You are on page 1of 24

สามัคคีเภทคําฉันท

หัวขอ
๑. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
๑.๑ เนื้อเรื่อง หรือเนื้อเรื่องยอ
๑.๒ โครงเรื่อง
๑.๓ ตัวละคร
๑.๔ ฉากทองเรื่อง
๑.๕ บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
๑.๖ แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
๒. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบดวย
๒.๑ การสรรคํา
๒.๒ การเรียบเรียงคํา
๒.๓ การใชโวหาร
๓. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม
๓.๑ คุณคาดานอารมณ
๓.๒ คุณคาดานคุณธรรม
๓.๓ คุณคาดานสังคม
๓.๔ คุณคาดานวรรณศิลป
การอานและพิจารณาการใชภาษาใน
๑.
วรรณคดีและวรรณกรรม
เนื้อเรื่องยอ
เรื่องเกิดขึ้นเมื่อพระเจาอชาตศัตรูหวังที่จะไปตีแควนวัชชีเพื่อขยายอาณาเขต โดยวัสสการ
พราหมณปุโรหิตผูฉลาดหลักแหลมอาสาเปนไสศึกเพื่อใหกษัตริยแตกความสามัคคี ซึ่งเขาก็
ทําสําเร็จ ทําใหพระเจาอชาตศัตรูสามารถยกทัพมาตีแควนวัชชีและขยายอาณาเขตไดอยาง
งายดาย
การสรรคํา

กวีมีการเลือกใชคําที่ถูกตองและเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและ
สอดคลองกับลักษณะคําประพันธ อีกทั้งไดมีการเลือกคําที่มีเสียง
ไพเราะ และเขาใจงายอีกดวย
เสียงสัมผัส
ผูแตงไดเลือกคําเพื่อสรางเสียงสัมผัส ทั้งเสียงพยัญชนะและเสียงสระ
ทําใหบทรอยกรองมีเสียงที่ไพเราะมากขึ้น ดังเชน

แตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวระบิตระลาม
ทีละนอยตาม ณเหตุผล
ที่เชื่อฟงพจนอุรสตน นฤวิเคราะหะเสาะสน
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด
สัมผัสเสียงพยัญชนะ
กวีไดมีการเลนเสียงพยัญชนะ
“คะเนกลขคะนึงการ” “ระวังเหือด-ระแวงหาย”
ดังเชน

ทิชงคชาติ์ฉลาดยล คเนกลคนึงการ
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย
สัมผัสสระ
กวีไดมีการเลนเสียงสระเพื่อทําใหไพเราะมากขึ้น ดังเชน

ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม
หนึ่ง ณ นิยม ทานทวิชงค

มีการเลนเสียงสระคําวา

“ประมาณ-กาล” กับคําวา “อนุกรม-นิยม”


การเลนเสียงหนักเบา
ผูแตงกาพยสุรางคนางค๒๘ นายชิต บุรทัต ไดเพิ่มลักษณะบังคับ ใชคําครุแตง
สลับกับคําลหุทําใหมีเสียง สั้นยาวเปนจังหวะคลายฉันทตัวอยาง เชน

สะพรึบสะพรั่ง ณ หนาและหลัง
ณ ซายและขวา ละหมูละหมวด
ก็ตรวจก็ตรา ประมวลกะมา
สิมากประมาณ
การเรียบเรียงคํา
เมื่อไดคําที่เลือกสรรแลว ผูแตงก็ไดเอาคําที่สรรมาเรียบเรียงใหมีความ
ไพเราะและเหมาะสม โดยผูแตงไดเรียบเรียงใหไดตามฉันทลักษณ

๑.จัดลําดับความสําคัญโดยเรียงขอความที่บรรจุสารสําคัญไวทายสุด

๒.เรียงประโยค คํา และวลีที่มีความสําคัญเทาๆกัน ขนานกันไป

๓.เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามล าดับดุจขั้นบันได
จนถึงขั้นสุดทายที่ สําคัญที่สุด

๔.เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามล าดับ

๕.เรียบเรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิงวาทศิลป
๑.๑ ตัวละคร
วัสสการพราหมณ

● ปุโรหิตผูมีความฉลาดหลักแหลม
● สรางความแตกแยกในเมืองวัชชี
● ชวยใหพระเจาอชาตศัตรูสามารถยึดแควนวัดชีไวได


พระเจาอชาตศัตรู

● เจาเมืองแควนมคธผูปราดเปรื่อง
● วางแผนจะขยายอาณาเขต
● สงวัสสการพราหมณไปสรางความแตกแยก


๑.๑ การใชโวหารภาพพจน
๑.อุปมาอุปมัย

“เมตตาทยาลุศุภกรรม อุปถัมภการุณย
สรรเสริญเจริญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงาม
เปรียบปานมหรรณพนที ทะนุที่ประทังความ
รอนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น
เอิบอิ่มกระหยิ่มหทยคราว ระอุผาวก็ผอนเย็น
ยังอุณหมุญจนะและเปน สุขปติดีใจฃ

จากบทรอยกรองขางตน วัสสการพราหมณไดเปรียบนํ้าพระราชหฤทัยของกษัตริยลิจฉวี โดยได

มีการใชการเปรียบเทียบแบบอุปมา อุปไมยในวรรคที่วา “เปรียบปานมหรรณพนที” ไดมีการ

เปรียบเทียบความเมตตาของพระองคกับมหาสมุทรอันกวางใหญ
๒.โวหารอุปลักษณ
กุมารลิจฉวีขัตติย ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขากระทําคือ ประดุจคําพระอาจารย
ก็เทานั้นธเชิญให นิวัตในมิชานาน
ประสิทธิ์ศิลปประศาสนสาร สมัยเลิกลุเวลา

จากบทรอยกรองขางตนสามารถแปลความไดวาพระกุมารลิจฉวีมีรับสั่งเห็น

ดวย วาชาวนาคงจะกระทําตามคําของพระอาจารยโดยมีการใชคําวา “คือ”

ซึ่งเปนโวหารอุปลักษณในรอยกรองบทนี้
๓.บุคลาธิษฐาน

“ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบาต”

จากบทรอยกรองขางตนสามรถตีความไดวา ผูคนตางมีหนาตาที่
แตกตื่น หนาซีดเผือด ตัวสั่นเทิ้มดวยความหวาดกลัว ตางพากันหนีความ
ตายกันจาละหวั่น พากันทิ้งบานเรือนและซอนตัวในปาและอพยพหนีภัยไป
๔.อวพจน

“ชอฟาตระการกละจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร

บราลีพิลาศุภจรูญ นพศูลประภัศร

หางหงสผจงพิจิตระงอน ดุจะกวักนภาลัย”

จากบทรอยหรองขางตนไดมีการกลาวเกินจริง “ชอฟาตระการกละจะหยัน จะ
เยาะยั่วทิฆัมพร” สามารถแปลความไดวา ชอฟานั้นงดงามมากราวกับจะเยยทองฟา
ซึ่งถือเปนการกลาวเกินจริงเพื่อใหผูอานไดมีอารมณรวมไปกับเนื้อเรื่องมากขึ้น
อยางลึกซึ้ง
๕.นามนัย

แมมากผิกิ่งไม ใครจะใครลอง
มัดกํากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน
เหลาไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูตน
กิจใดจะขวายขวน บ มิพรอมมิเพรียงกัน”

“แมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง มัดกํากระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน” เห็นถึงลักษณะเดนของการกิ่งไมโดยถูกมัดรวม

กันเปนกําก็จะหักไดยาก เขาจึงใชกิ่งไมเพื่อเปนสิ่งแทนความสามัคคีของหมูคณะ และในนามนัยนี้สามารถแปลความไดวา

เมื่อผูรวมมือกันจะกอเปนความสามัคคีที่ยิ่งใหญ
ประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดี
และวรรณกรรม
คุณคาดานอารมณ

● ผูแตงไดสรรสรางอารมณในคําประพันธ เพื่อทําใหผู
อานเกิดอารมณรวมและคลอยตามไปกับเนื้อเรื่องดวย
คุณคาดานคุณธรรม
◉ จากวรรณคดี ผูแตงไดสอนถึงความเสียสละและความสามัคคี ความเสียสละ

ของวัสสการพราหมณในการไปเปนไสศึกในเมืองลิจฉวี เพื่อชวยพระเจา

อชาตศัตรูในการขยายอาณาเขต และความสามัคคี หากไรซึ่งความ

สามัคคคีก็จะทําใหแควนออนแอและถูกรุกรานไดงาย
คุณคาดานสังคม
◉ สะทอนถึงระบบสามัคคีธรรม ตามหลักอปริยธรรม ๗ ซึ่งเปนหลัก
ธรรมอันไมเปนที่ตั้งแหงความเสื่อม ไดแก

1. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย - การประชุมและปรึกษาหารือกันเพื่อมอง
หาจุดบกพรองและรวมกันแกไข
2. พรอมเพียงกันประชุม พรอมเพียงกันเลิกประชุม พรอมเพรียงกันทํา
กิจที่พึงทํา
3. ไมบัญญัติสิ่งที่มิไดบัญญัติเอาไว ไมลมลางสิ่งที่บัญญติไว ถือปฏิบัติ
มั่นตามวัชชีธรรม
คุณคาดานวรรณศิลป
การเลือกสรรคํา
ใชภาษาที่เขาใจงายซึ่งสามารถเขาใจไดอยาง
ชัดเจน

การเลือกสรรคการใชโวหาร
ผูเเตงใชโวหารไดอยางหลายหลายอยางไพเราะเเละ
นํามาใชสลับกันตามความเหมาะสมของเนื้อเรื่องไดอ
ยางลงตัว

You might also like