You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือ่ ง ลิลต
ิ ตะเลงพ่าย

โดย

นาย วรกมล นภาวรกุล ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
เลขที่ 8
นาย กษิ ดเิ ์ ดช นุ่มฟัก ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
เลขที่ 11
นางสาว กมลชนก เเสงนิรตั น์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
เลขที่ 15
นางสาว เวนิกา ซีโต้ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
เลขที่ 16

เสนอ

อ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5

1
สารบัญ

การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 1
1.1 เนื้อเรือ
่ ง หรือเนื้อเรือ
่ งย่อ 1
1.2 โครงเรือ ่ ง 1
1.3 ตัวละคร 1-2
1.4 ฉากท้องเรือ ่ ง 2-3
1.5 บทเจรจาหรือราพึงราพัน 3
1.6 แก่นเรือ่ งหรือสารัตถะของเรือ ่ ง 3
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 4
2.1 การสรรคา 4-6
2.2 การเรียบเรียงคา 6-7
2.3 การใช้โวหาร 8
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 9
3.1 คุณค่าด้านวรรณศิลป์ 9
3.2 คุณค่าด้านสังคม 9

บรรณานุกรม 10

สรุปประเด็นการอ่านและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม

2
1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย
1.1 เนื้อเรือ ่ ง หรือเนื้อเรือ
่ งย่อ
เรือ
่ งเริม ่ มาจาก
เมือ
่ พระเจ้าหงสาวดีนน ั ทบุเรงทรงทราบว่าสมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จสวร
รคต กรุงศรีอยุธยาอาจมีเหตุการ์ณวุน ่ วาย แย่งชิงบัลลังก์กน

จึงคิดฉวยโอกาศสั่งให้พระมหาอุปราชาผูเ้ ป็ นโอรส ยกทัพมารุนรานไทย
ในระหว่างนัน ้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เตรียมทัพเข้าโจมตีเขมร
แต่เมือ
่ ท่านได้ทราบข่าวศึกพม่าก็จดั เตรียมทัพรับศึกนอกพระนคร
แต่เมือ่ ได้ยน ิ เสียงกลองศึกขึน ้
ช้างทรงทัง้ ของสมเด็จพระนรศวรและสมเด็จพระเอกาทษรถนัน ้ ตกมัน
จึงหลงไปอยูต ่ รงใจกลางของทัพข้าศึก ทาให้ทพ ั ของพระองค์ตามมาไม่ทน ั
พระองค์จงึ แสดงวาทศิลป์กล่าวท้าให้พระมหาอุปราชออกมาทายุทธหัตถีกน ั
ท้ายทีส ่ ุดพระนเรศวรทรงมีชยั เช่นเดียวกับพระเอกาทศรถมีชยั เหนือมังจาชโร
หลังจากนัน ้ ทัพพม่าแตกพ่ายไป

1.2 โครงเรือ ่ ง
กษัตริย์ของพม่าเห็นว่ากษัตริย์ไทยกาลังมีการเปลีย่ นเเผ่นดินจึงคิดจะฉ
วยโอกาสทีก ่ าลังวุน
่ วายส่งคนไปตีเมืองเเต่ดว้ ยพระปรีชาความสามารถของกษั
ตริย์ไทยจึงปกป้ องเมืองไว้ได้

1.3 ตัวละคร
ฝ่ ายไทย
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดา)
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองค์ดาหรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่
2 กษัตริย์องค์ที่ 18 แห่งกรุงศรีอยุธยา
ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ทเี่ ก่งกล้าสามารถ
เป็ นผูป
้ ระกาศเอกราชหลังจากทีเ่ สียไปให้กบ
ั พม่าถึง 15 ปี
รวมทัง้ ขยายราชอาณาจักรให้กว้างใหญ่ ทาสงครามกับพม่า
จนพม่าหวาดกลัวไม่กล้ามารบกับไทยอีกเลยเป็ นเวลาร้อยกว่าปี
ทรงเสด็จสวรรคตในขณะทีเ่ สด็จไปทาศึกกับกรุงอังวะ พระชนมายุได้ 50
พรรษา ครองราชย์ได้ 15 ปี

สมเด็จพระเอกาทศรถ(พระองค์ขาว)
สมเด็จพระเอกาทศรถหรือพระองค์ขาวอนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมห
าราช ทรงดารงตาแหน่ งอุปราช ครองเมืองพิษณุโลก
แต่มีเกียรติยศเสมอพระเจ้าแผ่นดิน ตลอดรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร

3
ทรงออกศึกทาสงครามร่วมกับสมเด็จพระนเรศวรตลอด
และทรงครองราชย์ตอ
่ จากสมเด็จพระนเรศวร
สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตเมือ
่ ปี พ.ศ.2153 พระชนม์พรรษาได้ 50
พรรษาเศษ ครองราชย์ได้ 5 ปี

พระมหาธรรมราชา
สมเด็จพระมหาธรรมราชาหรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1
พระองค์ทรงรับราชการเป็ นทีข ่ น
ุ พิเรนทรเทพ เจ้ากรมตารวจรักษาพระองค์
หลังจากทีเ่ หตุการณ์ วน
ุ่ วายในราชสานักยุตลิ ง
และพระเฑียรราชาได้ขน ึ้ ครองราชย์เป็ นสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ์ เมือ
่ ปี
พ.ศ.2091 แล้วจึงได้รบ ั สถาปนาขึน ้ เป็ นสมเด็จพระมหาธรรมราชา
แล้วได้รบ
ั โปรดเกล้าให้ไปครองเมืองพิษณุโลก
สาเร็จราชการหัวเมืองฝ่ ายเหนือ มีศกั ดิเ์ ทียบเท่าพระมหาอุปราช

ฝ่ ายพม่า
พระเจ้าหงสาวดี(นันทบุเรง)
พระเจ้าหงสาวดี หรือนันทบุเรง กษัตริย์พม่า เดิมชือ
่ มังชัยสิงห์ราช
โอรสของบุเรงนอง ดารงตาแหน่ งอุปราชในสมัยบุเรงนอง
ึ้ ครองราชย์ตอ
ได้ขน ่ จากพระราชบิดา
ทรงหวังทีจ่ ะสร้างความยิง่ ใหญ่เหมือนกับพระราชบิดา แต่ก็ทาไม่สาเร็จ
สุดท้ายถูกลอบวางยาพิษสิน ้ พระชนม์
พระมหาอุปราชา
โอรสของนันทบุเรง ดารงตาแหน่ งอุปราชาในสมัยของนันทบุเรง
เดิมชือ
่ มังสามเกียด หรือมังกะยอชวา
เป็ นเพือ่ นเล่นกันกับพระนเรศวรในสมัยทีพ
่ ระองค์ประทับอยูท
่ ก
ี่ รุงหงสาวดี
ทรงทางานให้พระราชบิดาหลายครัง้ โดยเฉพาะในการสงคราม
และได้ถวายงานครัง้ สุดท้ายในการยกทัพมาตีไทย
และสิน ้ พระชนม์ในการทายุทธหัตถีกบ ั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

1.4 ฉากท้องเรือ ่ ง
ฉากทีผ่ เู้ ขียนได้ใช้ในการเล่าเรือ ่ งนัน
้ ทาให้เราได้เห็นภาพของสนามรบเ
เละสภาพเเวดล้อมต่างๆซึง่ ทาให้เราสามารถเข้าถึงเรือ ่ งได้งา่ ย
อีกทัง้ ยังทาให้เราได้เห็นเส้นทางการเดินทางของพระมหาอุปราชาซึง่ เริม ่ ต้นที่
มอญเเละจบทีก ่ าญจนบุรี สถานทีท ่ ผ
ี่ เู้ เต่งใช้ในเนื้อเรือ
่ งได้เเก่:
4
๑. อยุธยา เมืองหลวงไทย
๒. หงสาวดี เมืองหลวงพม่า
๓. เเม่กษัตริย์
เเม่น้าในจังหวัดกาญจนบุรีทน ี่ ายกองเมืองกาญจนบุรีไปซุม
่ เพือ
่ สอดเเนมศัตรู
๔. กาญจนบุรี ระหว่างไทยกับพม่า หน้าด่านของไทย
๕. ราชบุรี พระนเรศวรให้เจ้าเมืองจักทหารไปทาลายสะพานไม้ไผ่
๖. วิเศษชัยชาญ เมืองทีพ ่ ม่าส่งกองลาดตระเวนขึน้ ม้าหาข่าว
๗. ด่านเจดีย์สามองค์ เขตเเดนระหว่างไทยกับพม่า
๘. หนองสาหร่าง ทีต ่ ง้ ั ทัพกน้าของไทย
๙. โคกเผ้าข้าว สถานทีท ่ กี่ องทัพหน้าของไทยปะทะกับพม่า
๑๐. ตระพังตรุ ทีเ่ กิดสงครามยุทธหัตถี

1.5 บทเจรจาหรือราพึงราพัน
มาเดียวเปลีย่ วอกอ้า อายสู
สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์ พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่ งเนื้อนวลสงวน
คาประพันธ์บทนี้ได้ถา่ ยทอดความรูส้ ก ึ นึกคิดของพระมหาอุปราช
า ว่าพระองค์รส ู้ ก
ึ โดดเดีย่ วเมือ
่ ต้องเดินทางคนเดียว เป็ นเรือ ่ งเศร้า
พอได้เห็นต้นไม้ทส ี่ วยงาม ก็รส ู้ ก ึ้ มาบ้าง
ึ ดีขน
แต่ก็ยงั ไม่หายคิดถึงนางสนมของเค้า

“อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ
แม้พระเสียเอารส แก้เสี้ยน
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งพาหาเหี้ยน หั่นกลิง้ ไกลองค์”
ในกลอนบทนี้
ได้เเสดงถึงความหมกมุน ่ ในพระทัยของพระมหาอุปราชา
ซึง่ ได้ระลึกถึงพระราชบิดาว่าถ้าพระองค์เสียโอรสให้แก่ขา้ ศึก
จะต้องโทมนัสใหญ่หลวงเพราะเปรียบเหมือนพระองค์ถูกตัดพระพาหาทั้
งสองข้างทีเดียว

1.6 แก่นเรือ
่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง

5
ลิลต ้ มาเพือ
ิ ตะเลงพ่ายเเต่งขึน ่ เล่าถึงเหตุการณ์ ในประวัตศ
ิ าสตร์เเละให้ผู้
อ่านได้เห็นถึงความกล้าหาญเเละความเสียสละของบรรพบุรุษไทยเเละอีกทัง้ ยัง
ปลุกความรักเเละเทิดทูนในประเทศชาติอีกด้วย

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย
2.1 การสรรคา
- เลือกใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมายทีต ่ อ
้ งการ
สองโจมสองจูจ่ ว้ ง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดดา้
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งคา้ เข่นเขีย้ วในสนาม
จากตัวอย่าง
มีการใช้คาทีแ ่ สดงให้เห็นถึงการสูร้ บกันของกษัตริย์ทง้ ั สองว่าเป็ นการสู้
กันอย่างเต็มกาลัง โดยใช้คาว่า โจม จู่ และจ้วง
อีกทัง้ ยังมีการอธิบายถึงการใช้อาวุธของกษัตริย์ทง้ ั สองว่าคล่องแคล่วแล
ะว่องไว โดยใช้คาว่า กระลึงกระลอก และ ไวว่อง
- เลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรือ ่ งและฐานะของบุคคลในเรือ ่ ง
เบื้องนัน
้ นฤนาถผู้ สยามินทร์
เบีย่ งพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้ อง ปัดด้วยขอทรง
จากตัวอย่างด้านบน
กวีได้มีการเลือกใช้คาทีเ่ หมาะสมหรือทีม ่ ศี กั ดิส์ ูง อย่างเช่น นฤนาถ ทีแ ่ ปลว่า
กษัตริย์ สยามินทร์ ทีแ ่ ปลว่า กษัตริย์แห่งสยาม พระมาลา ทีแ ่ ปลว่า หมวก
ศัสตราวุธอรินทร์ ทีแ ่ ปลว่า อาวุธของข้าศึก และ พระหัตถ์ ทีแ ่ ปลว่ามือ
ซึง่ คาเหล่านี้ เป็ นคาทีแ ่ สดงให้เห็นว่าบุคคลทีถ ่ ูกกล่าวถึงนัน

คือพระมหากษัตริย์

- เลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียง
- คาทีเ่ ล่นเสียงวรรณยุกต์

6
การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การใช้เสียงวรรณยุกต์ทแ
ี่ ตกต่างกัน
ในคาทีม่ ีพยัญชนะต้น สระ ตัวสะกดเหมือนกัน
โดยไล่เรียงไปตามระดับเสียงวรรณยุกต์
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา
เพราะเพือ ่ มาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชือ่ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
จากตัวอย่าง คาทีเ่ ล่นเสียงวรรณยุกต์คอื แม่น - แม้น

- คาทีเ่ ล่นเสียงสัมผัส
ภูบาลอื้นอานวย อวยพระพรเลิศล้น
จงอยุธย์อย่าพ้น แห่งเงือ
้ มมือเทอญ พ่อนา
จากตัวอย่างด้านบน จะเป็ นสัมผัสสระนอก
ซึง่ การเล่นเสียงสัมผัสจะอยูท ่ ค
ี่ าว่า นวย - อวย และ ล้น - พ้น

บัดมงคลพ่าห์ไท้ ทวารัติ
แว้งเหวีย่ งเบีย่ งเศียรสะบัด ตกใต้
อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ
เบนบ่ายหงายแหงนให้ ท่วงท้อทีถอย
ตัวอย่างด้านบนนี้ มีสม
ั ผัสบังคับตามโคลงสีส ่ ุภาพ
ได้แก่คาว่า ทวารัติ - สะบัด – งัด และ คาว่า ใต้ - ให้
ยังมีการสัมผัสสระในวรรค อย่างเช่น เหวีย่ ง – เบีย่ ง – เศียร อุก –
คลุก – พลุก และบ่าย – หงาย
อีกทัง้ ยังมีการสัมผัสพยัญชนะในวรรคสุดท้าย คือ ท่วงท้อทีถอย

สงครามความเศิกซึง้ แสนกล
จงพ่ออย่ายินยล แต่ตนื้
อย่าลองคะนองตน ตามชอบ ทานา
การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อเลี้ยวหลอกหลอน
ตัวอย่างด้านบนแสดงการสัมผัสสระในบางวรรค ได้แก่ ลอง
- คะนอง ศึก - ลึก และหลอก – หลอน และยังมีการสัมผัสพยัญชนะ
โดยใช้พยัญชนะเดียงกันเกือบทัง้ วรรค คือ ล่อเลี้ยวหลอกหลอน

- คาทีเ่ ล่นเสียงหนักเบา
ภูธรเมิลอมิตรไท้ ธารง สารแฮ
7
ครบสิบหกฉัตรทรง เทริดเกล้า
บ่ จวน บ่ จวบองค์ อุปราช แลฤา
พลางเร่งขับคชเต้า แต่ตง้ ั ตาแสวง
จากบทกลอนด้านบน มีการใช้คาทีเ่ ล่นเสียงหนัก คือ บ่
และคาทีเ่ ล่นเสียงเบา คือ ฤา

โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา


บัด ธ เห็นขุนกรี หนึ่งไสร้
เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย์ เรียงคั่ง ขูเฮย
หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชี้เฌอนาม
จากบทกลอนด้านบน มีการเล่นเสียงหนักตรง ธ
ในวรรคทีส ่ าม เพือ
่ ให้เห็นภาพว่า
กษัตริย์สยามได้หน ั ไปเห็นพระมหาอุปราชา ซึง่ ธ
ในวรรคนี้ก็หมายถึง พระนเรศวร

- คาพ้องเสียงและคาซา้
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา
เพราะเพือ ่ มาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชือ ่ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม
สายหยุดหยุดกลิน ่ ฟุ้ ง ยามสาย
สาย บ่ หยุดเสน่ ห์หาย ห่างเศร้า
กีค่ น
ื กีว่ น ั วาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉน ั ใด
จากบทกลอนด้านบน ผูป ้ ระพันธ์ได้มีการเน้นคาว่า สละ และ หยุด
โดยการกล่าวซา้
เพือ ่ แสดงให้เห็นถึงความคิดถึงของพระมหาอุปราชาต่อนางสนมของพระองค์
อย่างน ในกลอนแรก ทีใ่ ช้คาว่า สละ เพือ
่ แสดงให้เห็นว่า
ตัวของพระองค์นน ้ ั ไม่อยากสละหรือจากนางสนมของพระองค์มาเพือ ่ ทาสงครา
ม และในกลอนทีส ่ อง ทีใ่ ช้คาว่า หยุด เพือ ่ แสดงให้เห็นว่าดอกสาย
ทีใ่ นตอนสายจะหยุดส่งกลิน ่ หอมนัน

ไม่อาจเทียบกับความคิดถึงของพระองค์ทีม ่ ีตอ่ นางได้
เพราะพระองค์คด ิ ถึงนางอยูเ่ สมอ

8
2.2 การเรียบเรียงคา
- เรียงข้อความทีบ ่ รรจุสารสาคัญไว้ทา้ ยสุด
อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิน ้
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชิวาตม์สุดสิน ้ สูฟ
่ ้ าเสวยสวรรค์
จากตัวอย่าง ได้แสดงให้เห็นถึงฉากการสวรรคตของพระมหาอุปราชา
โดยการถูกพระแสงของ้าวของสมเด็จพระนเรศวรฟันทีพ ่ ระอุราหรือหน้าอก
ถือเป็ นฉากสุดท้ายของการทาศึกยุทธหัตถี และแสดงให้เห็นถึงชัยชนะของไทย
- เรียงคา วลี หรือประโยคทีม ่ ีความสาคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป
หัสดินปิ่ นธเรศไท้ โททรง
คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือคิรเิ มขล์มง- คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
สองโจมสองจูจ่ ว้ ง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดดา้
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งคา้ เข่นเขีย้ วในสนาม
งามสองสุรยิ ราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
ฤารามเริม ่ รณฤทธิ ์ รบราพณ์ แลฤา
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อืน
่ ไท้ไป่ เทียม
ขุนเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่ เยง หย่อนห้าว
ยอหัตถ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
งามเร่งงามโทท้าว ท่านสูศ ้ ก
ึ สาร

จากกลอนสีบ ่ ทด้านบน
บทแรกเป็ นการบรรยายภาพของกษัตริย์ทง้ ั สองบนหลังช้าง
ซึง่ ช้างเชือกหนึ่งถูกเปรียบเป็ นช้างทรงของพระอินทร์และอีกเชือกหนึ่งถูกเปรี
ยบเป็ นช้างทรงของพญามารทีม ่ าผจญพระพุทธเจ้า
จากนัน ้ กลอนบททีส ่ องก็ได้บรรยายภาพการสูร้ บของกษัตริย์ทง้ ั สอง
ว่าทัง้ เก่งกาจและว่องไว ในกลอนบททีส ่ ามนี้
ได้เปรียบภาพการสูร้ บของกษัตริย์ทง้ ั สองกับการสูร้ บของพระรามและทศกัณฐ์
ซึง่ ไม่มีใครสามารถทาได้เหมือน ในกลอนบทสุดท้าย ได้กล่าวว่า
กษัตริย์แห่งสยามสามารถต้านทานกษัตริย์พม่าได้
และทัง้ สองก็สูก้ น
ั อย่างสุดความสามารถอย่างไม่มีใครเกรงกลัวใคร

9
กลอนทัง้ สีบ ้ ในสนามรบทีม
่ ทนี้แสดงให้เห็นถึงเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน ่ ีความสาคัญข
นานกันไป

2.3การใช้โวหาร
 การเปรียบเทียบสิง ่ หนึ่งเหมือนกับอีกสิง่ หนึ่ง
จะมีคาแสดงความหมาย อย่างเดียวกันกับคาว่าเหมือน ปรากฏว่า ได้แก่คาว่า
เสมือน เปรียบเหมือน ดุจ ประดุจ ดั่ง เช่น
พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวง แดเอย
ถนัดดั่งภูผาหลวง ตกต้อง
คาประพันธ์บทนี้
แสดงให้เห็นถึงความรูส้ ก
ึ หนักใจของพระมหาอุปราชาทีเ่ หมือนกับภูเขาตกลง
มาทับ

การเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเป็ นอีกสิง่ หนึ่ง


มักจะมีคาว่า คือ หรือ เป็ น ปรากฏ อยู่ เช่น
หนึ่งคือคิรเิ มขล์มง- คลอาสน์ มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
คาประพันธ์บทนี้ได้เปรียบเทียบช้างของพระมหาอุปราชากับช้างของพญามาร

 การกล่าวผิดไปจากทีเ่ ป็ นจริง
เช่น
บาเทิงหฤทัยบาน ประดิยุทธ์ นัน
้ นา
เสนอเนตรมนุษย์ตง้ ั แต่หล้าเลอสรวง

ในวรรคทีส่ ามและสีม ่ ีความหมายว่า


การทายุทธหัตถีตอ่ หน้าสายตาของมนุษย์และเทพเจ้า
แต่ในความเป็ นจริงแล้วเป็ นการรบในสายตาของทหราทีท ่ ายุทธหัตถีกน
ั กับ
พระมหากษัตริย์ทรี่ บบกัน ไม่ใช่ตอ่ หน้าสายตาของเทพเจ้า

 ่ ส่วนประกอบทีเ่ ด่นของสิง่ หนึ่งแทนสิง่ นัน


การใช้ชือ ้ ๆ ทัง้ หมด

10
ขุนเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง
ขุนต่อขุนไป่ เยง หย่อนห้าว

จากคาประพันธ์บทนี้
ขุนเสียมในวรรคแรกหมายถึงพระมหากษัตริย์ของสยามหรือก็คอ
ื พระนเรศวร
นั่นเอง

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1 คุณค่าด้านวรรณศิลป์
เป็ นการแต่งวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติทด ี่ ีเด่น
เป็ นการผสนผสานประวัตศ ิ าสตร์กบ
ั เนื้อหาทีเ่ กิดจากจินตนาการได้อย่างยอดเ
ยีย่ มมีการเลือกสรรถ้อยคาอย่างสวยงามและไพเราะ
มีการเลือกใช้คาทีเ่ หมาะสมกับบริบทนัน ้
ทาให้ผอ ู้ า่ นเกิดความรูส้ ก
ึ คล้อยตามกับเนื้อเรือ ่ ง

3.2 คุณค่าด้านสังคม
แม้เรือ
่ งนี้เป็ นเพียงวรรณคดีเรือ ่ งหนึ่ง
แต่ก็ยงั คานึงถึงความสาคัญและมีคณ ุ ค่าทางประวัตศ ิ าสตร์ไทย
เนื้อหาตอนใดทีผ ่ แ
ู้ ต่งได้นามาจากพระราชพงศาวดารกวีจะพยายามทีใ่ ห้เกิดข้
อมูลทีค ่ ลาดเคลือ ่ นไปจากเดิม ยกตัวอย่างเช่น ชือ
่ ของแม่ทพั
หรือเหตุการ์ณสาคัญๆ
ในเรือ่ งนัน้ ล้วนปรากฎในเอกสารทางประวัตศ ิ าสตร์ทง้ ั สิน

ในวรรณกรรมเรือ ่ งนี้
เนื้อหาบางตอนแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของวาทศิลป์ของผูน ้ า
ยกตัวอย่างเช่น
ตอนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศตกเข้าไปในวงล้อมข
องข้าศึก
ท่านทรงแก้ไขสถานการ์ณด้วยการกล่าวเชิฐพระมหาอุปราชาให้เสด็จออกมา
ทาศึกยุทธหัตถี
จากเหตุการ์ณนี้ทาให้ผอ ู้ า่ นได้รบ
ั รูถ
้ งึ ปฎิภาณไหวพริบอันชาญฉลาดของพระ
องค์ได้เป็ นอย่างดี
วรรณคดีเรือ ่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นตัวอย่างทีด ่ ใี ห้กบ ั เยาวชนรุน่ ใหม่ให้เกิ
ดความรักชาติ และทาให้เกิดความภูมใิ จในวีรกรมของวีรบุรุษไทย

11
บรรณานุกรม

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน. “ลิลต


ิ ตะเลงพ่าย”
ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชน ้ ั มัธยมปี ที่ ๕
บทที่ ๒. หน้า 41 - 70. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๕.

12

You might also like