You are on page 1of 16

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีบทละครพูดคาฉันท์ เรือ
่ งมัทนะพาธา
โดย

นางสาวณัฐธิดา อานวยเงินตรา ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
5/6 เลขที่ 1
นางสาวนัทธมน จูงวัฒนา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
5/6 เลขที่ 4
นางสาวศุภาพิชญ์ งามสง่าพงษ์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 9
นางสาวสิรดา วิทูรวรากร ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6
เลขที่ 20

เสนอ

อ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)

รายงาน
วิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
คานา
รายงานเรือ ่ งนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โดยจุดประสงค์มีไว้เพือ ่ ศึกษาหาความรูท ่ งมัทนะพาธาซึง่ รายงานนี้
้ ไี่ ด้จากเรือ
มีเนื้อหาเกีย่ วกับการอ่านและพิจารณาเนื้อหา
ประโยชน์และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม ทีแ ่ สดงถึงเนื้อหา
โครงสร้างและประโยชน์ของเรือ ่ งนี้อย่างละเอียดถีถ ่ ว้ น

ผูจ้ ดั ทาต้องขอขอบคุณอ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์ ผูใ้ ห้ความรู ้


แนวทางการศึกษากับพวกและได้ช่วยเหลือมาโดยตลอด
พวกเราผูจ้ กั ทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ตอ
่ ผูอ
้ า่ นทุกคน

นางสาวณัฐธิดา
อานวยเงินตรา
นางสาวนัทธมน จูงวัฒนา

นางสาวศุภาพิชญ์ งามสง่าพงษ์
นางสาวสิรดา
วิทูรวรากร

คณะผูจ้ ดั ทา

1
สารบัญ
หน้า
การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย 3
เนื้อเรือ
่ ง 3
โครงเรือ ่ ง 3
ตัวละคร 4
ฉากท้องเรือ ่ ง 4
บทเจรจาราพึงราพัน 5
แก่นเรือ ่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง 6
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 7
การสรรคา 7
การเรียบเรียงคา 9
การใช้โวหาร 9
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 12
คุณค่าด้านอารมณ์ 12
คุณค่าด้านคุณธรรม 13
คุณค่าด้านวัฒนธรรม 13
บรรณานุกรม 15

2
สรุปประเด็นการอ่านและพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม

การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย

เนื้อเรือ่ ง
มัทนะพาธาเป็ นเรือ ่ งสมมุตข
ิ องต้นกาเนิดของดอกกุหลาบ กล่าวคือ
เทวดาสุเทษณ์ ทรงหลงรักนางฟ้ ามัทนา แต่นางไม่รบ ั รัก
สุเทษณ์ จงึ ขอให้วท ิ ยาธรมายาวินใช้เวทมนตร์สะกดเรียกนางมา
มัทนาเจรจาตอบสุเทษณ์ อย่างคนไม่รส ู้ ก
ึ ตัว
สุเทษณ์ ไม่โปรดจึงให้วท ิ ยาธรมายาวินคลายมนตร์
เมือ่ มัทนารูส้ ก
ึ ตัวจึงได้ตอบปฏิเสธสุเทษณ์ ไป
สุเทษณ์ จงึ กริว้ และส่งนางมาเกิดเป็ นดอกกุหลาบทีโ่ ลกมนุษย์เป็ นการชดใช้
โดยถูกกาหนดไว้วา่ ดอกกุหลาบนัน ้ จะคืนร่างเป็ นหญิงสาวเฉพาะวันเพ็ญเพียง
วันและคืนเดียวเท่านัน ้
ต่อเมือ ่ มีความรักจึงจะพ้นสภาพจากการเป็ นดอกกุหลาบ
เมือ ่ นางมัทนาได้พบรักกับพระชัยเสน
ความรักก็ไม่ราบรืน ่ เพราะมีอุปสรรคคือพระชัยเสนได้เสกสมรสกับนางจัณฑีแ
ล้ว มัทนาต้องถูกพรากจากพระชัยเสน และได้พบกับสุเทษณ์ อีกครัง้
แต่มทั นาก็ยงั ไม่เปลีย่ นใจจากพระชัยเสนเพือ ่ มารักสุเทษณ์
เรือ
่ งจึงจบด้วยความสูญเสีย สุเทษณ์ ไม่สมหวังในความรัก
พระชัยเสนสูญเสียคนรัก
และมัทนาต้องเปลีย่ นสภาพเป็ นมาเป็ นเพียงดอกกุหลาบ

โครงเรือ
่ ง
มัทนะพาธาเป็ นบทละครพูดคาฉันท์ทพ ี่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห
่ วั
ทรงคิดโคลงขึน้ มาด้วยพระองค์เอง ไม่ได้ตดั มาจากวรรณคดีเรือ
่ งใด
โดยแก่นสาคัญของเรือ ่ งมีอยูส
่ องประการคือ

1) ทรงปราถนาจะกล่าวถึงตานานดอกกุหลาบ ซึง่ เป็ นดอกไม้ทส ี่ วยงาม


แต่ไม่เคยมีตานานในเทพนิยายา
จึงพระราชนิพนธ์ให้ดอกกุหลาบมีกาเนิดมาตากนางฟ้ าทีถ ่ ูกสาปให้จุตลื ง
มาเกิดเป็ นดอกไม้ชือ
่ ว่า "ดอกกุพชกะ" คือ "ดอกกุหลาบ"

2) เพือ ่ แสดงความเจ็บปวดอันเกิดจากความรัก
ทรงแสดงให้เห็นว่าความรักมีอานุภาพอย่างยิง่
ผูใ้ ดมีความรักก็อาจเกิดความหลงขึน ้ ตามมาด้วย ทรงใช้ชือ่ เรือ
่ งว่า
"มัทนะพาธา" อันเป็ นชือ ่ งซึ่งมีความหมายว่า
่ ของตัวละครเองของเรือ

3
"ความเจ็บปวดหรือความเดือดร้อนอันเกิดจากความรัก"
่ งให้มีความขัดแย้งซึง่ เป็ นปม
มีการผูกเรือ

ตัวละคร
นางมัทนาเป็ นผูม้ ีรูปสวยงดงาม เป็ นคนพูดจาไพเราะอ่อนหวาน
ซือ
่ ตรงกล้าหาญและเป็ นคนทีม ่ ่น
ั คงในความรัก
มัทนา ฟังถ้อยดารัสมะธุระวอน ดนุนี้ผเิ อออวย
จักเป็ นมุสาวะจะนะด้วย บมิตรงกะความจริง

สุเทษณ์ เป็ นเทพบุตรทีเ่ จ้าอารมณ์ และหมกมุน ่ ในตัณหา


เอาแต่ใจตัวเองและไม่นึกถึงความรูส้ ก ึ ของผูอ
้ ืน

พีร่ กั และหวังวธุจะรัก และ บ ทอด บ ทิง้ ไป

มายาวินเป็ นผูม
้ ี วช
ิ าอาคม
ช่วยสุเทษณ์ เสกนางมัทนาให้เชือ
่ ฟังคาสั่งของสุเทษณ์

เทวะ, ทีน่ าง อาการเป็ นอย่าง นี้เพราะฤทธิม ์ นตร์;


โยคะอันขลัง บังคับได้จน ให้ตอบยุบล
ได้ตามต้องการ
แต่จะบังคับ ใครใครให้กลับ มโนวิญญาณ,
ให้ชอบให้ชงั ยืนยังอยูน
่ าน ย่อมจะเป็ นการ
สุดพ้นวิสยั
หากว่าพระองค์ มีพระประสงค์ อยูเ่ พียงจะให้
นงคราญฉลอง รองพระบาทไซร้ ข้าอาจผูกใจ
ไว้ดว้ ยมนตรา.
มิให้นงรัตน์ ดือ
้ ดึงขึงขัด ซึง่ พระอัชฌา,
บังคับให้ยอม ประนอมเป็ นข้า บาทบริจา
ริกาเทวัญ.

ฉากท้องเรือ ่ ง
มัทนะพาธาเป็ นเรือ ่ งสมมุตวิ า่ เกิดในอินเดียโบราณ
มีปรากฏฉากสวรรค์และเมืองหัสตินาปุระในอดีตกาล
เมืองหัสตินาปุระตัง้ อยูท ่ างฝั่งขวาของแม่น้าคงคา ปัจจุบน ั อยูใ่ น
รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ในอดีตมีกษัตริย์ปกครองหลายพระองค์
ในส่วนของฉากสวรรค์เป็ นวิมานของเทพบุตรสุเทษณ์ ผูห ้ ลงรักนางฟ้ ามัทนา
แต่ในเมือ ่ นางไม่รบ
ั รัก สุเทษณ์ จงึ สาปนางลงไปเป็ นดอกกุหลาบทีโ่ ลกมนุษย์
มัทนากลายเป็ นดอกกุหลาบทีป ่ ่ าหิมะวัน หรือป่ าหิมพานต์
ซึง่ เป็ นป่ าในวรรณคดีตามความเชือ ่ ในเรือ
่ งไตรภูมขิ องศาสนาพุทธและฮินดู

4
ป่ าหิมพานต์ตง้ ั อยูบ
่ นเชิงเขาพระสุเมรุ ประดับด้วยยอด 84,000 ยอด
มีสระใหญ่ 7 สระ เต็มไปด้วยสัตว์นานาชนิด
ซึง่ ล้วนแปลกประหลาดต่างจากสัตว์ทม ี่ นุ ษย์ท่วั ไปรูจ้ กั

บทเจรจาราพึงราพัน
มัทนะพาธาเป็ นบทละครพูดคาฉันท์
ประกอบด้วยบทเจรจาหลายช่วงหลายตอน อาทิเช่น
อ้าโฉมวิไลยะสุปริยา มะทะนาสุรางค์ศรี,
พีร่ กั และกอบอภิระตี บมิเว้นสิเน่ ห์นกั ;
บอกหน่ อยเถิดว่าดะรุณิเจ้า ก็จะยอมสมัครรัก

ในบทนี้ สุเทษณ์ บอกนางมัทนาว่า ตนหลงรักนางมาเนิ่นนาน


บอกตนมาเถิดว่านางก็รกั ตนเช่นกัน
น่ ะมายาวิน เหตุใดยุพนิ จึง่ เป็ นเช่นนี้?
ดูราวละเมอ เผลอเลอฤดี ประดุจไม่มี
ชีวติ จิตใจ,
คราใดเราถาม หล่อนก็ยอ
้ นความ เหมือนเช่นถามไป.
ดังนี้จะยวน ชวนเชยฉันใด เปรียบเหมือนไป
พูดกับหุน ่ ยนต์.

สุเทษณ์ กล่าวถามมายาวินว่า
เหตุใดมัทนาจึงมีอาการเหมือนคนทีก ่ าลังละเมอ ไม่มีชีวต
ิ จิตใจเช่นนี้
เมือ
่ ถามอะไรไป นางก็ตอบยอกย้อนกวนใจ เหมือนคุยกับหุน ่ ยนต์

เทวะ,อันข้านี้ไซร้ มานี่อย่างไร บทราบสานึกสักนิด;


จาได้วา่ ข้าสถิต ในสวนมาลิศ และลมราเพยเชยใจ,
แต่อยูด
่ ดี ท
ี น
ั ใด บังเกิดร้อนใน
อุระประหนึ่งไฟผลาญ,
ร้อนจนสุดทีท ่ นทาน แรงไฟในราน ก็ลม ้ ลงสิน
้ สมฤดี.
ฉันใดมาได้แห่งนี้? หรือว่าได้มี ผูใ้ ดไปอุม้ ข้ามา?
ขอพระองค์จงเมตตา และงดโทษข้า ผูบ
้ ุกรุกถึงลานใน.

นางมัทนาเอ่ยถามสุเทษณ์ หลังจากทีม ่ ายาวินปัดเป่ ามนตร์ออกไปว่า


องค์เทวะ หม่อมฉันมาอยูท ่ น
ี่ ี่ได้อย่างไร
จาได้วา่ ข้าอยูใ่ นสวนดอกไม้เย็นชืน ่ ใจ แต่อยูด่ ๆ
ี ก็เกิดร้อนในใจ
ราวกับโดนไฟผลาญ แล้วก็สน ิ้ สติลง หม่อมฉันมาทีน ่ ี่ได้อย่างไร
ขอพระองค์ทรงให้อภัยหม่อมฉันทีบ ่ ุกรุกถึงลานใน

5
แก่นเรือ ่ งหรือสารัตถะของเรือ ่ ง
แก่นสาคัญของเรือ่ งมีอยู่ ๒ ประการ คือ ประการแรก คือ
ตานานของดอกกุหลาบ แม้กุหลาบจะเป็ นดอกไม้ทส ี่ วยงาม
แต่ก็ไม่เคยมีตานานในเทพนิยายเลย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั จึงพระราชนิพนธ์ให้ดอกกุหลาบมีตน ้
กาเนิดมาจากนางฟ้ าทีถ ่ ูกสาปให้ลงมาจุตเิ ป็ นดอกไม้ทช ี ่ ือ
่ ว่า "ดอกกุพฺ ชกะ"
คือ "ดอกกุหลาบ” ส่วนประการทีสอง คือ
เพือ่ แสดงความเจ็บปวดทีเ่ กิดจากความรัก
ท่านทรงแสดงให้เห็นว่าความรักมีอนุภาพมาก
เมือ
่ ผูใ้ ดมีความรักก็อาจเกิดความหลงตามมา ท่านทรงใช้ชือ ่ เรือ
่ งว่า
"มัทนะพาธา" ซึ่งเป็ นชือ ่ ของตัวละครเอกของเรือ ่ ง มีความหมายว่า
"ความเจ็บปวดอันเกิดจากความรัก"

6
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคา
ผูแ
้ ต่งจะต้องสรรคาให้ตรงตามทีต่ อ
้ งการ เหมาะแก่บริบท เนื้อเรือ
่ ง
และฐานะของบุคคลในเรือ ่ งโวหารและรูปแบบคาประพันธ์
นอกจากนี้ยงั ต้องสรรคาโดยคานึงถึงความงามด้านเสียงด้วยดังนี้

เลือกใช้คาไวพจน์ให้ถูกต้องตรงตามความหมายทีต ่ อ
้ งการ “คาไวพจน์ ”
หมายถึง คาทีเ่ ขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน
คาทีเ่ ป็ นไวพจน์ของกันนัน ้ หลายคาไม่อาจใช้แทนกันได้เสมอไป เช่น
อ้าโฉมวิลยั ะสุปริยา มะทะนะนาสุรางค์ศรี
พีร่ กั และกอบอภิระดี บ มิเว้นสิเน่ ห์หนัก ;
บอกหน่ อยเถอะว่าดะรุณิเจ้า ก็จะยอมสมัครรัก
ในตัวอย่างข้างต้นนี้ คาว่า สุปริยาและอภิระดีทง้ ั สองคานี้มีความหมายว่า
ทีร่ กั ยิง่ และนางผูน ้ ่ ารักใคร่อย่างยิง่

เลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียง
กวีมกั ใช้เสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากวิธีอ่าน
ทาให้เข้าถึงความหมายทีแ ่ ท้จริงของกวีบทนัน
้ ๆ
บทร้อยกรองประเภทฉันท์ทก ี่ าหนดเสียงหนักเบาได้แก่ คาครุและคาลหุ เช่น
บทเกี้ยวพาราสีตอ ่ ไปนี้ แต่งด้วยวสันตดิลกฉันท์ ๑๔
มีการสลับตาแหน่ งของคา ทาให้เกิดความไพเราะได้อย่างยอดเยีย่ ม
สุเทษณ์ : พีร่ กั และหวังวธุจะรัก และ บ ทอด บ ทิง้ ไป
มัทนา : พระรักสมัคร ณ พระหทัย ฤ จะทอดจะทิง้ เสีย?
สุเทษณ์ : ความรักละเหีย่ อุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย
มัทนา : ความรักระทดอุระละเหีย่ ฤ จะหายเพราะเคลียคลอ

เลือกคาโดยคานึงถึงคาพ้องเสียงและคาซา้
เมือ
่ นาคาพ้องเสียงมาเรียบเรียงหรือร้อยกรองเข้าด้วยกัน
จะทาให้เกิดเสียงไพเราะ เพิม่ ความพิศวง น่ าฟัง
หากใช้ในบทพรรณนาหรือบทคร่าครวญยิง่ ทาให้สะเทือนอารมณ์
สุเทษณ์ : โอ้โอ๋กระไรนะมะทะนา บ มิตอบพะจีพอ?
มัทนา : โอ้โอ๋กระไรอะมระง้อ มะทะนามิพอดี!
สุเทษณ์ : เสียแรงสุเทษณ์ นะประดิพทั ธ์ มะทะนา บ เปรมปรีดิ ์
มัทนา : แม้ขา้ บ เปรมปริยะฉะนี้ ผิจะโปรดก็เสียแรง

7
สุเทษณ์ : โอ้รูปวิลยั ะศุภะเลิศ บ มิควรจะใจแข็ง
มัทนา : โอ้รูปวิลยั ะมละแรง ละก็จาจะแข็งใจ

8
การเรียบเรียงคา
การเรียงเรียงคา คือ
การจัดวางคาทีเ่ ลือกสรรแล้วนัน ้ ให้ตอ่ เนื่องเป็ นลาดับ
ร้อยเรียงกันอย่างไพเราะ เหมาะสม ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษา
และได้จงั หวะ
ในกรณีทเี่ ป็ นบทร้อยกรองจะต้องถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์ ดว้ ย
เช่น การเรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน ้ ก่อน
แล้วจึงไล่ไปตามลาดับโดยนาประโยคทีส ่ าคัญทีไ่ ว้ทา้ ยสุด
ตัวอย่าง
สุเทศน์ : ยิง่ ฟังพะจีศรี ก็ระตีประมวลประมูล
ยิง่ ขัดก็ยงิ่ พูน ทุขะท่วมระทมหะทัย!
อ้าเจ้าลาเพาพักตร์ สิรลิ กั ษะณาวิไล
พีจ่ วนจะคลั่งไคล้ สติเพือ
่ พะวงอนงค์

การใช้โวหาร
มัทนะพาธามีการใช้โวหารภาพพจน์มากมาย ประกอบไปด้วย อุปมา
อุปลักษณ์ สัญลักษณ์ อติพจน์ เป็ นต้น
อุปมา
คณานางสนมเปรียบ ประหนึ่งกาและถ่อยที
วธูยอดฤดีพี่ ประหนึ่งหงส์สุพรรณ์ พรรณ
อุปมา คือการเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเหมือนกับอีกสิง่
มีคาทีแ
่ สดงความหมายเดียวกับคาว่า
“เหมือน” ปรากฏอยู่ เช่นในบทนี้
เป็ นการใช้อุปมาในการเปรียบเทียบความงามระหว่างนางสนมและมัทนาของ
ท้าวชัยเสน โดยเปรียบนางสนมเหมือนกับอีกา
และเปรียบมัทนาเหมือนกับหงส์
โดยความหึงส์หนักเพราะรักครัน ้ คะดิประทะทุษะพลัน
พลุง่ ประหนึ่งควัน กระทบตา,

บทนี้
แสดงถึงความหึงเพราะความรักทีม ่ ากเกินไปของสุเทษณ์ ทม
ี่ ีตอ
่ นางมัทนา
้ มาเหมือนควันทีล่ อยมากระทบตา ทาให้ระคายเคือง
ความหึงพุง่ ขึน
โกรธแค้นจนสุเทษณ์ ส่งั ฆ่ามัทนาในทีส ่ ุด
อุปลักษณ์
จิตระรถ: ผูน ้ ี้มีความรูช
้ ิน เชิงชาญโยคิน
และเชีย่ วอาถรรพวิทยา,

9
รูจ้ กั ใช้โยคะนิทรา ไปผูกหทยา แห่งผูท ้ อ
ี่ ยูแ
่ ม้ไกล,
อาจร่ายมนตร์เรียกมาได้
สุเทษณ์ : อ๊ะ ! จริงหรือไฉน?
จิตระรถ: ข้าบาทได้เห็นเองแล้ว
สุเทษณ์ : ถ้าจริงเฃาก็เป็ นแก้ว !
จิตระรถ: ข้าบาททราบแล้ว
จึงกล้านาตัวเขามา
อุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเป็ นอีกสิง่
ทีม ่ ีคณ
ุ สมบัตบ ิ างประการร่วมกัน มักใช้คาว่า
“คือ” และ “เป็ น” ในตัวอย่างข้างต้นนี้ สุเทษณ์ เอ่ยถึงมายาวินว่า
ถ้ามายาวินมีความรูด ้ งั ทีก ่ ล่าวมาจริง เขาก็เป็ นแก้ว ซึ่งแก้วเป็ นสิง่ ทีม ่ ีคา่
เพราะมายาวินมีความรูค ้ วามสามารถทีม ่ ีคา่ หาได้ยาก
อติพจน์
เจ้านายองค์ใดในตรีโลก ฤๅจะมี เหมือนพระผูน ้ ่ งั เกศา
ไปทั่วแดนมนุษสุดไกล บ่เว้นแห่งใด
กระทั่งยังขอบจักรวาล
ไปทั่วในแดนบาดาล ทั่วทุกสถาน ทุกถิน ่ จนจบภพไตร
การใช้โวหารอติพจน์ เป็ นการกล่าวเกินจากความเป็ นจริง เพือ ่ เน้นความรูส้ ก ึ
ทาให้ขอ ้ ความมีน้าหนักมากขึน ้ ในตัวอย่างนี้ ต้องการจะสือ ่ ว่า
ไม่มีพระมหากษัตริย์องค์ใดเสมอเหมือนเท่าท่านอีกแล้วในสามโลกนี้
การกล่าวถึงสามโลก และทั่วทุกภพจักรวาล เป็ นการกล่าวเกินความจริง
แสดงถึงการใช้อติพจน์ในเรือ ่ ง
สัญลักษณ์
จิตระรถ. ปรากฏพระนามนาง วิมาลาสุนารี
วิสุทธิว์ ศ ิ ษ
ิ ฏ์ที่ จะตินน ้ ั บ่พงึ หา
พระโฉมบ่แพ้โฉม สุระเทวะกัญญา.
สุเทษณ์ . แพ้ยอดฤดีขา้ ดุจะกากะเปรียบหงส์
ในตัวอย่างข้างต้นนี้ เป็ นการใช้สญ ั ลักษณ์ เปรียบเทียบ กา
เป็ นสัญลักษณ์ ของคนต่าต้อยไร้คา่ ในขณะทีห ่ งส์
เป็ นสัญลักษณ์ ของคนสูงศักดิ ์ จิตระรถกล่าวกับสุเทษณ์ ถงึ นางวิมาลา
ว่านางก็เป็ นผูห ้ ญิงทีง่ ดงาม แต่สุเทษณ์ กล่าวว่า
ถึงอย่างไรนางวิมาลาก็งามไม่เท่านางมัทนาอยูด ่ ี
สุเทษณ์ ใช้กาเป็ นสัญลักษณ์ แทนนางวิมาลา
และหงส์เป็ นสัญลักษณ์ ของนางมัทนา
ซึง่ หงส์มีความงดงามและมีคา่ มากกว่ากา
ไร้ปิ่นดิลกราชย์ หรือก็ชาติจะภินพัง
ไหนเลยจะคงตัง้ อิศรานุภาพครอง.

10
ในบทนี้ ปิ่ นเป็ นสัญลักษณ์ แทนองค์พระมหากษัตริย์ หรือท้าวชัยเสน
หากปราศจากปิ่ น หรือพระมหากษัตริย์แล้ว
ชาติก็คงไม่อาจตัง้ อยูเ่ ป็ นอิสรภาพได้

11
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณค่าด้านอารมณ์
คุณค่าทางด้านอารมณ์ หมายถึง
แรงบันดาลใจทีเ่ กิดขึน ้ จากผูป ้ ระพันธ์แล้วถ่ายโยงมายังผูอ ้ า่ น
ซึง่ ผูอ้ า่ นจะตีความวรรณกรรมนัน ้ ๆ
ออกมาซึง่ อาจจะตรงหรือคล้ายกับผูป ้ ระพันธ์ก็ได้ เช่น อารมณ์ โศก อารมณ์ รกั
อารมณ์ โกรธ เคียดแค้น เป็ นต้น
โดยวรรณกรรมจะเป็ นเครือ ่ งขัดเกลาอัธยาศัย
และกล่อมเกลาอารมณ์ ให้คลายความกังวล และความหมกมุน ่
หนุนจิตใจให้เกิดความผ่องแผ้วทาให้รส ู้ ก ึ ชืน
่ บาน และร่าเริงในชีวต

ทาให้หายจากความมีจต ิ ใจทีค
่ บั แคบรูค ้ า่ ความงามของธรรมชาติ
ความมีระเบียบเรียบร้อย ความดี ความงาม และความจริงหรือสัจธรรม
ทีแ ่ ฝงอยูก ่ บ
ั ความรืน
่ เริงบันเทิงใจ
หรือการได้รอ้ งให้กบ ั ตัวเอกของเรือ ่ งในหนังสือหรือหัวเราะกับคาพูดในหนังสื
อ ซึง่ ถือว่าเป็ นการแสดงออกทางอารมณ์ ทง้ ั สิน ้
ในบทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งมัทนะพาธาทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยูห ่ วั ทรงได้พระราชนิพนธ์เอาไว้นน ้ั
ทรงพระปรีชาได้สะท้อนความรูส้ ก ึ และอารมณ์ ของความรักและความทุกข์
และเรียบเรียงความรูส้ ก ึ ออกมาสือ ่ สารเป็ นบทละครพูดได้อย่างดี
ดั่งตัวอย่างในตอนทีห ่ ลังจากสุเทษณ์ ได้สลายมนต์ตอ ่ หน้านางมัทนาแล้ว
เมือ ่ นางมัทนารูส้ ก ึ ตัวก็มีความรูส้ ก ึ ทัง้ ความโศกเศร้าและความเจ็บปวด
จึงได้แต่รอ้ งไห้โอดครวญและได้แต่ชกั ถามว่าทาไมสุเทษณ์ ถงึ ทาแบบนี้

สุเทษณ์ : อ้ามัทนาโฉมฉาย เฉิดช่วงดังสาย


วิชชุประโชติอมั พร
ไหนไหนก็เจ้าสายสมร มาแล้วจะร้อน
จะรนและรีบไปไหน?

มัทนา: เทวะ,อันข้านี้ไซร้ มานี่อย่างไร


บทราบสานึกสักนิด;
จาได้วา่ ข้าสถิต ในสวนมาลิศ
และลมราเพยเชยใจ,
แต่อยูด
่ ดี ท
ี น
ั ใด บังเกิดร้อนใน
อุระประหนึ่งไฟผลาญ,
ร้อนจนสุดทีท ่ นทาน แรงไฟในราน
ก็ลม
้ ลงสิน
้ สมฤดี.
ฉันใดมาได้แห่งนี้? หรือว่าได้มี

12
ผูใ้ ดไปอุม ้ ข้ามา?
ขอพระองค์จงเมตตา และงดโทษข้า
ผูบ ้ ุกรุกถึงลานใน.

สุเทษณ์ : อ้าอรเอกองค์อุไร พีจ่ ะบอกให้


เจ้าทราบคดีดงั จินต์;
พีเ่ องใช้มายาวิน ให้เชิญยุพน

มาทีน่ ี้ดว้ ยอาถรรพณ์

มัทนา: เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึง่ ทาเช่นนัน



ให้ขา้ พระบาทต้องอาย
แก่หมูช
่ าวฟ้ าทัง้ หลาย? โอ้พระฦๅสาย
พระองค์จงทรงปรานี.

ซึง่ บทนี้ถือว่าเป็ นบททีส่ ามารถแสดงออกถึงอารมณ์ ของตัวละครได้อย่าง


เห็นได้ชดั
จึงทาให้ผอ ู้ า่ นได้รบ
ั รูแ
้ ละทาความเข้าใจเกีย่ วกับสิง่ ทีจ่ ะสือ
่ ถึงอารมณ์ ของตัวละ
ครในฉากต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย

คุณค่าด้านคุณธรรม
บทละครพูดคาฉันท์เรือ ่ งมัทนะพาธานี้ยงั ได้สะท้อนแง่คด ิ เอาไว้ให้คนใ
นสังคมได้เข้าใจตรงตามพุทธวัจนะทีว่ า่ "ทีใ่ ดมีรกั ทีน ่ ่น
ั มีทุกข์"
ยกตัวอย่างเช่น
สุเทษณ์ ได้พบรักกับนางมัทนาแต่ก็ไม่สมหวังก็มีแต่จะพลอยทาให้เป็ นทุกข์
ถึงแม้สุเทษณ์ จะเป็ นถึงเทพบุตรทีม ่ ีอท ์ ากมายแต่ก็ไม่สามารถครองใจแ
ิ ธิฤทธิม
ม้กระทัง้ ความรักของนางมัทนาได้ จึงมุง่ หวังแต่จะทาลาย
ความรักลักษณะเช่นนี้จงึ เป็ นความรักทีเ่ ต็มไปด้วยความลุม ่ หลงและความเห็น
แก่ตวั จึงแนะนาให้ควรหลีกเลีย่ งความรักลักษณะนี้ไว้
นอกจากนี้
บทละครพูดยังสะท้อนให้เห็นค่านิยมเกีย่ วกับการครองรักระหว่างหญิงชายต้อ
งเกิดจากความพึงพอใจทัง้ สองฝ่ าย มิใช่เกิดจากการบังคับขูเ่ ข็ญให้รบ ั รัก
จึงจะเกิดความสุขในชีวต ิ ได้อีกด้วย

คุณค่าด้านวัฒนธรรม
่ วั ซึง่ เป็ นกวีผแ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ู้ ต่งเรือ่ งนี้
ทรงได้กาหนดเนื้อเรือ
่ ง ตัวละคร
และฉากต่างๆตรงตามวัฒนธรรมของชาวอินเดียโบราณทีถ ่ ือว่าสอดคล้องกับวั
ฒนธรรมไทย

13
เนื่องจากว่าไทยนัน ้ ได้รบ ั วัฒนธรรมส่วนใหญ่มาจากอินเดียทัง้ นัน ้
โดยเฉพาะความเชือ ่ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับความเชือ ่ เรือ
่ งสวรรค์
ซึง่ มีเทวดาอันมีฤธานุภาพสามารถดลบันดาลให้เป็ นไปต่างๆได้
เห็นได้ชดั จากการทีส ่ ุเทษณ์
ซึง่ เป็ นเทพบุตรผูม ้ ีอานาจมากมายนัน ้ สามารถสาปนางมัทนาให้ไปจุตเิ กิดเป็ น
ดอกกุหลาบบนโลกมนุษย์ได้ตามทีน ่ างขอ
อีกทัง้ ยังรวมไปถึงความเชือ ่ เรือ
่ งเวทมนตร์คาถาทีส ่ ามารถบังคับบางสิง่ ให้เป็ น
ไปตามต้องการได้ดว้ ย
เห็นจากทีม ่ ายาวินใช้เวทมนตร์สะกดนางมัทนาให้มาหาและพูดโต้ตอบกับสุเท
ษณ์ ได้ โดยทีต ่ วั นางมัทนาเองนัน ้ ไม่รสู้ ก
ึ ตัวเลยแม้แต่นิดเดียว

14
บรรณานุกรม
กิง่ กาญจน์. การใช้ภาษาให้งดงาม[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
่ ๑๘ พฤษภาคม
๒๕๖๑. สืบค้นได้จาก
https://kingkarnk288.wordpress.com/2015/08/24/%E0%B8%81
%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0
%B9%89%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8
%B2%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%87%
E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1/

ข้อมูล ป่ าหิมพานต์ สัตว์หม


ิ พานต์ ป่ าในวรรณคดีและความเชือ

ตามคติศาสนาพุทธและฮินดู [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ ่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑.
สืบค้นได้จาก https://lifestyle.campus-
star.com/knowledge/86055.html

บุญกว้าง ศรีสุทโธ. มัทนะพาธา [ออนไลน์ ]. เข้าถึงเมือ


่ ๒๕ พฤษภาคม
๒๕๖๑. สืบค้นได้จาก
http://sites.google.com/a/htp.ac.th/mathna-phatha/7-bth-
wikheraah/7-2-khunkha-dan-wrrnsilp

ศึกษาธิการ, กระทรวง. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย


วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชน
้ ั มัธยมศึกษาปี ที่ ๕. พิมพ์ครัง้ ที่ ๖. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์สกสค. ลาดพร้าว, ๒๕๕๖. ๑๓๑ หน้า

15

You might also like