You are on page 1of 18

นาย พัสกร ชัยธีระยานนท (เลขที่ ๑) นางสาว ธยาน งามประวัติดี (เลขที่ ๙)

ขัตติยพันธกรณี นางสาว โชษิญา โลสุวรรณกุล (เลขที่ ๗) นางสาว นทวดี นนทะบรรหาญ (เลขที่ ๑๐)
การอานและพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
บทพระราชนิพนธและบทนิพนธนี้เปนเรื่องราวเกี่ยวกับการ
เนื้อเรื่อง หรือเนื้อเรื่องยอ เขียนตอบ เริ่มจากบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ที่เปนเรื่องราวของพระองค ณ เวลานั้นการ
เขามาของฝรั่งเศสไดสรางความกังวลพระหฤทัยเปนอยางมาก
ประกอบกับอาการประชวรจึงทําใหบทพระราชนิพนธนี้เปรียบ
เสมือนการ บรรยายความทุกข ความสิ้นหวังและความกังวลของ
พระองค หลังจากจบบทพระราชนิพนธก็ตอดวยบทพระนิพนธใน
สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึ่งมีรูป
แบบลักษณะของการถวายกําลังพระทัย ซึ่งอยูในสวนแรก ถัดมา
เปนการใหขอคิดโดยการใชอุปมา ตอจากการใหขอคิด สมเด็จ
พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพไดทรงอาสาจะ
ถวายชีวิตรับใชและตอสูกับปญหาที่เผชิญ สุดทายพระนิพนธจบลง
ดวยการถวายพระพรและคํายืนยันถึงความจงรักภักดีที่ประชาชน
ไทยมีตอพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กังวลพระทัยกับอาการประชวน
โครงเรื่อง ของพระองค แตทานยังตองดูเเลรักษาประเทศชาติ จึงระบายความ
กังวลพระทัยที่ทรงประชวลหนักเเละไมสามารถปฏิบัตรพระราช
กรณียกิจไดใหสมเด็จกรมยาดํารงราชานุภาพ ฟงจึง
ทําใหทรงมีกําลังใจเเละไดขอคิด
ทําใหทรงฟนจากอาการประชวลและเเกไขปญหาไดในที่สุด
● สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ตัวละคร - ทรงรักและเปนหวงประชาอนึ่งทรงกังวล
และวิตกในสถาณการณบานเมืองและยัง
ทรงประปรีชาสามารถในการเเตงบทป
ระพหันธเพื่อบอกลาแกญาติพี่นองและ
คนสนิทของพระองคแตสุดทายก็ทรง
เขมแข็งและกลาเผชิญกับปญหา
● สมเด็จกรมดํารงราชานุภาพ
- เเสดงใหเห็นถึงความเคารพพรักภักดิ์ดี
ตอกษัริตรยอีกทั้งยังมีความสามารถใน
การเเตงบทประพันธตอบกลับสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัวเเละเเสดงถึงความ
เฉลียวฉลาดในการเปรียบเทียบให
กําลังใจเเตสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอ
ยูหัว
มีฉากทองเรื่องอยูที่กรุงรัตนโกสินทร ใน
ฉากทองเรื่อง วิกฤตการณ ร.ศ. 112 ในชวงหลังของคริสต
ศตวรรษที่ 19 ทวีปยุโรปเกิดการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมและการเติบโตของลัทธิ
จักรวรรดินิยมที่นําไปสูการแผอิทธิพลของชาติ
ตะวันตกในภูมิภาคตางๆของโลกเมื่อพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครอง
ราชย
ประชวรนานหนักอกขา ทั้งหลาย ยิ่งแล
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน ทุกทิวาวัน บ วาย
สิ่งใดซึ่งจักมลาย
คิดแก
พระโรค เร็วแฮ
สุดยากเทาใดแม มาท มวยควรแสวงฯ

ชีวิตมนุษยนี้ เปลี่ยนแปลง จริงนอ


ทุกขและสุขพลิกแพลง มากครั้ง
โบราณทานจึงแสดง เปนเยี่ยง อยางนา
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดขางฝายดี
จากพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
แกนเรื่องหรือสารัตถะ เจาอยูหัว เเสดงใหเห็นวา ทานตองเผชิญความทุกขเเสน
สาหัส ก็หลีกไมพนที่จะทรงเกิดความรูสึกทอถอยสื้อหวัง
ของเรื่อง จนไมมีพระราชประสงคที่จะดํารงพระชนมชีพตอไป เเละ
ยังเเสดงใหเห็นถึงพลานุภาพอันยิ่งใหญของวรรณคดีที่
อาจชวยพลิกผันเหตุการณรายใหกลายเปนดีได
การอานและพิจารณาการใชภาษา
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคํา เปนฝสามยอดแลว ยังราย สานอ
ปวดเจ็บใครจักหมาย เชื่อได
ใชเปนแตสวนกาย เศียรกลัด กลุมแฮ
ใครตอเปนจึ่งผู นั่นนั้นเห็นจริง

● ใชถอยคําที่สื่อถึงความรูสึก นึกคิด
อารมณไดอยางงดงาม

● แสดงอารมณความรูสึกเจ็บปวดวาเปนฝ
สามยอดและไขสา เจ็บปวดมาก เหลือเชื่อ
ใชแตจะเจ็บกาย ยังปวดหัว ยากที่ใครจะ
รูถาไมเจอกับตัวเอง
ดวยเดชะบุญญา- ภินิหาระแหงคํา
สัตยขาจงไดสัม- ฤทธิดังมโนหมาย
ขอจงวราพาธ บรมนาถเรงเคลื่อนคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผองพนที่หมนหมอง
ขอจงสําเร็จรา- ชะประสงคที่ทรงปอง
ปกขาฝาละออง พระบาทใหสามัคคี

มีการเลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เมื่อมี
การกลาวถึง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ผูแตงไดใชคํา
ราชาศัพทอยางเหมาะสม
- -เรียงขอความที่บรรจุสารสําคัญไวทายสุด
๑.ผิวพอกําลังเรือ ก็แลนรอดไมราวราน
การเรียบเรียงคํา หากกรรมจะบันดาล
๒.ชาวเรือก็ยอมรู
ก็คงลมทุกลําไป
ฉะนี้อยูทุกจิตใจ
แตลอยอยูตราบใด ตองจําแกดวยแรงระดม

-เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับ
ดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดทายที่สําคัญที่สุด
เปนเด็กมีสุขคลาย ดีรฉาน
รูสุขรูทุกขหาญ ขลาดดวย
ละอยางละอยางพาล หยอนเพราะ เผลอแฮ
คลายกับผูจวนมวย ชีพสิ้นสติสูญ

-เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับแต
คลายความเขมขนลงในชวงหรือประโยคสุดทายอยางฉับพลัน
“ประสาแตอยูใกล ทั้งรูใชวาหนักหนา
เลือดเนื้อผิเจือยา ใหหายไดจะชิงถวาย”
บทประพันธนี้มีการใชโวหารอยูหลายประเภท เชน อุปมาโวหาร อุปลักษณโวหารและ
คติพจนโวหาร

การใชโวหาร อุปมาโวหาร
ดุจเหลาพละนา- วะเหววากะปตัน
นายทายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง

เปรียบเหมือนลูกเรือที่ขาดผูนํา ก็จะบังคับเรือตอไปไมได

เปรียบตัวเหมือนอยางมา ที่เปนพาหนะยาน
ผูกเครื่องบังเหียนอาน ประจําหนาพลับพลาชัย

พระองคเปรียบตัวเองเหมือนมาที่เปนพระราชพาหนะ เตรียมพรอมที่จะรับใชรัชกาลที่ ๕

อุปลักษณโวหาร

ตะปูดอกใหญตรึ้ง บาทา อยูเฮย


จึงบอาจลีลา คลองได
เชิญผูที่มีเมตตา แกสัตว ปวงแฮ
ชักตะปูนี้ให สงขาอัญขยม

ทรงเปรียบหนาที่ผูกมัดที่มีตอชาติบานเมืองในฐานะที่พระองคเปนพระมหากษัตริย
เหมือนเปนตะปูใหญ ที่ตรึงพระบาทไวมิใหกาวยางไปได

อติพจนโวหาร

ประสาแตอยูใกล ทั้งรูใชวาหนักหนา
เลือดเนื้อผิเจือยา ใหหายไดจะชิงถวาย

ถาเลือดเนื้อของพระองค สามารถทําเปนยาถวายใหหายประชวรไดก็ยินดีที่จะถวาย
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคา
ในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณคาดานอารมณ ● ปลุกจิตสํานึกของคนไทย
○ รักชาติ
○ สามัคคี

● ตะหนักถึงความสําคัญของ
○ การจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย
■ อันพระประชวรครั้ง
นี้แททั้งไผทสยาม
○ ความยากลําบากและรวมมือ
รวมใจกันของบรรพบุรุษในการ
ปกปองประเทศชาติ
ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยุดพายุผัน
มีคราวสลาตัน ตั้งระลอกกระฉอกฉาน
ผิวพอกําลังเรือ ก็แลนรอดไดไมราวราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงลมทุกลําไป
ชาวเรือก็ยอมรู ฉะนี้อยูทุกจิตใจ
แตลอยอยูตราบใด ตองจําแกดวยแรงระดม
คุณคาดานคุณธรรม

ความใสใจของพระมหากษัตริยที่มีตอ
ประชาชนและประเทศชาติ

ปกปองและรักษาประเทศเอาไวใหสงบสุข
พนจากภัยคุกคาม
คุณคาดานอื่นๆ
ความเชื่อของคนไทยในสมัยกอน
คุณคาดานสังคม
ชีวิตมนุษยนี้ เปลี่ยนแปลง จริงนอ
ทุกขและสุขพลิกแพลง มากครั้ง
โบราณทานจึงแสดง เปนเยี่ยง อยางนา
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดขางฝายดี

You might also like