You are on page 1of 25

การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง คัมภีรฉันทศาสตร

แพทยศาสตรสงเคราะห
โดย : นางสาวณัฐรัชต เกษร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 8
นายศกรชน เมตตาริกานนท ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 11
นางสาวปริยากร นิธิกุลตานนท ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 13
นางสาวณกมล แสนสุขทวีทรัพย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 เลขที่ 18
เนื้อเรื่องยอ
● ในคัมภีรฉันทศาสตรแพทยศาสตรสงเคราะหนั้นไดพูดถึงความสําคัญของหมอในสมัยกอน โดย
เปรียบเทียบรางกายของมนุษยกับเมืองนคร
-มีหัวใจเหมือนกษัตริยผ◌ูปกครองเมือง
-มีนํ้าดีเหมือนวังหนาคอยกันขาศึกกลาวคือโรคภัยไขเจ็บ -มีอาหารที่เปรียบเหมือนกองเสบียง
ไพรพล
-แพทยมีหนาที่ดูแลหัวใจ นํ้าดีและอาหาร เพื่อไมใหโรครายมาจูโจม

● แพทยตองทําการตรวจและวินิจฉัยเปนอยางดี มิฉะนั้นอาจทําใหผ◌ูปวยเสียชีวิตได

● ผ◌ูที่จะศึกษาแพทยศาสตรนั้นจําเปนตองใสใจและมีความละเอียดออน เพื่อที่จะรักษาโรคตางๆ
ไดอยางชํานาญเพราะการมีโรคนั้นถือวาเปนกรรมหนักที่เกิดมาจากความโลภ
โครงเรื่อง
● โครงเรื่องเปนการกลาวถึงความสัมพันธระหวางรางกายมนุษยและแพทยที่เปนผ◌ูรักษา ซึ่งในตัว
เรื่องไดกลาวถึงวิธีการรักษาของแพทยโดยใชยาและคุณสมบัติที่แพทยควรมีกอนที่จะรักษา ผ◌ูปวย
นับวาเปนเหมือนกับหนังสือพื้นฐานของแพทยสมัยกอนที่ตองศึกษาเพื่อที่จะเปนหมอทําการรักษาคน
อื่น
แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
● ผ◌ูแตงคําภีรฉันทศาสตรแพทยศาสตรตองการที่จะสื่อถึงขอดีในการรักษาผูปวยโดยไมหวังผล
ประโยชนตรงขามกันกับแพทยบางกลุมที่หวังแตผลประโยชนจากคนไขโดยไมสนใจจุดประสงคของ
การเปน แพทยที่แทจริง
การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคํา
● การที่กวีจะเลือกใชคําในการนํามาแตงนั้น จะตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับ
เนื้อเรื่องและฐานันดรศักดิ์ของตัวละครในเรื่องเปนสําคัญ
● อีกทั้งยังตองคํานึงถึงความสอดคลองกับรูปแบบของรอยแกวหรือรอยกรองที่นํา
มาเขียน โดยการใชเลือกถอยคําที่ทําใหเกิดคุณคา มีความไพเราะ และเหมาะสม
กับเนื้อเรื่อง ดังนี้
๑.๑ เลือกใชคําใหถูกตองตรงตามความหมายที่
ตองการ
● ผูแตงไดเลือกคําที่สื่อความหมายและความคิดไดอยางเหมาะสม ทําใหเขาใจงายจากการอานในครั้งแรก
ดังตัวอยาง

รูแลวอยาอวดรู พินิจดูอยาหมิ่นเมิน
ควรยาหรือยาเกิน กวาโรคนั้นจึ่งกลับกลาย
ถนอมทําแตพอควร อยาโดยดวนเอาพลันหาย
ผิโรคนั้นกลับกลาย จะเสียทาดวยผิดที

● จากกลอน ๒ บทตัวอยางขางตน คําที่กวีเลือกนํามาใชนั้นสามารถสื่อความหมายไดอยางชัดเจน ใชคําที่


เขาใจงายและไมมีความหมายเชิงลึกที่ผูอานตองตีความเพิ่มเติม
๑.๒ เลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลใน
เรื่อง
● การเขียนตําราแพทยศาสตรสงเคราะหฉบับสมบูรณนั้นจัดทําโดยพระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) ซึ่ง
ตัวทานมีความเห็นวาประชาชนหรือชาวบานที่ปวยไขควรทําการรักษาตนเองโดยการหาความรูจากการอาน
ตําราแพทย ภาษาที่ใชจึงมีความธรรมดา เลือกใชศัพทชาวบานในการเรียกชนิดยา และมีสํานวนที่ชาวบาน
ใชกันอยางแพรหลายในยุคสมัยนั้น ดังตัวอยาง

บางไดแตยาผาย บรรจุถายจนถึงดี
เห็นโทษเขาเปนตรี จึ่งออกตัวดวยตกใจ
บางรูแตยากวาด เที่ยวอวดอาจไมเกรงภัย
โรคนอยใหหนักไป ดังกอกรรมใหติดกาย

● “ยาผาย” หมายถึงยาขับลมทางทวาร
● “ยากวาด” คือยาปรุงบดที่ประสมนํ้าแลวนํามากวาดที่โคนลิ้นหรือในลําคอ
● “เห็นโทษเขาเปนตรี” หมายถึงการที่มีอาการปวยเขาขั้นตรีโทษ กลาวคืออาการหนักมากขนาดที่วา
เลือด ลม และเสมหะเปนพิษในเวลาเดียวกัน ดังสํานวนที่ชาวบานใชวา “อาการเขาขั้นตรีทูต” ซึ่งคําวา
ตรีทูต นาจะแปลงมาจาก ตรีทูษ ที่เพี้ยนมาจาก ตรีโทษ
๑.๓ เลือกใชคําใหเหมาะสมแกลักษณะของคํา
ประพันธ
● คําประพันธของคัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห มีลักษณะ เปนกาพยยานี ๑๑ การ
แตงกาพยยานี ๑๑ นั้น มีขอจํากัดในการใชคํา โดยจะตองเลือกใชคําที่มีจํานวนจํากัด แต
สามารถสื่อความหมายไดกวางขวาง และชัดเจน ดังตัวอยาง

ใชโรคสิ่งเดียวดาย จะพลันหายในโรคา
ตางเนื้อก็ตางยา จะชอบโรคอันแปรปรวน

● ผูแตงเลือกใชสํานวน “ตางเนื้อก็ตางยา” ซึ่งหมายถึงการที่การที่แตละคนก็ใชยาตางชนิดกันไป


๑.๔ เลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียง
ก) คําที่เลนเสียงสัมผัส
● ผูแตงไดใชคําที่คํานึงถึงเสียงสัมผัสพยัญชนะ ดังตัวอยาง
โรคนั้นคือโทโส จะภิยโยเรงวัฒนา
แพทยเรงกระหนํ่ายา ก็ยิ่งยับระยําเยิน

ข) คําที่เลนเสียงหนักเบา
● ผูแตงมีการเลือกใชคําครุ-ลหุ กลาวคือการเลนนํ้าหนักเสียงของคํา ดังตัวอยาง
คัมภีรกลาวไวหมด ไยมิจดมิจําเอา
ทายโรคแตโดยเดา ใหเชื่อถือในอาตมา
ค) คําซอน
● คําซอน คือการที่นําคํามูลที่มีความหมายเหมือนหรือคลายคลึงกัน หรือตรงกันขามกันมาประสมกันเพื่อใหเกิด
คําใหมที่มีความหมายที่เจาะจงหรือตางไปจากเดิม โดยผูแตงไดเลือกคําที่มีพยัญชนะตนที่เหมือนกันมาแตง
ดังตัวอยาง

ใชโรคสิ่งเดียวดาย จะพลันหายในโรคา
ตางเนื้อก็ตางยา จะชอบโรคอันแปรปรวน
บางทีก็ยาชอบ แตเคราะหครอบจึ่งหันหวน
หายคลาดแลวทบทวน จะโทษยาก็ผิดที

ง) คําไวพจน
● คําไวพจน คือ คําที่มีความหมายเดียวกันแตมีรูปแบบการเขียนและอานที่แตกตางกันออกไป โดยอาจเปน
ภาษาอื่น
ปตตํ คือวังหนา เรงรักษาเขมนหมาย
อาหารอยูในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธา
● ปตตํ มาจากภาษาบาลี ซึ่งแปลวานํ้าดีจากตับ โยธ- หรือ โยธา นั้นหมายถึง พลรบ หรือทหาร
๒. การเรียบเรียงคํา
● ภายหลังจากการเลือกคําขางตน ลําดับตอมานั้นคือการเรียบเรียงคําใหมีความไพเราะและ
เหมาะสมกับลักษณะคําประพันธ โดยผูแตงจะตองเรียบเรียงคําอยางเหมาะสม ในการนํามาแตง
กาพยยานี ๑๑ โดยมีกลวิธีการเขียนที่แตกตางกันไป
๒.๑ เรียงคํา วลี หรือประโยคที่มีความสําคัญเทาๆ กัน เคียง
ขนานกันไป
● คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะหนั้นถูกเขียนขึ้นโดยเรียบเรียงเนื้อหาภาพรวมของความสําคัญ
ของการแพทย โดยผูแตงคอยๆบรรยายไปทีละประเด็น ทั้งนี้ ทุกประเด็นมีความสําคัญเทากันทั้งหมด ดัง
ตัวอยาง

ผูใดจะเรียนรู พิเคราะหดูผูอาจารย
เที่ยงแทวาพิสดาร ทั้งพุทธไสยจึ่งควรเรียน
แตสักเปนแพทยได คัมภีรไสยไมจําเนียร
ครูนั้นไมควรเรียน จะนําตนใหหลงทาง

● จากกลอน ๒ บทขางตนนั้น ผูแตงกําลังกลาวถึงการที่ผ◌ูที่จะศึกษาแพทยศาสตรนั้นจําเปนตองใสใจและ


มีความละเอียดออนเพื่อที่จะศึกษาคําภีรอถรรพเวทที่มีตนตํารับมาจากอินเดียเพื่อที่จะรักษาโรคตางๆได
อยางชํานาญ
๒.๒ เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขน
ขึ้นไปตามลําดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้น
สุดทายที่สําคัญที่สุด
● การเรียบเรียงเชนนี้ปรากฏอยูในบทประพันธในสวนที่ผูแตงตองการชี้แจงวิธีการปองกันโรคภัยไขเจ็บ
ดังตัวอยาง

หนทางทั้งสามแหง เรงจัดแจงอยูรักษา
หามอยาใหขาศึกมา ปดทางไดจะเสียที
๒.๓ เรียบเรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิง
วาทศิลป

● คําถามเชิงวาทศิลป กลาวคือ คําถามที่ผูแตงไดกลาวถึง แตไมไดหวังคําตอบแตอยางใด เพียงแตเปนการ


ทําใหผูอานไดคิดตามหรือมีความตองการที่จะนําเสนอความคิดบางอยาง
● ในบทประพันธนี้ ผูแตงไดกลาวถามในเชิงเอือมระอา
● กับการที่ผูคนมักทํานายโรคดวยตนเองโดยไมอิงในคัมภีรที่มีเขียนไว ซึ่งทําใหเกิดการผิดพลาดในการ
วินิจฉัยโรครวมไปถึงการรักษา ดังตัวอยาง

คัมภีรกลาวไวหมด ไยมิจดมิจําเอา
ทายโรคแตโดยเดา ใหเชื่อถือในอาตมา
๓. การใชโวหาร
๓.๑ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง หรือ การใชอุปมาโวหาร คือการใชคําแสดงการเปรียบเทียบสิ่ง
หนึ่งกับอีกสิ่ง โดยใชคําเชื่อม เหมือน ราวกับ ดุจ ดั่ง เปนตน ดังตัวอยาง
เมื่อออนรักษาได แกแลวไซรยากนักหนา
ไขนั้นอุปมา เหมือนเพลิงปาไหมลุกลาม
๓.๒ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง
การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง หรือ การใชอุปลักษณโวหาร คือมีคําแสดงการเปรียบเทียบ “คือ” และ
“เปน” ซึ่งแตกตางจากอุปมาโวหาร ที่ใชคําแสดงการเปรียบเปรยชัดเจน เชน ดุจ ดั่ง เปนวิธีการเขียนเพื่อใหภาษา
มีความกระชับและสื่อความหมายไดชัดเจน ดังตัวอยาง
ดวงจิตคือกระษัตริย ผานสมบัติอันโอฬาร
ขาศึกคือโรคา เกิดเขาฆาในกายเรา
เปรียบแพทยคือทหาร อันชํานาญรูลําเนา
ขาศึกมาอยาใจเบา หอมลอมรอบทุกทิศา
ผูแตงไดอุปลักษณพระมหากษัตริย กลาวคือเปนดวงจิตเปนศูนยกลางของเมือง มีแพทยและนํ้าดีที่เปรียบ
เสมือนเปนทหารมีหนาที่ปกปองรายกายของเราจากโรคภัยตางๆซึ่งกลาวคือขาศึก แพทยจึงมีหนาที่รักษาหัวใจ
นํ้าดีและอาหารไวไมใหโรคตางๆมารุมเรา
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
คุณคาดานเนื้อหา
รูปแบบการแตงคัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห เปนหนังสือที่รวบรวมความรูจากตําราอื่นๆ
เกี่ยวกับแพทยศาสตร ซึ่งผูแตงเลือกใชคําประพันธประเภท กาพยยานี ๑๑ เริ่มดวยบทไหวครูและจรรยาบรรณ
ของแพทย ผูแตงใชคําประพันธประเภทรายใหความรูเกี่ยวกับการรักษาโรคของแพทยแผนไทย
● สาระสําคัญของเรื่อง คือ ความสําคัญของแพทยและคุณสมบัติที่แพทยพึงมี ซึ่งจะชวยรักษาโรคไดผล
มากกวารูเรื่องยาอยางเดียว
● โครงเรื่อง มีการลําดับความเริ่มตนดวยบทไหวครู เปนการไหวพระรัตนตรัย ไหวเทพเจาของพราหมณ
และไหวครูแพทย ตอดวยความสําคัญของแพทย จรรยาบรรณแพทย คุณสมบัติที่แพทยพึงมี และตอน
ทายกลาวถึงทับ ๘ ประการ คือ อาการของโรคชนิดหนึ่งที่แทรกซอนกับโรคอื่น
● กลวิธีการแตง เนื้อหาจัดเปนตําราเฉพาะดาน เนนการอธิบายเปนสวนใหญ จึงใชอุปมาโวหาร
เปรียบเทียบ เชน
จะกลาวถึงคัมภีรฉัน ทศาสตรบรรพที่ครูสอน
เสมอดวงทินกร แลดวงจันทรกระจางตา
คุณคาดานวรรณศิลป

๑.การสรรคํา
๑.๑ การใชถอยคําที่เหมาะสมแกเนื้อเรื่อง ความหมายตรงไปตรงมา เชน
บางหมอก็กลาวคํา มุสาซํ้ากระหนํ่าความ
ยกตนวาตนงาม ประเสริฐยิ่งในการรักษา
บางหมอก็เกียจกัน ที่พวกอันแพทยรักษา
บางกลาวเปนมารยา เขาเจ็บนอยวามากครัน
บางกลาวอุบายให แกคนไขนั้นหลายพัน
หวังลาภจะเกิดพลัน ดวยเชื่อถอยอาตมา

๑.๒ การใชสํานวนไทย ชวยอธิบายใหชัดเจนมากขึ้น เชน


เรียนรูคัมภีรไสย สุขุมไวอยาแพรงพราย
ควรกลาวจึ่งขยาย อยายื่นแกวใหวานร
๒. การใชโวหาร
● ทําใหผูอานเขาใจความหมายและเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น เชน

อนึ่งจะกลาวสอน กายนครมีมากหลาย
ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
ดวงจิตคือกระษัตริย ผานสมบัติอันโอฬาร
ขาศึกคือโรคา เกิดเขนฆาในกายเรา
เปรียบแพทยคือทหาร อันชํานานรูลําเนา
ขาศึกมาอยางใจเบา หอมลอมรอบทุกทิศา
คุณคาดานสังคม
๑. สะทอนใหเห็นความเชื่อของสังคมไทย
ฉันทศาสตรมีความหมายวา ตํารา (ศาสตร) ที่แตงเปนสูตร (ฉันท) ตามอยางตําราการแพทยในคัมภีรอาถรรพ
เวทซึ่งเปนพระเวทหนึ่งในศาสนาพราหมณ จึงมีเรื่องเกี่ยวกับไสยศาสตรดวย จึงมักพบคําวา “คัมภีรไสย”
ปรากฏอยูในคําประพันธ
ตัวอยาง
เรียนรูใหชัดเจน จบจังหวัดคัมภีรไสย
ตั้งตนปฐมใน ฉันทศาสตรดังพรรณนา

แตในคัมภีรฉันศาสตร มีการประสานความเชื่อความคิดตางๆ ทางสังคมและทางพระพุทธศาสนาเขาดวยกัน


เนื้อหามีคําบาลีแสดงใหเห็นตลอด ทําใหไดรับความรูเกี่ยวกับคําศัพททางพระพุทธศาสนา เชน
● มิจฉา (ความผิด)
● พิริยะ (ความเพียร)
● วิจิกิจจา (ความลังเล)
● อุทธัจ(ความฟุงซาน)
● วิหิงษา (เบียดเบียน)
● อโนตัปปง (ความไมสะดุงกลัวตอบาป)
● อธิกรณ (โทษ)
๒. สะทอนใหเห็นคุณคาเรื่องแพทยแผนไทย
ถาพิจารณาในสวนที่กลาวถึงทับ ๘ ประการ จะเห็นไดวาแพทยแผนไทยเปนวิธีการรักษาโรคอีกวิธีหนึ่ง
เปนแพทยทางเลือกที่มีความจําเปนในการรักษาโรค เราจะคิดวาเปนเรื่องที่ลาสมัยไมได เพราะเวชกรรมแผน
โบราณเปนที่ยอมรับเชื่อถือมาชานาน กอนที่จะรับเอาวิทยาการแพทยแผนใหมมาจากชาติตะวันตกมาใช ซึ่ง
ปจจุบันการคนควาวิจัยทางแพทย จะกลับมาใหความสนใจในการรักษาดวยยาสมุนไพรตามแบบโบราณ โดย
ถือวาเปนทางเลือกทางหนึ่งในการรักษาโรคในปจจุบัน
๓. ใหขอคิดสําหรับการนําไปใชในชีวิตประจําวัน
● สามารถนําขอคิดที่ไดจากการศึกษาคัมภีรฉันทศาสตรไปใชไดทุกอาชีพ ไมวาจะเปนบุคคลในอาชีพใด
ถาไมมีความประมาท
- ความอวดดี ความริษยา ความโลภ ความเห็นแกตัว ความหลงตัวเอง และการมีศีลธรรมประจําใจ
ยอมไดรับการยกยองจากบุคคลตางๆ
โดยเฉพาะในวิชาชีพแพทยซึ่งเกี่ยวของกับความเปนความตายของชีวิต ตองเปนผูที่รอบรูจริง และ
รับผิดชอบตอผูปวย ปฏิบัติดวยความรอบคอบ ไมประมาท โดยมีคําสอนในทางพระพุทธศาสนาเปนแนวทางใน
การชี้นํา
๔. ใหความรูเรื่องศัพททางการแพทยแผนโบราณ

● คําวา “ธาตุพิการ” หมายถึง ธาตุทั้งสี่ (ดิน นํ้า ลม และไฟ) ในรางกายไมปกติ ทําใหเกิดโรคตางๆ ขึ้น
ตามกองธาตุเหลานั้น

● คําวา “กําเดา” หมายถึง อาการไขอยางหนึ่งเกิดจากหวัดเรียกวา “ไขกําเดา” อาการของโรคจะมีเลือด


ไหลออกทางจมูก เรียกวาเลือดกําเดา

● คําวา “ปวดมวน” หมายถึง การปนปวนในทอง


THE END

You might also like