You are on page 1of 29

สามัคคีเภทคําฉันท

เสนอ
อาจารยพนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ
1
การอานและพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
1.1 เนื้อเรื่องยอ
พระเจาอชาตศัตรูประสงคที่จะขยายอาณาจักร เเควนที่ทานหมายตาคือเเค
วนวัชชีของเหลากษัตริยลิจฉวีผูยึดมั่นในอปริหานิยธรรรม โดนเนนความสามัคคี
เปนหลัก พระเจาอชาตศัตรูจึงทรงปรึกษาวัสสการพรามหมณ ผูรอบรูศิลปศาสตร
มีสติปญญาที่เฉียบเเหลม ใหทรงใชอุบายในการตีเเควนวัชชี โดยวัสสการพราม
หมณอาสาเปนไสศึก ยุยงใหเเยกสามัคคี พระเจาอชาตศัตรูทรงเห็นชอบ โดยเริ่ม
จากเนรเทศวัสสการพรามหมณออกนอกเมืองเปนอยางเเรก จากนั้นก็เขารับ
ราชการที่เมืองเวสาลี วัสสการพราหมณโนมนาวใจใหกษัตริยทรงไวใจ เเละ
ดําเนินการตามอุบายขั้นตอไปโดยออกอุบายใหกุมารเขาใจผิดวาพระกุมารอื่นนํา
ปมดอยไปทําไหเสียชื่อ ทําใหเกิดความขุนเคืองไปทั่วเหลากษัตริย เมื่อ 3 ปผานไป
ความสามัคคีในเหลากษัตรยก็สูญสิ้น ผลสุดทายก็คือเมื่อกองทัพของเเควนมคธมา
ถึงประตูเมืองก็ไมมีใครคิดตอสูปกปองทําใหพระเจาอชาตศัตรูสามารถยึดครองเเค
วนวัชชีเปนอันสําเร็จ
1.2 โครงเรื่อง
อปริหานิยธรรรม หรือความสามัคคี เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งของ
กษัตริยในการปกครองประเทศชาติบานเมือง เพราะศัตรูยากที่จะเอาชนะ
เเละตองใชปญญาอยางมาก ถาหากขาดความสามัคคีเมื่อไหรความเปน
หนึ่งอันเดียวจะลมสลายเเละจะพายเเพในที่สุด
1.3 ตัวละคร

- พระเจาอชาตศัตรู ผูที่ปกครองเเควนมคธ
- เหลากษัตริยลิจฉวี เปนเหลาที่ปกครองเเควนวัช
ชี ยึดมั่นในอปรินิยมธรรม ซึ่งเนนความสามัคคี
เปนหลัก การทําสงครามกับเเควนวัชชีนั้นยาก
ตองใชปญญาไมใชกําลัง
- วัสสการพรามหมณ เปนผูรอบรูศิลปศาสตร มี
สติปญญาที่เฉียบเเหลม เเละเปนที่ไววางใจจาก
ฝายศัตรู
1.4 ฉากทองเรื่อง

- ทองเรื่องมาจากพระไตรปฎกในสมัยของพระเจาอชาตศัตรูแหงแควน
มคธ
- มีการอางอิงพระวัติศาสตรสมัยพุทธกาล
- แควนมคธ แควนวัชชี และหองสวนตัว
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
พราหมณครูรูสังเกต ตระหนักเหตุถนัดครัน
ราชาวัชชีสรร พจักสูพินาศสม
ยินดีบัดนี้กิจ จะสัมฤทธิ์มนารมณ
เริ่มมาดวยปรากรม และอุตสาหแหงตน
ใหลองตีกลองนัด ประชุมขัตติยมณฑล
เชิญซึ่งสํ่าสากล กษัตริยสูสภาคาร

พรามหมณวัสสการผูซึ่งทําหนาที่เปนอาจารยของพระกุมารของเหลา
กษัตริยแหงแควนวัชชีสังเกตเห็นวาเหลากษัตริยเริ่มแตกความสามัคคี จึง
มีความยินดีที่แผนการของตนเองประสบผลสําเร็จหลังจากที่ตนเองได
อดทนความยากลําบากมา 3 ป
1.6 แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
- การแตกความสามัคคี ซึ่งนําพาหมูคณะไปสูความหายนะ
- การใชสติปญญาในการเอาชนะศัตรูโดยไมเสียเลือดเนื้อ
- การรูจักเลือกใชบุคคลใหเหมาะสมกับงานจะทําใหงานสําเร็จ ไปได
ดวยดี
- ความจงรักภักดีตอนายของตนเอง
2
การอานและพิจารณการใช
ภาษาในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
1. การสรรคํา
1.1 การเลือกใชคําถูกตองตามความหมายที่ตองการ
ผูเขียนมีการเลือกสรรคําที่หลากหลายเเตมีความหมายเหมือนกัน หรือคํา
ไวพจน เพื่อใหเกิดความไมซํ้าซากเเคคําเดิม ไดเเก คําวา ทิช ซึ่งหมายถึง
พราหมณ ไดใชคําวา ทิชาจารย ทวิชงค ทิชงค ทวิช ทิช เชน
ชะรอยวาทิชาจารย ธ คิดอานกะทานเปน
รหัสเหตุประเภทเห็น ละเเนชัดถนัดความ

ทิชงคเจาะจงเจตน กลหเหตุยุยงเสริม
กระหนํ่าเเละซํ้าเติม นฤพัทธกอการณ

ทวิชเเถลงวา พระกุมารโนนขาน
ยุบลกะตูกาล เฉพาะอยูกะกันสอง
1.1 การเลือกใชคําถูกตองตามความหมายที่ตองการ
นอกจากนี้ ผูเเตงยังเลือกคําที่มีความหมายวา พระมหากษัตริย มาใชใน
การประพันธเมื่อกลาวถึงพระเจาเเผนดิน โดยใชคําวา ขัตติย ราช ภูมิศ
ภูธร ขัตติยราช ภูบาล ภูบดีราช ภูว เชน
กุมารลิจฉวีขัตติย ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขากระทําคือ ประดุจคําพระอาจารย
วัชชีภูมผ
ี อง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไทไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป
ภูธร ธ สังเกต พิเคราะหเหตุ ธ ธานี
เเหงราชวัชชี ขณะเศิกประชิดเเดน
อันภูบดีรา ชอชาตศัตรู
ไดลิจฉวีภู วประเทศสะดวกดี
1.2 การเลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคล
ในเรืเนื
่อ่องงจากเนื้อเรื่องเเละตัวละครของสามัคคีเภทคําฉันทเกี่ยวกับพระมหา
กษัตริย ผูเเตงไดเลือกใชคําราชาศัพทหรือคําที◌ี◌่มีความสละสลวยมา
ประพันธเพื่อใหมีความเหมาะสมกับฐานะของพระราชาเเทนที่จะใชคํา
ธรรมดาของสามัญชน ไดเเก เสด็จ ดําริ ดํารัส เเละใชคําวา ธ เเปลวาทาน
ซึ่งเปนสรรพนามที่ใชไดเเตกับพระมหากษัตริยเพียงผูเดียว
ควรบริบาล พระทวารมั่น
ตานปะทะกัน อริกอนพอ
ขัตติยรา ชสภารอ
ดําริจะขอ วรโองการ
ราชาลิจฉวี ไปมีสักองค
อันนึกจํานง เพื่อจักเสด็จไป
ตางองคดํารัส เรียกนัดทําไม
ใครเปนใหญใคร กลาหาญเห็นดี
1.3 การเลือกใชคําใหเหมาะสมแกลักษณะของคําประพันธ
กวีใชฉันทที่สามารถถายทอดอารมณของเรื่องเเละสรรคําที่สอดคลองกับ
ลักษณะของฉันทประเภทนั้น เชน
ขาวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมูผูคน ชาวเวสาลี
แทบทุกถิ่นหมด ชนบทบูรี
อกสั่นขวัญหนี หวาดกลัวทั่วไป
ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน
ผูเเตงใชวิชชุมมาลา ฉันท 8 ซึ่งเปนฉันทที่มีทํานองรวดเร็ว ประกอบดวย
คําเสียงหนักทั้งหมด ทําใหอานเปนเสียงสั้นเเละรวดเร็ว เเละใชคําที่กลาว
ถึงอารมณของผูคนที่ตื่นตกใจ เชน อกสั่นขวัญหนี, หวาดกลัว, ตื่นตาหนา
1.4 การเลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียง
- คําเลียนเสียง
ผูเเตงไดมีการเลียนเสียงคําพูดของคนเพื่อเเสดงอารมณเเละการกระทํา
ของตัวละครเเทน เชน
กุมารลิจฉวีขัตติย ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขากระทําคือ ประดุจคําพระอาจารย
เเละบางก็พูดวา นะเเนะขาสดับตาม
ยุบลระบิลความ พจเเจงกระจายมา
เเละบางก็กลาววา นะเเนะขาจะขอถาม
เพราะทราบคดีตาม วจลือระบือมา
จากคําประพันธขางตนผูเเตงใชคําวา อออือ เพื่อเลียนเสียงคําพูดของคน
ที่ใชเวลาตอบรับ เเละใชคําวา นะเเนะ เพื่อเลียนเสียงที่เเสดงถึงการถาม
คําถาม
- คําที่เลนเสียงสัมผัส
มีการเลนเสียงพยัญชนะเเละเสียงสระที่ทําใหเกิดเสียงสัมผัสใน เชน
เเตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม
ทีละนอยตาม ณ เหตุผล
ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด
การเลนเสียงพยัญชนะ คือ ปาย-ปาม, ฟน-เฝอ เเละสระ คือ ราว-กราว,
เผือ-เชื่อ, วิเคราะห-เสาะ
ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระเเวงหาย
การเลนเสียงพยัญชนะ คือ คะเนกล-คะนึงการ, ระวังเหือด-ระวังหาย เเละ
สระ คือ ชาติ-ฉลาด
ก็เทานั้น ธ เชิญให นิวัตในมิชานาน
ประสิทธิ์ศิลปประศาสนสาร สมัยเลิกลุเวลา
- คําที่เลนเสียงหนักเบา
กวีใชคําประพันธประเภทฉันทหลายชนิดใหเหมาะสมกับเรื่อง เเละมีการ
เลนเสียงหนักเบาเปนจังหวะสงผลใหอานเเลวรูสึกสนุก เชน
ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม
หนึ่ง ณ นิยม ทานทวิชงค
เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง
เชิญวรองค เอกกุมาร
เธอจรตาม พราหมณไป
โดยเฉพาะใน หองรหุฐาน
จึ่งพฤฒิถาม ความพิสดา
ขอ ธ ประทาน โทษะและไข
จากบทขางตน ผูเเตงใชมาณวกฉันท 8 ซึ่งมีฉันทลักษณการวางคําครุ ลหุ
เเบบสลับกันทําใหมีการบรรยายเรื่องที่รวดเร็ว เวลาอานรูสึกเปนจังหวะ
ผาดโผน
- คําพองเสียงและคําซํ้า
ครั้นทรงพระปรารภ ธุระจบ ธ จึ่งบัญ
ชานายนิกายสรร พทเเกลวทหารหาญ
คําพองเสียง คือ ทหารเเละหาญ ซึ่งอานวา หาน เหมือนกันโดย ทหาร
หมายถึง ผูมีหนาที่สูรบปองกันประเทศ สวนหาญ หมายถึง กลา เกง
จะเเนมเิ เนเหลือ พิเคราะหเชื่อเพราะยากยล
ณ ที่ บ มีคน ธ ก็ควรขยายความ
จะจริงมิจริงเหลือ มนเชื่อเพราะไปเห็น
ผิขอ บ ลําเค็ญ ธ ก็ควรขยายความ
ผูเเตงซํ้าคําวา เเนเเละจริง เพื่อเนนอารมณเเละคําพูดของตัวละครที่
ตองการถามคําถามถึงความเเนใจเละความจริง นอกจากนี้ยังซํ้าประโยค
ธ ก็ควรขยายความ เพื่อยํ้าวาไมวาสิ่งที่ไดยินมาจะจริงหรือไมก็ขอใหเลา
มาเถิด
2. การเรียบเรียงคํา
2.1 การเรียงขอความที่บรรจุสารสําคัญไวทายสุด
การเรียบเรียงเนื้อหาของสามัคคีเภทคําฉันทมีลักษณะคลายคลึงกับ
นิทานเเละความเรียงทั่วไป กลาวคือ มีการเลาเรื่องเปนลําดับเเรกเเลวคอย
กลาวถึงขอคิดของเรื่องซึ่งเปนจุดประสงคของการเเตงเเละสารสําคัญที่ผู
ประพันธตองการสื่อถึงผูอานเปนลําดับสุดทาย
ลักษณะการจัดเรื่องดังกลาวมีจุดประสงคเพื่อใหผูอานไดเห็นตัวอยาง
จากเรื่องที่อานเเละตระหนักถึงขอคิดที่ได ในสามัคคีเภทคําฉันท ผูอานจะ
ไดเห็นการประพฤติตนของกษัตริยลิจฉวีที่เเตกเเยกไรความสามัคคีไมมี
ใครใสใจบานเมืองซึ่งสงผลใหพระเจาอชาตศัตรูตีเมืองวัชชีไดสําเร็จ เเละ
ไดขอคิดจากการเหตุการณวา หากไรซึ่งความสามัคคีในหมูคณะก็จะสง
ผลตอสังคมสวนรวม เเละไมสามารถทํากิจสําเร็จ
3. การใชโวหาร
3.1 อุปมา
เปรียบเทียบกษัตริยลิจฉวีที่เคยเปนตัวอยางของหมูเหลาที่มีความ
สามัคคีดุจกิ่งไมหลายกิ่งที่เมื่อรวมกันเปนกําเเลวยากที่ใครจะหักทําลาย
ได ดังคําประพันธที่วา
เเมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง
มัดกํากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน
เปรียบเทียบโดยนัยวาวัสสการพราหมณที่สนุกกับการยุเเหยใหหษัตริยลิจ
ฉวีเเตกความสามัคคีวาเหมือนเด็กที่สนุกกับการขวางลูกขาง ดังคํา
ประพันธที่วา
ลูกขางประดาทา รกกาลขวางไป
หมุนเลนสนุกไฉน ดุจกันฉะนั้นหนอ
3.2 อติพจน
กลาวเกินจริงวาขาราชการทั้งหลายตีกลองสัญญาณเสียงดังรุนเเรงมาก
ราวกับกลองจะพัง
ทรงตริไฉน ก็จะไดทํา
โดยนยดํา รัสภูบาล
เสวกผอง ก็เคาะกลองขาน
อาณัติปาน ดุจกลองพัง
3
การอานและพิจารณา
ประโยชนหรือคุณคาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
1. คุณคาดานอารมณ
1.1 การแสดงอารมณโกรธ กระแทกกระทั้น
การแสดงอารมณโกรธใน อิทิสังคฉันท 20:
เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเปน
ศึก บ ถึงและมึงยังมิเห็น
จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทันอะไร ก็หมิ่นกู
2. คุณคาดานคุณธรรม
2.1 ควรมีความจงรักภักดีตอเจานาย

เราควรมีความจงรักภักดีตอเจานาย เหมือนกับวัสสการพราหมณที่
ปฏิบัติตามคําสั่งของพระเจาอชาตศัตรูอยางจงรักภักดี จนถึงกับยอม
เสียสละตัวเองเปนไสศึกไปเมืองของศัตรูที่อันตราย มากเพื่อใหความ
ตองการของ เจานายสําฤทธิ์ผล
2.2 โทษของการแตกความสามัคคีในหมูคณะ
การไมสามัคคีปรองตองกันของเหลาพี่นองกษัตริยนั้น แสดงใหเห็น
ถึงโทษของการแตกความสามัคคีที่จะนําไปสูความไมสําเร็จ ของงาน
เหมือนกับเหลากษัตริยลิจฉวีที่แตกความสามัคคีปกครองบานเมืองทํา ให
พระเจาอชาตถูกศัตรูตีเมืองไดอยางงายดาย
2.3 การขาดการพิจารณาไตรตรองนําไปซึ่งความสูญเสีย
- การขาดพิจารณาไตรตรองนําไปซึ่งความสูญเสีย
- เหลากษัตริยลิจฉวีที่ขาดความสามารถในการใชปญญาตริตรอง
พิจารณาสอบสวนและใชเหตุผลที่ถูกตอง จึงหลงกลของวัสสการ
พราหมณ ถูกยุแหยใหแตกความสามัคคีจนเสียบานเสียเมือง
2.4 อปริหานิยธรรม
คือธรรมอันไมเปนที่ตั้งแหงความเสื่อม ไดเเก
1) หมั่นประชุมกันเนืองนิตย
2) พรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิกประชุม พรอมเพรียงกันทํา
กิจที่พึงทํา
3) ไมบัญญัติสิ่งที่มิไดบัญญัติเอาไว ไมลมลางสิ่งที่บัญญัติไว ถือปฏิบัติ
ตามวัชชีธรรมตามที่วางไวเดิม
4) ทานเหลาใดเปนผูใหญในชนชาววัชชี ก็ควรเคารพนับถือทานเหลา
นั้น เห็นถอยคําของทานวาเปนสิ่งอันควรรับฟง
5) บรรดากุลสตรีและกุลกุมารีทั้งหลายใหอยูดี โดยมิถูกขมเหงหรือฉุด
คราขืนใจ
6) เคารพสักการบูชาเจดียของวัชชีทั้งหลายทั้งภายในและภายนอก ไม
ปลอยใหธรรมิกพลีที่เคยใหเคยทําแกเจดียเหลานั้นเสื่อมทราม ไป
7) จัดใหความอารักขา คุมครอง และปองกันอันชอบธรรมแกพระอรหันต
3. คุณคาดานอื่นๆ
3.1 คุณคาดานสังคม
- สะทอนภาพการปกครองโดยระบอบสามัคคีธรรม เนนโทษของ
การแตกความสามัคคี ในหมูคณะ และเนนถึงหลักธรรม อปริหา
นิยธรรม 7 ประการ ซึ่งเปนหลักธรรมที่สงผล ใหเกิดความเจริญ-
ของหมูคณะ ปราศจากความเสื่อม
- รวมกันประกอบกิจอันควรกระทํา
- มีความสามัคคีกัน
3.2 คุณคาดานวรรณศิลป
- มีการประพันธที่ใชภาษา เขาใจงายทําใหผูอานเห็นภาพที่ผูประพันธ
ตองการจะสื่อได อยางชัดเจน
- เปนวรรณคดที่ไดรับการยกยองวามีความไพเราะงดงามเปนที่ นิยม
เนื่องจากมีการเลนสัมผัสใน ทั้งสัมผัสอักษรและสัมผัสสระอยางไพเราะ

You might also like