองแคว้นวัชชีด้วยสามัคคีธรรม
● ทรงขาดวิจารณญาณ เชือคํายุแหย่ของวัสสการพราหมณ์โดยไม่ไตร่ตรอง
● มีทิฐิสูง แม้กระทังในตอนทีบ้านเมืองกําลังจะโดนบุกรุก เหล่ากษั ตริย์ก็ยังไม่สนใจใยดี
ฉากท้องเรือง
● สามัคคีเภทคําฉันท์เปนเรืองทีแต่งขึนในสมัย
รัชกาลที ๖ แต่ดําเนินเรืองโดยอิง
ประวัติศาสตร์จากพระไตรปฎกในสมัย
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธ
● ฉากทีวัสสการพราหมณ์กําลังยัวยุปนหัวเหล่า
พระโอรสของกษั ตริย์ลิจฉวี จนทําให้โอรส
ทังหมด เกิดการทะเลาะเบาะแว้ง ไม่พอใจ
จากความสั มพันธ์ทีเคยรักกันดีก็ ต้องร้าวฉาน
เเละตัดขาดสิ นในทีสุ ด
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
ตัวอย่าง เชิญเทอญท่านต้อง ขัดข้องข้อไหน
ปรกษาปราศรัย ตามเรองตามที
เมือมีข่าวศึกแพร่ไปจนรู้ถึงชาวเมือง ส่วนเราเล่าใช่ เปนใหญ่ยังมี
เวสาลี จึงมีเรียกประชุมเกียวกับการ ใจอย่างผู้ภี รุ กปราศอาจหาญ
รับมือ เเต่กลับไม่มีกษั ตริย์องค์ใดมา ต่างทรงสําแดง ความแขงอํานาจ
เลย บทเจรจาต่อไปนีเเสดงให้เห็นถึง สามัคคีขาด แก่งแย่งโดยมาน
ความไม่สามัคคี ขีขลาด เเละเพิกเฉย ภูมิศลิจฉว วัชชีรัฐบาล
บ่ ชุมนุมสมาน แม้แต่สักองค์ฯ
ต่อหน้าที
แก่นเรือง
“ความสามัคคีนันสํ าคัญอย่างยิง
ในการอยู่ร่วมกัน”
เหล่ากษั ตริย์ลิจฉวีถูกยุแยงให้แตกสามัคคี
โดยวัสสการพราหมณ์ฝงพระเจ้าอชาตศัตรู
ทําให้แคว้นวัชชีถูกยึดในทีสุ ด เหตุการณ์นี
ในเรืองแสดงให้เห็นถึงโทษและหายนะของ
การแตกสามัคคี และสามัคคีธรรมนันเปน
สิ งทีสํ าคัญอย่างยิง
บทที 2
การอ่านและพิ จารณาการใช้ภาษา
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคํา
● มีการเล่นเสี ยงพยัญชนะคําว่า “คะเนกล -
คะนึงการ” เเละ “ระวังเหือด - ระเเวงหาย”

● มีการเล่นเสี ยงสระคําว่า “ประมาณ - กาล” กับ “อนุกรม - นิยม”

● มีการเล่นเสี ยงหนักเบา คําว่า “อัน” เปนเสี ยงหนักเบา “รา” เปนเสี ยงเบา


● กวียังมีการเลือกสรรคําง่ายๆ ในการดําเนิน
เรือง บรรยายและพรรณนาได้อย่างกระชับ
เพือให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ในเวลาอันสั นแต่
เห็นภาพชัดเจน ตัวอย่างเช่น
การเรียบเรียงคํา
● มีการเรียบเรียง
คําทีเข้าใจง่ายเเละใช้คําทีผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่าย
เช่น ตอนทีพระเจ้าอชาตศัตรูกําลังยกทัพมาบุก แต่ไม่มี
กษั ตริย์ลิจฉวีองค์ใดมาประชุมเลย
● ผู้ประพันธ์ยังมีการ
เรียบเรียงประโยคไป
ตามลําดับเพือให้ผู้อ่าน
ติดตามลําดับของ
เหตุการณ์ได้ง่ายยิงขึน
แต่ตัดบทหรือคลาย
ความเข้มข้นของเรืองใน
ตอนท้ายอย่างฉับพลัน
ดังทีปรากฏใน
บทประพันธ์นี
● นอกจากนียังมีการเรียงประโยคทีมีความ
สํ าคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป ดังใน
ตัวอย่างต่อไปนี ประโยคเหล่านีมีความหมาย
ไปในเชิงลบเหมือนกันและมีความสํ าคัญเท่าๆ
กัน
การใช้โวหาร
บุคคลวัต

● ในตัวอย่างต่อไปนี ผู้ประพันธ์ได้
สมมุติกลองให้มีกิริยาอาการเหมือน
มนุษย์คือการขานเรียก ซึงในความ
เปนจริงแล้วนันกลองไม่สามารถขาน
ได้
อุปมาโวหาร

● ผู้ประพันธ์ยังมีการใช้
อุปมาโวหารเปรียบเปรย
เปรียบเทียบคนขีขลาดทียัง
ไม่ทันเห็นธงของศัตรูก็หนีเปน
เหมือนอีกาทีกลัวพรานธนู ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี
อุปลักษณ์

● มีการใช้อุปลักษณ์
เปรียบเทียบการแตก
สามัคคีของกษั ตริย์ลิจ
ฉวีเปนลูกข่าง เช่น
อติพจน์

● ใช้อติพจน์ โดยการ
ประพันธ์ว่าผู้คนหวาด
กลัวจนหน้าซีดเลือด
หมดตัว ซึงเปนการ
กล่าวเกินจริงให้ผู้อ่าน
คล้อยตามและเห็น
ภาพได้ง่ายดาย
นามนัย

● ใช้นามนัย โดยการให้กําของกิงไม้
หมายถึงความสามัคคี เนืองจาก
ลักษณะเด่นของกิงไม้ทีเปนกํานันคือ
ทําให้แตกหักได้ยากมากจนแทบจะ
เปนไปไม่ได้ ซึงแปลว่าหากทุกคน
ร่วมมือกันสามัคคีและอยู่ด้วยกัน
เหมือนกําของกิงไม้ ก็ไม่มีใครทีจะ
ทําลายความสามัคคีได้
บทที 3
การอ่านและพิ จารณาประโยชน์หรือคุณค่า
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่าด้านอารมณ์
● ทําให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ตืนเต้น ในตอนทีพระเจ้า
อชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี มีการบรรยายให้
เห็นภาพและทําให้ผู้อ่านรู้สึกลุ้นและหวาดกลัว
ตามไปด้วย
● สื อถึงอารมณ์โกรธในตอนทีพระเจ้าอชาตศัตรู
แสร้งบริภาษวัสสการพราหมณ์ เมือวัสสการ
พราหมณ์ทัดทานเรืองการศึก มีการใช้ภาษาที
ดุดันและแสดงโทสะได้อย่างเด่นชัด
คุณค่าด้านคุณธรรม
แสดงให้เห็นถึงความสํ าคัญของความสามัคคีซึงเปน
หนึงในคุณธรรมพืนฐาน 8 ประการ การแตกความ
สามัคคีของเหล่ากษั ตริย์ลิจฉวีทําให้พระเจ้าอชาต
ศัตรูสามารถยึดเมืองได้สําเร็จ จุดจบของแคว้นวัชชี
แสดงให้เห็นถึงโทษของการแตกความสามัคคีและ
ทําให้ผู้อ่านเข้าใจความสํ าคัญของสามัคคีธรรมมาก
ยิงขึน
คุณค่าด้านวรรณศิลป
● มีความงดงามทางวรรณศิลป
○ มีการเล่นสั มผัส ทําให้มีเสี ยงทีไพเราะ
○ มีการใช้โวหารภาพพจน์มากมาย
○ เรียงเรียงคําได้เหมาะสม
● มีการเลือกฉันท์ชนิดต่างๆ มาใช้สลับกันได้
อย่างเหมาะสม ทําให้ผู้อ่านได้รู้จักการใช้ฉันท์ที
เหมาะสม
○ มีฉันท์ถึงสิ บเก้าชนิดในวรรณคดีนี
คุณค่าด้านสั งคม
● แสดงให้เห็นถึงความสํ าคัญของความสามัคคีใน
สั งคม หากสั งคมนันไม่มีความสามัคคีก็จะทําให้เกิด
การแตกแยกและก่อให้เกิดปญหามากมายตามมา
เปนได้
● ให้แนวคิดมากมายในการดําเนินชีวิตในสั งคม
○ ใช้สติปญญาให้เกิดผล
○ การขาดวิจารณญาณอาจนําไปสู่ การสู ญเสี ย
อย่างยิงใหญ่ได้

You might also like