You are on page 1of 11

รายงานเชิงวิชาการ

การอา่ นและพิจารณาวรรณคดีเรื่ อง สามก๊กตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ


โดย
นายธารทอง ฉิ่ มออ่ ง ้ ั ธยมศก
ชั นม ึ ษาปี ที่ 5/9 เลขที่ 5
นายธนพล กุลไพศาลธรรม ชั นม ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที่ 5/9เลขที่ 9
นางสาวอริ สรา ภัทรอัจฉริ ยกุล ชั นม้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที่ 5/9เลขที่ 14
นางสาวณิ ชา วุฒส ิ ารเจริ ญ ชั นม ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที่ 5/9เลขที่ 21

เสนอ
อ.พนมศั กดิ์ มนู ญปรัชญาภรณ์

ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศก


ึ ษา 2560
โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของกิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเป็ นฐาน (Project
Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั นม ้ ั ธยมศกึ ษาปี ที่ 5
คาํ นํา
รายงานฉบับนี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของวิชา ภาษาไทย ชั นม ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที่ ๕ โดยมีจุด
ประสงค์ เพื่อการศก ึ ษาความรู้ ท่ีไดจ้ ากเรื่ องสามก๊ก ซ่ึงรายงานนี้ มีเนื้ อหาเกี่ยวกับ
การอธิบาย วิเคราะห์
เนื้ อเรื่ องและตัวละคร ในเนื้ อหารายงานจะมีขอ ้ มูลเกี่ยวกับสามก๊ก ตอน กวนอูไป
รับราชการกับโจโฉ จะมีการแบง่ เป็ นหัวขอ ้ ยอ่ ยๆคือ เนื้ อเรื่ อง ตัวละคร ภาษาใน
วรรณคดีเนื้ อหาของรายงานเลม ่ นี้ มาจากการศก ึ ษา
คน้ ควา้ หาขอ ้ มูลจากแบบเรี ยน หนังสอ ื และอินเทอร์เน็ ต

้ นี้ ในการทาํ รายงาน เนื่ องมาจากเป็ นเรื่ องที่สนใจ ภาษาที่ใช้


ผูจ้ ั ดทาํ ไดเ้ ลือก หัวขอ
ก็เป็ นโวหารเปรี ยเทียบที่คมคายและเป็ นคติสอนใจ ​ผูจ้ ั ดทาํ จะตอ ้ งขอขอบคุณ
อ.พนมศั กดิ์ มนู ญปรัชญาภรณ์ผูใ้ ห้ความรู้ และแนวทางการศก ึ ษา เพื่อน ๆ ทุก
คนที่ให้ ความชว่ ยเหลือมาโดยตลอด ผูจ้ ั ดทาํ หวังวา่ รายงานฉบับนี้ จะให้ความรู้
และเป็ นประโยชน์แกผ ่ ูอ
้ า่ นทุก ๆ ทา่ น

จัดทาํ โดย
นายธารทอง ฉิ่ มออ่ ง
นายธนพล กุลไพศาลธรรม
นางสาวอริ สรา ภัทรอัจฉริ ยกุล
นางสาวณิ ชา วุฒส
ิ ารเจริ ญ

สารบัญ
1. การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบ
ดว้ ย
1.1 เนื้ อเรื่ อง หรื อเนื้ อเรื่ องยอ่
1.2 โครงเรื่ อง
1.3 ตัวละคร
1.4 ฉากทอ ้ งเรื่ อง
1.5 บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน และ
1.6 แกน ่ เรื่ องหรื อสารัตถะของเรื่ อง
2. การอา่ นและพิจารณาการใชภ ้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบดว้ ย
2.1 การสรรคาํ
2.2 การเรี ยบเรี ยงคาํ
2.3 การใชโ้ วหาร
3. การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1 คุณคา่ ดา้ นอารมณ์
3.2 คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม
3.3 คุณคา่ ดา้ นอื่นๆ

การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

1.1 เนื้ อเรื่ อง


ในชว่ งที่โจโฉเป็ นมหาอุปราช เลา่ ปี่ ซ่ึงกาํ ลังปกครองซีจิว๋ อยูไ่ ดห ้ นี ภัยไปที่เมืองกิจิว๋ เนื่ องจาก
ไดต ้ กเป็ นเป้าหมายที่จะถูกยึดเมืองโดยโจโฉเพื่อที่จะลอ่ ให้กวนอูออกมาร่วมมือ โดยให้เตียว
เลี้ยว ทหารฝั่งโจโฉซ่ึงเป็ นหนี้ บุญคุณมาเกลี้ยกลอ่ มให้ไปอยูฝ ่ ่ ายตน กวนอูยอมรับโดยขอ
เงื่องไขสามขอ ้ ไดแ ้ กข่ อให้ตนเป็ นพระเจา้ เหี้ยนเต้ ไดด ้ ูแลสะใภ้สองคน และสามารถไปหาเลา่
ปี่ ทันทีท่ีรู้ท่ีอยู ่ โจโฉเห็นทีจะไมต ่ กลง เนื่ องจากกวนอูอาจจะหักหลังตนเมื่อไดพ ้ นเลา่ ปี่ เตียว
เลี้ยวจึงชว่ ยเกี้ยกลอ่ มโดยการบรรยายความกตัญ ของกวนอูให้ฟัง จึงยอมรับ อยา่ งไรก็ตาม
กวนอูยังคงสวามิภักดิต ์ อ่ เลา่ ปี่ ไมเ่ ปลี่ยน แตไ่ มไ่ ดห
้ ั กหลังโจโฉแตอ่ ยา่ งใด

1.2 โครงเรื่ อง
เจา้ เมืองไดช้ ั กชวนคนที่มีความสามารถจากฝั่งศั ตรู มาอยูฝ
่ ั ่ งตน ถึงแมก
้ ลัววา่ ตนจะถูกหักหลัง
โดยยึดมั่นในความซ่ือสั ตย ์

1.3 ตัวละคร
● เลา่ ปี่ มีเชื้อสายราชวงศฮ์ ั ่น เดิมทีฐานะยากจน เป็ นหนึ่ งในสามพี่น้องร่วมสาบาน มีช่ือ
จากการไปชว่ ยปราบโจรโพกผา้ เหลือง เป็ นที่รักของคน มีนิสัยออ่ นโยน
● กวนอู หนึ่ งในพี่น้องร่วมสาบาน เป็ นคนมีความซ่ือสั ตยส์ ูง เป็ นที่เชื่อใจของหลายฝั่ง
หัวดี ใวห ้ นวดเครา ถืองา้ วเป็ นสั ญลักษณ์ เป็ นเจา้ เมืองเกงจิว๋
● โจโฉ ผูม ้ ีอาํ นาจเหนื อกวา่ ฮอ่ งเต้ ลือกันวา่ ยอมทรยศคนทังโลก้ แตไ่ มย่ อมให้ใครมา
ทรยศตน เกง่ กาจดา้ นกลยุทธ์ เคยมีตาํ แหน่งสูงสุดถึงหาอุปราช มีนิสัยเห็นแกผ ่ ล
ประโยชน์ตนเป็ นหลัก
● เตียวเลี้ยว เป็ นทหารมา้ มากความสามารถแตเ่ ปี่ ยมไปดว้ ยคุณธรรม มีความสามารถ
ตอ่ สูเ้ ด็ดเดี่ยว ทังย้ ั งถูกคอกับกวนอูและก็ไดร้ ั บความเชื่อใจจากโจโฉ

้ งเรื่ อง
1.4 ทอ
เหตุเกิด ณ เมืองซีจิว๋ ในประเทศจีนสมัยรัชการพระเจา้ เลนเต้ ไ​ ดเ้ กิดการยกทัพใหญม
่ าร้อมร
อบยึดครอง

1.5 บทเจรจาหรื อราํ พึงราํ พัน


● “ เส้อ ื เกา่ นี้ ของเลา่ ปี่ ให้ บัดนี้ เลา่ ปี่ ไปอยูท ่ ่ีใดมิไดแ ้ จง้ ขา้ พเจา้ จึงเอาเส้อ ื ผืนนี้

ใสช่ ั นนอก หวังจะ ดูตา่ งหน้าเลา่ ปี่ ครัน ้ จะเอาเส้อ ื ใหมน ้
้ ใสช่ ั นนอก
่ ัน คนทัง้
ปวงจะครหานิ นทาวา่ ไดใ้ หมแ ่ ลว้ ลืมเกา่ ”
○ แสดงให้เห็นวา่ การที่กวนอูเอาเส้อ ื เกา่ ใสข่ า้ งนอกเส้อ ื ใหมท ่ ่ีโจโฉให้
้ เป็ นการแสดงถึง ความจงรักภักดีและความซ่ือสั ตยท
นัน ์ ่ีกวนอูมีตอ่
เลา่ ปี่
● “อันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ”
○ แสดงให้เห็นวา่ กวนอูนัน ้ เป้นคนกลา้ หาญไมก ่ ลัวความตาย
● “ธรรมดาเกิดมาเป็ นชายให้รู้จักที่หนักที่เบา ถา้ ผูใ้ ดมิไดร้ ู้ จักที่หนักที่เบา คน

ทังปวงก็ ลว่ งติเตียนวา่ ผูน ้ หาสติปัญญาไม”่
้ ัน
○ แสดงให้เห็นวา่ การที่เรารู้ สงิ่ ใดควรทาํ หรื อไมค ่ วรทาํ เป็ นสงิ่ ที่ดีและ
คนที่มีสติปัญญา
พึงกระทาํ
● “ซ่ึงมหาอุปราชนี้ มีคุณแกเ่ ราก็จริ งอยู ่ แตจ่ ะเปรี ยบเลา่ ปี่ นัน ้ ยังมิได้ ดว้ ยเลา่ ปี่
้ มีคุณแกเ่ รากอ
นัน ่ น ประการหนึ่ ง ก็ไดส ้ าบานไวต ้ อ่ กันวา่ เป็ นพี่น้อง เราจึง
ไดต ้ ั กษาสั ตยอ์ ยูท
้ ั งใจร ่ ุกวันนี้ เราก็คด ิ ถึงคุณมหาอุปราชอยู ่ มิไดข้ าดถึง
มาตรวา่ เราจะไปจากก็จะขอแทนคุณเสยี กอ ่ น ให้มีช่ือปรากฏไวเ้ ราจึงจะไป”
○ แสดงให้เห็นวา่ กวนอูนัน ้ มีความกตัญ ตอ่ ผูม ้ ีพระคุณอยูเ่ สมอ แมว้ า่
กวนอูยังมีความซ่ือสั ตยแ์ ละภักดีให้เลา่ ปี่ อยูต ่ ลอด แตเ่ ขาก็ยังไมล่ ืม
คงไมล่ ืมตอบแทนบุญคุณของโจโฉ

1.6 แกน ่ เรื่ องหรื อสารัตถะของเรื่ อง


แกน ่ ของเรื่ องสามก๊ก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ไดแ ้ สดงถึงความ
จงรักภักดี และความซ่ือสั ตย ์ ที่กวนอูแสดงตอ่ เลา่ ปี่ ไมว่ า่ โจโฉจะพยามยามทาํ ดี
ดว้ ยเทา่ ไหร่กต็ าม กวนอูกย็ ั งคงยึดคาํ มั่นสั ญญาที่เคยให้ ไวเ้ สมอ

การพิจารณาการใชภ
้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. การสรรคาํ
● วรรณคดีสามก๊กฉบับนี้ เป็ นฉบับแปล ซ่ึงไดม ้ ีการใชโ้ วหารอยา่ งงา่ ยเพื่อให้
้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจงา่ ย ฉะนัน
ผูอ ้ จึงมีบางสาํ นวนที่ไมค ้ ตาในสมัยนี้ เชน
่ ุน ่ เสยี
นํา้ ใจ และหม ่ เส้อ ื
● อยา่ งไรก็ตามแมว้ า่ ศั พทบ ์ างคาํ ไมไ่ ดน ้ ํามาใชใ้ นปัจจุบัน แตก ่ ย็ ั งสามารถ
เขา้ ใจงา่ ย ทังย ้ ั งมีการเรี ยบเรี ยงคาํ ให้สวยงาม ซ่ึงทาํ ให้ผูอ ้ า่ นสามารถเขา้ ใจ
ในเนื้ อหาไดอ ้ ยา่ งถูกตอ ้ งและชั ดเจน
● วรรณคดีเรื่ องสามก๊กเป็ นวรรณคดีจีน จึงทาํ ให้มีคาํ ศั พทภ ์ าษาจีนปรากฎใน
เรื่ องซ่ึงเป็ นศั พทเ์ ฉพาะ เชน ่ สถานที่ (เมืองกิจิว๋ ) ชื่อตัวละคร(กวนอู เลา่ าปี
และโจโฉ) อยา่ งไรก็ตามศั พทเ์ ฉพาะเหลา่ นัน ้ ประกอบไปดว้ ย พยัญชนะ
สระ วรรณยุกตใ์ นรู ปแบบที่ตรงตัว จึงสามารทาํ ให้ผูอ ้ า่ นจาํ และอา่ นได้
● ในเรื่ อง สามก๊ก ผูแ ้ ตง่ ไดใ้ ชค ้ าํ บุรุษสรรพนามไดเ้ หมาะสมกับตัวละคร เชน ่
ประโยคที่เตียวหุยพูดกับเลา่ ปี่ “อันทัพโจโฉยกมาครัง้ นี้ ถา้ จะละให้ตังลงได ้ ้
จะมีกาํ ลังทาํ การศก ึ คิดร้ายแกเ่ รา ...ขา้ พเจา้ จะอาสาคุมทหารยกออกไป
โจมตีกองทัพโจโฉ”

2. การเรี ยบเรี ยงคาํ


เมื่อไดค
้ าํ ที่เลือกสรรแลว้ ก็ตอ ้ งนําคาํ เหลา่ นัน ้ มาเรี ยบเรี ยง อยา่ ง
ไพเราะเหมาะสม ในเรื่ องสามก๊กมีการเรี ยบเรี ยงคาํ หลากหลายแบบ ดังตอ่
ไปนี้
2.1 เรี ยงขอ ้ ความที่บรรจุสารสาํ คัญไวท ้ า้ ยสุด
ในวรรณคดี
ในเรื่ อง สามก๊ก ไดบ ้ รรจุสาระสาํ คัญไวท ้ า้ ยสุดของแตล่ ะ
ประโยค เพื่อเน้นความหมายให้ชัดเจนยิง่ ขึ้นและทาํ ให้ประโยค
กระชั บหนักแน่นตรงจุดประสงคข์ องผูแ ้ ตง่ มีดังนี้
1)เลา่ ปี่ จึงคิดวา่ ทหารโจโฉเขา้ ตีเมืองไดแ ้ ลว้ จึงขับมา้ พาทหาร
หนี ไปถึงปากเมืองชีจิว๋ แลเมืองแห้ฝือ
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นได้ ใจความสาํ คัญคือเลา่ ปี่ ขับมา้
พาทหารหนี ไปเมืองชีจิว๋ เเลเมืองแห้ฝือ
2)เตียนห้องไดย้ น ิ อว้ นเส้ยี ววา่ ดังนัน ้ ก็โกรธ
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นได้ ใจความสาํ คัญคือเตียนห้อง
โกรธที่อว้ นเส้ยี ววา่
3)ถา้ อับจนเขา้ ก็มาหาเราได้ เราจะชว่ ยทาํ นุ บาํ รุ งมิให้ขัดสน
จากขอ ้ ความขา้ งตน
้ จะเห็นไดว้ า่ ใจความสาํ คัญคือเราจะชว่ ย
ทาํ นุ บาํ รุ งมีให้ขัดสน ถา้ กากวา่ อับจน
2.2 เรี ยงคาํ วลี หรื อประโยคที่มีความสาํ คัญเทา่ ๆ กัน เคียงขนานกัน
ไป
1)ขา้ พเจา้ ยังไมห ่ ายแคน ้ จึงลอบเขา้ มาจะทาํ ร้ายทา่ นอีกทา่ นก็จับได้
แลโทษขา้ พเจา้ นี้ ถึงตายตามทา่ นจะโปรดเถิด
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ แสดงเห็นวา่ มีประโยคมีความสาํ คัญเทา่ ๆกัน ที่อิ
เยียงพูดวา่ ตัวเองผิดไม่
สมควรไดร้ ั บการให้อภัย
2.3 เรี ยบเรี ยงประโยคให้เนื้ อหาเขม ้ ขน ้ ขึ้นไปตามลาํ ดับ
้ ั นไดจนถึงขันสุ
ดุจขันบ ้ ดทา้ ยที่สุด
1)ตัวเราเกิดเป็ นชายรักษาสั ตยม ์ ิให้เสยี วาจา ถึงมาตราวา่ เลา่
ปี่ จะถึงแกค ่ วามตาย เราก็จะตายไปตามความที่ไดส ้ าบานไว้
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นวา่ เนื้ อหาเขม ้ ขึ้นไปตามลาํ ดับจน
สุดทา้ ยที่วา่ เราจะตายไปตามความที่ไดส ้ าบานไว้
2)เราจะขอเป็ นขา้ พระเจา้ เหี้ยนเตป ้ ระการหนึ่ ง เราจะขอปฏิบัติ
พี่สะใภ้เราทังสอง ้ แลอยา่ ให้ผูใ้ ดออกกลาํ ้ กรายเขา้ ถึงประตูท่ีอยูไ่ ด้
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ เนื้ อเขม ้ ขน้ ขึ้นไปตามลาํ ดับจนสุดตังแต ้ เ่ รา
จะขอเป็ นขา้ พเจา้ เหี้ยเตป ้ ระการหนึ่ งจนถึงแลอยา่ ให้ผูใ้ ดออก
กลาํ ้ กรายเขา้ ถึงประตูได้
2.4 เรี ยบเรี ยงถอ ้ ยคาํ ให้เป็ นประโยคคาํ ถามเชิงวาทศลิ ป์
ในเรื่ องสามก๊กมีการเรี ยบเรี ยงถอ ้ ยคาํ ให้เป็ นประโยคคาํ ถามเชิง
วาทศลิ ป์อยูเ่ ยอะ เพื่อเร้าอารมณ์ผูฟ ้ั ง
1)เหตุใดทา่ นมาคิดยอ่ ทอ ้ จะมาตีตัวตายกอ ่ นไขน ้ ไมค
้ ัน ่ วร
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ เป็ นคาํ ถามชนิ ดนี้ ไมไ่ ดป ้ ระสงคใ์ ห้ผูอ
้ า่ น
หรื อผูฟ้ ั งตอบคาํ ถาม
2)ถา้ เราจะเอาใจออกหากบัดนี้ ก็หาผูใ้ ดจะนับถือวา่ เป็ นชายไม่
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ เป็ นการเสนอแนวคิดอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ งที่
ตอ ้ งการนําเสนอ ไมไ่ ดต ้ อ ้ งการให้ผูอ ้ า่ นตอบ
3)ถา้ ผูใ้ ดมิไดร้ ู้ จักที่หนักเยา คนทังปวงก็ ้ จะลว่ งติเตียนวา่ ผูน ้
้ ัน
หาสติปัญญาไม่
จากขอ
้ ความขา้ งตน ้ เป็ นการเสนอแนวคิดที่ตอ
้ งการนําเสนอ
้ ระสงคใ์ ห้ผูอ
ไมไ่ ดป ้ า่ นหรื อผูฟ
้ ั งตอบ

3. การใชโ้ วหาร
สามก๊กเน้นใชโ้ วหาร เปรี ยบเทียบที่คมคายและเป็ นคติสอนใจ
1. การเปรี ยบเทียบสงิ่ หนึ่ งเหมือนกับอีกสงิ่ หนึ่ ง
การเปรี ยบเทียบดว้ ยวิธีน้ี จะมีคาแสดงความหมายอยา่ งเดียวกับคาํ วา่
“เหมือน” ปรากฏอยู ่ ดว้ ย เชน ่ ราว ราวกับเปรี ยบ ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง เฉก
เชน ่ เพียง เพี้ยง ประหนึ่ ง ถนัด เป็ นตน ้ โวหารชนิ ดนี้ เรี ยกวา่ อุปมา
ตัวอยา่ ง: สวยเหมือนนางฟ้า
อุปมาโวหารที่ปรากฏในสามก๊กตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ มี
ดังนี้
1)ถึงมาตราวา่ ทา่ นจะไดค ้ วามลาํ บากก็อุปมาเหมือนหนึ่ งลุยเพลิงอัน
ลุกเเลขา้ มพระมหาสมุทรอันกวา้ งใหญ่
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นวา่ มีการเปรี ยบเทียบการที่เราเผชิญความ
ยากลาํ บากเหมือนเราตอ ้ งลุยเพลิงลุกแลขา้ มพระมหาสมุทรอันกวา้ งใหญ่
2)ถา้ ละชา้ ไวก ้ จ็ ะมีกาํ ลังมากขึ้น อุปมาเหมือนลูกนกอันขนปี กยังไม่
ขึ้นพร้อม
จากประโยคขา้ งตน ้ จะเห็นวา่ มีการเปรี ยบเทียบ การปลอ่ ยศั ตรู ไวน ้ ัน้
ก็เหมือนการที่ปลอ่ ยให้พวกมันเติบโตเหมือนกับลูกนกที่ยังไมม ่ ีขนไมแ ่ ข็ง
แรงแตเ่ มื่อเติบโตขึ้นก็มีขนสามารถบินไดอ ้ ยา่ งสงา่ งามและแข็งแกร่ง
3)อันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นวา่ มีการอุปมาความตายเหมือนนอนหลับ
ที่จะส่อ ื วา่ ความตายเป็ นการนอนหลับแบบหนึ่ งซ่ึงการนอนหลับแบบนี้ จะ
พิเศษกวา่ แบบปกติทั่วไปเพราะการนอนหลับแบบนี้ จะเป็ นการนอนหลับ
แบบถาวรซ่ึงจะไมส ่ ามารถตื่นขึ้นมาไดอ ้ ีก
4)ครัน ้ จะเอาเส้อ ื ใหมน ่ ัน ้
้ ใสช่ ั นนอก ้
คนทังปวงจะครหานิ นทาวา่ ได้
ใหมแ ่ ลว้ ลืมเกา่
จากขอ ้ ความขา้ งตน ้ จะเห็นวา่ มีการเปรี ยบเทียบระหวา่ งเส้อ ื ใหมก ่ ับ
เหมือนสามีหรื อภรรยาใหมแ ่ ละเส้อ ื เกา่ กับภรรยาหรื อสามีเกา่ ซ่ึงไดบ้ อก
วา่ การใสเ่ ส้อ ื ใหมไ่ วข้ า้ งนอกแลว้ ใสเ่ ส้อ ื เกา่ ไวข้ า้ งในก็เหมือนการไดส ้ ามี
หรื อภรรยาใหมแ ่ ลว้ ลืมคนเกา่
5)ตัวเราเกิดมาเป็ นชายรักษาสั ตยม ์ ิให้เสยี วาจาถึงมาตรวา่ เลา่ ปี่ จะ
ถึงแกค ่ วามตาย เราก็จะตายไปตามความที่สาบานไว้
จากขอ้ ความขา้ งตน้ จะเห็นวา่ มีอุปมาวา่ เสยี ชีพอยา่ เสยี สั จเหมือนเลา่
ปี่ ที่ยอมตายตามคาํ สาบานที่เคยให้ไว้ ที่จะส่อ ื วา่
6)ธรรมดาเกิดมาเป็ นชายให้รู้จักที่หนักที่เบา ถา้ ผูใ้ ดมิไดร้ ู้ จักทีห
่ นักที ่

เบา คนทังปวงก็ ้ หามีสติปัญญาไม่
้ ัน
จะลว่ งติเตียนวา่ ผูน
จากขอ ้ ความขา้ งตน้ จะเห็นวา่ เป็ นการแนะนําให้กวนอูใ่ คร่ครวญ
เปรี ยบเทียบระหวา่ งนํา้ หนักบุญคุณของโจโฉกับของเลา่ ปี่ เพื่อจะไดต ้ อยฃบแทร
้ ามที่ควร
ไดต

​ ารอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและ



วรรณกรรม

1.คุณคา่ ดา้ นอารมณ์


ในเรื่ องสามก็ก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากสว่ น
ของดา้ นอารมณ์คือ ผูเ้ ขียนสามารถเขียนให้ผูอ ้ า่ นสามารถเขา้ ใจถึงอารมณ์ไดเ้ ป็ น
อยา่ งดีและทาํ ให้ผูอ ึ ของตัวละคร เชน
้ า่ นเขา้ ใจถึงอารมณ์ความรู้ สก ้ มี
่ กวนอู นัน
ความกตัญ ตอ่ ผูอ ้ ่ืนมาก เพราะกวนอูจะกลับมาตอบแทนบุญคุณกับ โจโฉ
เนื่ องจากโจโฉทาํ ตามสั ญญาทุกอยา่ งที่กวนอูขอไว้

2.คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม


ในเรื่ องสามก๊ก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากสว่ น
ของดา้ นคุณธรรมคือ มีสัจจะในการพูด แสดงถึงความซ่ือสั ตยต ้ ่ืน รู้ จักการ
์ อ่ ผูอ
เคารพและกตัญ ตอ่ ผูอ ้ ่ ืน

3.คุณคา่ ดา้ นอื่นๆ


● การทาํ สงครามนัน้ มิใชใ่ ชก
้ าํ ลังทหารเพียงอยา่ งเดียว การทาํ สงคราม ตอ
้ ง
อาศั ยสติปัญญา
● บุคลิกภาพของผูน้ ํา นอกจากการจะตอ ้ งมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด เชี่ยวชาญ
ในการรบแลว้ ควรมีความพยายามและความอดทนในการทาํ การที่มุง่ หวัง
้ นเกี่ยวกับขนบธรรมเนี ยมประเพณี ตา่ งๆ ของสั งคมจีน
● สะทอ
○ การให้ของกาํ นัลเป็ นสงิ่ ที่ชาวจีนทาํ กันในทุกโอกาส
● สะทอ้ นเรื่ องความเชื่อของคนในสั งคม
○ ความเชื่อในโชคลาง
○ ความเชื่อเรื่ องบุญกรรมที่ตนไดก ้ ระทาํ ไว้

บรรรณานุ กรม
 
ศึกษาธิการ, กระทรวง. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. พ​ ิมพครั้งที่ 5. 
สกสค. ลาดพราว, 2557. 131 หนา

You might also like