You are on page 1of 29

ขัตติยพันธกรณี

นางสาว กานต์ชนก ชัยพิทักษ


์โรจน์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/8
นางสาว ธัญวรัตม์ คูอาริยะกุล เลขที 5
ชันมัธยมศึกษาปที 5/8 เลขท
นาย ดรัณ รุ่งวัฒนโสภณ ชัน ี9
มัธยมศึกษาปที 5/8 เลขที 14
นาย กุลธัช ยิงถาวรกุล ชันมัธ
ยมศึกษาปที 5/8 เลขที 22
การอ่านและพิจารณา
เนื อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
เนือเรืองหรือเนือเรืองย่อ
ในพระราชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยต้องพบเจอกับการคุกคามจากชาติ
มหาอํานาจตะวันตกอันประกอบด้วย อังกฤษเเละฝรังเศส การเข้ามาของฝรังเศษได้มีเหตุการณ์ความขัดแย้งเกิด
ขึนเกียวกับเรืองเขตแดนทางด้านเขมรจึงทําให้ฝรังเศสได้เรียกร้องค่าเสียหาย ทางด้านแผ่นดินแถบประเทศลาว
ได้มีการกระทบกระทังกันทังการทหารและการทูต ความรุนแรงได้ทวีขึน จนเมือทางการฝรังเศสได้นํากองเรือรบ
เข้ามาลุ่มแม่นา้ํ เจ้าพระยา และปดอ่าวไทย เรียกร้องสิทธิต่างๆ จนสุดท้าย ไทยต้องยินยอมสนธิสัญญากรุงเทพ
ในวันที 3 ตุลาคม ร.ศ. 112 ส่งผลให้สูญเสียดินแดนฝงซ้ายแม่นา้ํ โขง และเสียการควบคุม ประชาชนชาว
อินโดจีน อีกทังยังถูกฝรังเศสยึด จันทบุรีไว้เปนตัวประกัน เนื องด้วยการสูญเสียดินแดน และภัยจากมหาอํานาจ
ตะวันตก ทําให้สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงงานเปนอย่างหนัก เพือปกปองดินแดนของประเทศไทยไว้
ท้ายทีสุด ประเทศไทยสามารถรอดพ้นจากการครอบงําของมหาอํานาจ แต่ก็ต้องแลกกับดินแดนบางแห่ง เพือ
รักษาอธิปไตยของไทยเอาไว้
เนือเรืองหรือเนือเรืองย่อ (ต่อ
)
แต่ด้วยเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ทําให้พระองค์ประชวรทรุดลง ทําให้หมดพระทัยทีจะดํารงพระชนม์ชีพต่อไปพระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงส่งบทพระราชนิ พนธ์ ไปอําลาเจ้านายบางพระองค์รวมถึงสมเด็จ
กรมพระยาดํารงราชานุภาพผู้เปนพระเจ้าน้องยาเธอโดยเนื อ
ความเปน การระบายความโทมนัสทังทางพระราชหฤทัยและพระวรกาย จนไม่ทรงปรารถนาจะดํารงพระชนม์ชีพ
ต่อไปเพราะไม่ทรงอยากเปน
ภาระแก่ผู้เฝาพยาบาลโดยทรงระบายถึงความทุกข์ยากจากพระอาการประชวรและความกังวลทีจะทรงเสียเมือง
ไป โดยสมเด็จพระยาดํารงราชานุภาพได้ทรงนิ พนธ์บทประพันธ์ตอบกลับแสดงความทุกข์ของประชาชนต่อพระ
อาการประชวรและความจงรักภักดีทีทุกคนมีต่อพระองค์พระองค์ยังกราบทูลถึงความจริงทีว่าการจะทํางานใดๆ
ล้วนแต่มี อุปสรรคต้องอาศัยการร่วมมือร่วมใจความพยายามแก้ไขปญหาจนสุดความสามารถ โดยถ้าสุดท้ายไม่
สามารถแก้ไขได้ก็จะไม่มีผู้ใดมากล่าวโทษได้ลง ท้ายด้วยทรงขอให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงหายจากพระอาการประชวรทังพระวรกายและพระราชหฤทัย
โครงเรือง
ขัตติยพันธกรณี ได้ถูกเเบ่งเปน 2 ส่วนทีมีโครงเรืองทีเเตกต่างกันเเต่เชือมโยงกันโดย:
ส่วนเเรกทีประพันธ์โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนันมีโครงเรืองคือ การรําพึงรําพันตัดพ้อเกียวกับความอัดอันตันใจ
ความเศร้าใจ เเละความอับอาย ไม่ว่าจะเปนในเรือง อาการประชวรและความไร้ความสามารถของพระองค์เองทีไม่สามารถหาทางออกทีดีให้กับ
ประเทศไทยให้รอดจากสถานการณ์คับขันในครังนี ดังความตอนหนึ งว่า

“เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย

คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลือง

ความเหนื อยเเห่งสูจัก พลันสร่าง

ตูจักสู่ภพเบือง หน้านันพลันเขษม”
โครงเรือง (ต่อ)
ขัตติยพันธกรณี ได้ถูกเเบ่งเปน 2 ส่วนทีมีโครงเรืองทีเเตกต่างกันเเต่เชือมโยงกันโดย:
ส่วนทีสองทีประพันธ์โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงเดชานุภาพนันมีโครงเรืองคือการให้กําลังใจให้พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้มีกําลังใจในการต่อสู้กับอาการประชวรและเเก้ไขปญหาวิกฤติของประเทศไทยโดยการเปรียบเทียบประเทศไทยเปนเรือ
ล่องสมุทธทีมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเปนกัปตันเเละข้าราชบริพารเปนชาวเรือ ดังความตอนหนึ งว่า

“ดุจเหว่าพละนา วะเหว่กะปตัน

นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางเเคลง

นายกลประจําจักร จะใช้หนักก็นึกแหนง

จะรอก็ระเเวง จะไม่ทันธุรการ”
ตัวละคร
1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงรักและเปนห่วงประชาชนอนึ งทรงกังวลและวิตกกับสถานการณ์บ้านเมืองทีไม่สามารถปฏิบัติพระราช
กรณี ยกิจได้เต็มพระกําลังและ ทรงมีพระปรีชาสามารถในการประพันธ์เรืองราวต่างๆ รวมทังประพันธ์โคลงและ
อินทรวิเชียรฉันท์เพือบอกลาญาติพีน้องและคนสนอทของพระองค์ แต่ท้ายทีสุดพระองค์ทรงเข้มแข็งและกล้า
เผชิญหน้ากับปญหาได้โดยการพูดคุยกับสมเด็จพระยาดํารงราชานุภาพผ่านบทกลอน ดังความตอนหนึ งว่า

“ตะปูดอกใหญ่ตรึง บาทา อยู่เฮย


จึง บ อาจลีลา คล่องได้”
ตัวละคร (ต่อ)
2. สมเด็จพระยาดํารงราชานุภาพ
แสดงให้เห็นถึงความเคารพรักและความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์รวมทังความสามารถด้านการประพันธ์บท
โคลงและความเฉลียวฉลาดในการให้กําลังใจเพือตอบกลับจดหมายอําลาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังความตอน
หนึ งว่า

“อันพระประชวรครัง ทังไผทสยาม

เหล่าข้าพระบาทความ วิตกพ้นจะอุปมา

ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู้ใช่ว่าหนักหนา

เลือดเนื อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”

และ มีความตังใจ หมันเพียรทีจะต่อสู้กับอุปสรรค ดังความตอนหนึ งว่า

“ขอตายให้ตาหลับ ด้วยชือนับว่าชายชาญ

เกิดมาประสบภาร ธุระได้บําเพ็ญทํา”
ฉากท้องเรือง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระอาการประชวรเนื องจากเหตุการณ์ทางการเมืองระหว่างเขตเเดนไทยกับฝรังเศสซึง
กําลังทวีความรุนแรงขึนเรือยๆ ดังความตอนหนึ งว่า
“เปนฝสามยอดเเล้ว ยังรายส่านอ

ปวดเจ็บใครจักหมาย เชือได้

ใช่เปนเเต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุ้มเเฮ

ใครต่อเปนจึงผู้ นันนันเห็นจริง”

ได้เขียนจดหมายรําพึงรําพันท้อเเท้ถึงกลุ่มข้าราชการคนสนิ ทส่งผลให้ข้าราชการคนสนิ ทต้องรีบเขียนจดหมายตอบโต้เพือให้กําลัง ใจ


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้มีกําลังใจในการต่อสู้กับอาการประชวรเเละเเก้ไขปญหาประเทศชาติ ดังความตอนหนึ งว่า
“ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี อยู่ทุกจิตใจ

เเต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจําแก้ด้วยเเรงระดม”
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน
ในเรืองขัตติยพันธกรณี นันมีบทรําพึงรําพันของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทีมีต่อราษฎร
และ บ้านเมืองของพระองค์หลังจากทีฝรังเศสพยายามทีจะเข้ามามีอาณานิ คมกับประเทศไทยแล้วขณะทีพระองค์
ยังทรงพระประชวรอยู่โดยใช้ถ้อยคําทีเข้าใจง่ายทําให้ผู้อ่านรู้ถึงความเปนห่วงทีพระองค์มีต่อราษฎรของพระองค์

“เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย


คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลือง
ความเหนื อยปห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสู่ภพเบือง หน้านันพบันเขษม”

จากบทประพันธ์ข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความรู้สึกเหน็ดเหนื อยต่างๆนานาจนพระองค์หมดพระทัยทีจะ
ดํารงพระชนม์ชีพต่อไป เปนการเปรียบเปรย ถึงความรู้สึกทุกข์ทีมากจนจะรับไหว
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน(ต่อ
)
“เปนฝสามยอดแล้ว ยังราย ส่านอ

ปวดเจ็บใครจักหมาย เชือได้

ใช่เปนแต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุ้มแฮ

ใครต่อเปนจึงผู้ นันน้ันเห็นจริง”

ทรงบรรยายถึงพระอาการประชวรทีเจ็บปวดอย่างแสนสาหัสและไม่เพียงแต่ประชวรพระวรกายยังทรง

กลัดกลุ้มพระพราชหฤหัยด้วย เพราะสถานการณ์บ้านเมืองในตอนนันกําลังตกอยู่ในช่วงวิกฤตทีโดนคุกคามจาก

ชาติมหาอํานาจ
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน (ต่อ
)
“ตะปูดอกใหญ่ตรึง บาทา อยู่เฮย
จึง บ อาจลีลา คล่องได้
เชิญผู้มีเมตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ
ชักตะปูนีให้ ส่งข้สอัญขยม”

บทประพันธ์มีการใช้โวหารในการเปรียบเทียบ พระองค์ทรงพรรณนา ถึงหน้าทีทีต้องปกปองและรักษา


บ้านเมือง จึงไม่สามารถสินพระชนม์ได้ดังปรารถนา ดังตะปูทีตรึวประองค์เอาไว้

“กลัวเปนทวิราช บ ตริปองอยุธยา
เสียเมืองจึงนิ นทา บ ละเว้น ฤ ว่างวาย”

พระองค์ทรงวิตกกังวลถึงสถานการณ์ทีเกิดขึน หากต้องเสียอธิปไตยไป คงถูกกล่าวหาว่าเปนทรราช ทําให้


แผ่นดินตกเปนของชาติอืน ถูกติฉินนิ นทาให้ภายภาคหน้า
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน (ต่อ
)
บทประพันธ์ส่วนหนึ งของ ขัตติยพันธกรณี เปนบทกลอนตอบกลับของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดํารงราชานุภาพทีประพันธ์ นิ พนธ์ขึนเพือถวายกําลังพระราชหฤทัยใจแด่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู้ใช้ว่าหนักหนา

เลือดเนื อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”

แสดงให้เห็นถึงความเปนห่วงต่ออาการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัว และความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ถ้าหากเสียสละชีพตนเองได้ก็จะยอมถวายแด่ท่าน
บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน (ต่อ
)
“ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลือนคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นทีหม่นหมอง
ขอจงสําเร็จรา- ชะประสงค์ทีทรงปอง
ปกข้าฝาละออง พระบาทให้สามัคคี
ขอเหตุทีขุ่นขัด จะวิบัติพระขันตี
จงคลายเหมือนหลายป ละลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ยุสถาวรพูน
เพิมเกียรติอนุกูล สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ”

บทนี เปนการอวยพรและให้กําลังใจแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้มีพระพลานามัย
สมบูรณ์ แข็งแรง พ้นจากอาการประชวรโดยไว และเปนมิงขวัญกําลังใจแก่ประเทศชาติต่อไป
เเก่นเรือง
เนื องจากขัตติยพันธกรณี ได้ถูกเเบ่งออกเปน 2 ส่วนคือ:
1. ส่วนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึงมีเเก่นเรืองคือการระบายความอัดอันใจ
ในเรืองต่างๆ อาทิ อาการประชวร ความตึงเครียดทางการเมือง ดังความตอนหนึ งทีท่านได้เปรียบปญหาทังหมดเปนดังตะปู
ว่า

“ตะปูดอกใหญ่ตรึง บาทาอยูเฮย

จึง บ อาจลีลา คล่องได้

เชิญผู้ทีเมตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ

ชักตะปูนีให้ ส่งข้าอัญขยม”
เเก่นเรือง
เนื องจากขัตติยพันธกรณี ได้ถูกเเบ่งออกเปน 2 ส่วนคือ:
2. ส่วนของสมเด็จพระยาดํารงราชานุภาพซึงมีเเก่นเรืองคือการให้กําลังใจพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้มี
กําลังใจในการต่อสู้กับปญหาต่างๆ ดังความตอนหนึ งว่า

“ด้วยเดชะบุญญา ภินิหาระเเห่งคํา

สัตย์ข้าจงได้สัม ฤทธิดังมโนหมาย

ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลือนคลาย

พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นทีหม่นหมอง

ขอจงสําเร็จรา- ชะประสงค์ทีทรงปอง

ปกข้าฝาละออง พระบาทให้สามัคคี”
การอ่านและพิจารณา
การใช้ภา ษาใน
วรรณคดีและ
วรรณกรรม
การสรรคํา
ความหมายทีถูกต้อง

อึดอัดทุกหน้าที ทุกข์ทวีทุกวันวาร
เหตุห่างบดียาน อันเคยไว้นา้ ใจชน

เหมาะสมกับฐานะของบุคคลในเรือง

ขอเดชะเบืองบาท วรราชะปกศี
โรตม์ข้าผู้มันมี มะนะตังกตัญ ู
การสรรคํา
เสียง

วยเดชะบุญญา ภินิหาระแห่งคา
สัตย์ข้าจงได้สัม ฤทธดังมโนหมาย

แนวทางการเขียน

ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู้ใช่ว่าหนักหนา
เลือดเนทชือผืเจือยา ให้หายได้ชิงถวาย
การเรียบเรียงคํา
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงประพันธ์ บทประพันธ์นีในรุ
ปแบบของคําฉันท์โดยพระองค์มิได้เคร่งครัดการใช้คําแบบครุ-ลหุที
คณะฉันท์ใช้แต่หากเน้นการให้กําลังพระหฤทัยโดยการเล่นคําและการสร้างจินตภารวมถึง
การสร้างอารมณ์สะเทือนใจแทน
การใช้โวหาร
ใช้คําว่า’ดุจ’ เพือบอกว่าคือสิงนัน

ดุจเหล่าพละนา- วะเหว่ว้ากะปตัน
นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง

ใช้คําว่า ‘เปรียบ’ เพือบอกว่าเหมือนสิงนัน

เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ทีเปนพาหนยาน
ผูกเครืองบังเหียนอาน ประจาหน้าพลับพลาชัย
การใช้โวหาร
โวหารเพือกล่าวเกินจริง และการ ใช้นามนัย

ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู้ใช่ว่าหนักหนา
เลือดเนื อผิเจือยา ให้หายได้ชิงถวาย
การอ่านและพิจารณา
ประโยชน์หรือคุณค่า
ในวรรณคดีและ
วรรณกรรม
คุณค่าด้านอารมณ์
สภาพสังคม ณ ขณะนันเปนสังคมของการเอาตัวรอด เพราะปญหาต่างๆทีรุมเร้า
ทําให้ราชวงศ์และประชาชนทัวไปต้องดูแลตัวเอง ว่า ชีวิตคนเรานันเปลียนแปลงอยู่
เสมอ เดียวทุกข์ เดียวสุข สลับกันไป
คุณค่าด้านคุณธรรม
แสดงให้เห็นถึงคุณธรรมของพระมหากษัตริย์ซึงต้องดูแลความเปนอยู่ของ
ประชาชนและให้ประเทศชาติสงบสุข ปลอดภัย พ้นจากภัยอันตรายทีมาคุกคาม
คุณค่าด้านอืนๆ
สะท้อนความคิดความเชือของคนไทยในอดีตได้เปนอย่างดีปลุกจิตสํานึ กให้คนใน
ชาติหวงแหนรักษาผืนแผ่นดินไทยไว้ให้ดํารงอยู่สืบไปและตระหนักถึงความเหนื อยยาก
ของบรรพบุรุษทีต้องยอมแลกด้วยชีวิตเพือรักษาฝนแผ่นดินนี ไว้
บรรณานก
ุ รม
- ขัตติยพันธกรณี [ออนไลน์]เข้าถึงเมือ 25 พฤษภาคม 2558 สืบค้นได้จาก
http://elsd.ssru.ac.th/bualak_na/pluginfile.php/67/mod_page/intro/ถอดความ-ขัตติยพันธกรณี -60.pdf

You might also like