You are on page 1of 37

สามัคคีเภทคำฉันท

นาย ธนาคม กวีวุฒิศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 4


นางสาว สาริศา เกียรติวุฒิ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 5
นางสาว ปทิตตา กิตติมงคลสุข ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 6
นาย เบญจมินทร หวังเจริญวงศ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/1 เลขที่ 22
การอานและพิจารณาเนื้อหาเเละกลวิธี
ในวรรณคดีเเละวรรณกรรม
เนื้อเรื่องยอ
พระเจาอชาตศัตรูแหงกรุงราชคฤห แควนมคธทรงมีที่ปรึกษาราชกิจทั่วไปคือวัสสการพราหมณผูฉลาดและรอบรูศิลปศาสตร เมื่อ
พระเจาอชาตศัตรูตองการที่จะขยายอำนาจโดยการปกครองแควนวัชชี แตกษัตริยของแควนวัชชีนั้นมีความสามัคคีปรองดอง จึงสงพราหมณไป
เปนใสศึกเพื่อทำลายความสามัคคี กอนนำทัพไปตี โดยการออกอุบายวาพราหมณนั้น โดนไลออกจากแควนมคธ พราหมณเดินทางไปถึง
นครเวสาลี กษัตริยลิจฉวีทรงซักถามายๆอยาง แตก็หลงกลพราหมณ ทรงรับไวทำราชการในตำแหนงอำมาตยผูพิจารณาพิพากษาคดีและตั้ง
เปนครูฝกสอนศิลปวิทยาแก ราชกุมารของเหลากษัตริย จากนั้นตอมา พราหมณเฒาก็ทำที่ปฎิบัติงานในหนาที่ จนหมูกษัตริยวางใจ พราหมณ
จึงออกอุบายใหบรรดาราชโอรสกษัตริยลิจฉวีระแวงกัน โดยใหแตละองคไปพบเปนการสวนตัว แลวถามปญหาธรรมดา เมื่อองคอื่นถามววา
สนทนาอะไรกับอาจารยบาง ถึงราชกุมารองคจะตอบความจริง แตก็ไมมีใครเชื่อทำใหเกิดความราวฉานในบรรดากุมาร จนเรื่องไปถึงกษัตริยลิจ
ฉวี ทำใหความสามัคคีคอยๆนอยลง จนกระทั่งไมเขารวมประชุมราชสภา พราหรณจึงสงขาวไปใหพระเจาอชาตศัตรูยกทัพมาตีแควนวัชชีได
สำเร็จ
โครงเรื่อง
กษัตริยของเมืองหนึ่งตองการที่จะขนายอำนาจไปที่เมืองใกลเคียง แตกษัตริยของเมืองนั้น มีความสามัคคีปรองดองที่มั่นคง กษัตริยผู
ตองการขยายอำนาจจึงใชอุบายสงพราหมณไปเปนไสศึก ทำลายความสามัคคีของกษัตริยเมืองนั้น แลวจึงยกทัพเขาโจมตี
ตัวละคร
พระเจาอชาตศัตรู: มีเมตตาตอประชาชน ทำใหเมืองเจริญ พยายามขยายอำนาจ และ รอบคอบ

1.ความมีเมตตาตอประชาชน

แวนแควนมคธนครรา- ชคฤหฐานบูรี
สืบราชวัตวิธทวี ทศธรรมจรรยา
เลื่องหลามหาอุตตมลาภ คุณภาพพระเมตตา
แผเพียงชนกกรุณอา ทรบุตรธิดาตน
ตัวละคร
2. ทำใหบานเมืองเจริญ
หอรบจะรับริปุผิรอ รณทอหทัยหมาย
มุงยุทธยอมชิวมลาย และประลาตมิอาจทน
พรอมพรั่งสะพรึบพหลรณ พยุหพลทหารชาญ
อำมาตยและราชบริวาร วุฒิเสวกากร
เนืองแนนขนัดอัศวพา หนชาติกุญชร
ชาญศึกสมรรถสุรสมร ชยเพิกริปูภินท
กลางวันอนันตคณนา นรคลาคละไลเนือง
กลางคืนมหุสสวะประเทือง ดุริยศัพทดีดสี
บรรสานผสมสรนินาท พิณพาทยและเภรี
แซโสตสดับเสนาะฤดี อุระล้ำระเริงใจ
ตัวละคร
3. พยายามที่จะขยายอำนาจ

สมัยหนึ่งจึ่งผูภูมิบาล ทรงจินตนาการจะแผอำนาจอาณา
ใหราบปราบเพื่อเกื้อปรากฎ ไผทไพศาลรัฐจังหวัดวัชี

4. มีความรอบคอบ

ศึกใหญใครจะพยายาม รบเราเอาตามกำลังก็หนักนักหนา
จำจักหักดวยปญญา รอกอนผอนหาอุบายทำลายมูความ
ตัวละคร
วัสสการพราหมณ: รักบานเมืองของตนเอง จงรักภักดีตอพระเจาอชาตศัตรู เฉลียวฉลาดมีไหวพริบ รอบคอบ และมีความเพียร

1. รักบานเมืองของตนเอง และสามารถเสียสละใหได

ไปเห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทำลาย
มอบสัตยสมรรถหมาย มนมั่นมิหวั่นไหว
หวังแผนเพื่อแผนดิน ผิถวิลสะดวกใด
เกื้อกิจสฤษฎไป บมิเลี่ยงละเบี่ยงเบือน
ตัวละคร
2. จงรักภักดีตอพระเจาอชาตศัตรู

โดยเต็มกตัญู กตเวทิตาครัน
ใหญยิ่งและยากอัน นรอื่นจะอาจทน
หยั่งชอบนิยมเชื่อ สละเนื้อและเลือดตน
ยอมรับทุเรศผล ขรการณพะพานกาย
ไปเห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทำลาย
มอบสัตยสมรรถหมาย มนมั่นมิหวั่นไหว
ตัวละคร
3. เฉลียวฉลาดมีไหวพริบ
เปรียบปานมหรรณพนที ทะนุที่ประทังความ
รอนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น
เอิบอิ่มกระหยิ่มหทยคราว ระอุผาวก็ผอนเย็น
ยังอุณหมุญจนะและเปน สุขปติดีใจ
วัชชีบวรนครสรร พจะขันจะเขมแขง
รี้พลสกลพิริยแรง รณการกลาหาญ
มาคธไผทรฐนิกร พลออนบชำนาญ
ทั้งสิ้นจะสูสมรราญ ริปุนั้นไฉนไหว
ดั่งอินทโคปกะผวา มุหฝาณกองไฟ
หิ่งหอยสิแขงสุริยะไหน จะมินาชิวาลาญ
ตัวละคร
4. รอบคอบ
วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไทไปเอาภาร ณกิจเพื่อเสด็จไป
ตางทรงรับสั่งวา จะเรียกหาประชุมไย
เราใชคนใหญใจ ก็ขลาดกลัวบกลาหาญ
5. ความเพียร
ครั้นลวงสามปประมาณมา สหกรณประดา
ลิจฉวีรา ชทั้งหลาย
สามัคคีธรรมทำลาย มิตรภิทนะกระจาย
สรรพเสื่อมหายน ก็เปนไป
ตัวละคร
กษัตริยลิจฉวี: ตั้งมั่นในธรรม7ประการ ขาดวิจารณญาณ และ มีทิฐิมากเกินไป

1. ตั้งมั่นในธรรม7ประการ

หนึ่ง เมื่อมีราชกิจใด ปรึกษากันไปบวายบหนายชุมนุม


สอง ยอมพรอมเลิกพรอมประชุม พรอมพรักพรรคคุมประกอบณกิจควรทำ
สาม นั้นถือมั่นในสัม มาจารีตจำประพฤติมิตัดดัดแปลง
สี่ ใครเปนใหญไดแจง โอวาทศาสนแสดงก็ยอมและนอมบูชา
หา นั้นอันบุตรภริยา แหงใครไปปรารภประทุษขมเหง
หก ที่เจดียคนเกรง มิย่ำยำเยงก็เซนก็สรวงบวงพลี
เจ็ด พระอรหันตอันมี ในรัฐวัชชีก็คุมก็ครองปองกัน
ตัวละคร
2.ขาดวิจารณญาญ

ตางองคนำความมิงามทูล พระชนกอดิศูร

แหง ธ โดยมูล ปวัตติ์ความ

แตกราวกาวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม

ทีละนอยตาม ณเหตุผล
ตัวละคร
3. มีทิฐิมากเกินไป

ศัพทอุโฆษ ประลุโสตทาว
ลิจฉวีดาว ขณะทรงฟง
ตางธก็เฉย และละเลยดัง
ไทมิอินัง ธุระกับใคร
ตางก็บคลา ณสภาคาร
แมพระทวาร บุรทั่วไป
รอบทิศดาน และทวารใด
เห็นนรไหน สิจะปดมี
ฉากทองเรื่อง
แทจริงแลวสามัคคีเภทคำฉันทเปนเรื่องราวของประอินเดียในสมัยพระเจาอชาตศัตรู แตดวยความเปนไทยของกวี จึงทำใหมีบางสวนของ
บทกลอนที่ยังคงความเปนไทย เชนการพรรณนาชมบานเมือง

อำพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสวโรฬาร
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม
เลหเลื่อนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย
มารังสฤษฎพิศนิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน
สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ชอฟาตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆัมพร
บราลีพิลาศศุภจรูญ นภศูลประภัสสร
หางหงสผจงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย
บทเจรจาหรือรำพึงรำพัน
บทนี้แสดงถึงความจงรักภัคดีของวัสสการพราหมณที่มีตอพระเจาอชาตศัตรู

โดยเต็มกตัญู กตเวทิตาครัน
ใหญยิ่งและยากอัน นรอื่นจะอาจทน
หยั่งชอบนิยมเชื่อ สละเนื้อและเลือดทน
ยอมรับทุเรศผล ขรแทบจะทำลาย
ไปเห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทำลาย
มอบสัตยสมรรถหมาย มนมั่นมิหวั่นไหว
แกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง
สามัคคีเภทคำฉันทมีแกนเรื่องเดนคือ การแตกสามัคคีสามารถทำใหเกิดหายนะในหมูคณะ
การอานและพิจารณาการใช
ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคำ
ผูประพันธเลือกใชคำใหตรงตามความตองการ เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง คำที่ใชสื่อความคิดและอารมณไดอยางงดงามและ
ชัดเจน การสรรคำในเรื่องมีดังตอไปนี้
1. เลือกใชคำใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง

ราชาลิจฉวี ไปมีสักองค
อันนึกจำนง เพื่อจักเสด็จไป
ตางองคดำรัส เรียกนัดทำไม
ใครเปนใหญใคร กลาหาญเห็นดี

บทประพันธขางตนเปนตัวอยางของการเลือกใชคำที่มีความเหมาะสมกับฐานะของบุคคล เมื่อผูแตงตองการกลาวถึงพระมหากษัตริย ผูแตงจะตองหานำ


คำศัพทที่เหมาะสมมาใช โดยในฉันทบทนี้มีการใชคำราชาศัพท
การสรรคำ
2. การเลือกใชคำโดยคำนึงถึงเสียง
2.1 การเลนเสียงสัมผัส
ในบทประพันธมีทั้งสัมผัสนอกสัมผัสในโดยเฉพาะสัมผัสสระและพยัญชนะเพื่อใหเกิดเสียงอันไพเราะ เชน คะเนกล กับ คะนึงการ และ ระวังเหือด
กับ ระแวงหาย ซึ่งเปนการเลนเสียงสัมผัสสระ

ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย

2.2 การใชคำที่เลนเสียงหนักเบา
การใชเสียงหนักเบาทำใหผูอานรูสึกถึงทำนอง ความไพเราะของเนื้อความไดมากชึ้น เชน

ดั่งนั้น ณ หมูใด ผิ บ ไรสมัครมี


พรอมเพรียงนิพันธนี รวิวาทระแวงกัน
การสรรคำ
2.3 การใชคำพองเสียงและคำซ้ำ
ในบทประพันธบางครั้งผูแตงจะใชการดลนเสียงคำพอง และคำซ้ำ เพื่อใหเกิดทำนอง และความงดงามของฉันท เชน

ควรยกประโยชนยื่น นรอื่นก็แลเหลียว
ดูบางและกลมเกลียว มิตรภาพผดุงครอง

2.4 การเลือกใชคำใหหลากหลาย
ผูแตงเลือกใชคำหลายๆคำที่มีความหมายเหมือนกันในการแตงกลอน เชน

ขุนคอคชคุมกุมอัง กุสกรายทายยังขุนควาญประจำดำรี
ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสารละตัวกำแหงแข็งขัน

คำวา คช ดำรี และคชสาร ที่ใชในบทประพันธขางตน เปนคำที่มีความหมายเดียวกัน ซึ่งคำทั้งหมดมีความหมายถึงชาง


การเรียบเรียงคำ
ในการเขียนบทงานบทประพันธตางๆ ผูแตงจะมีการเรียบเรียงคำและประโยคในบทประพันธเพื่อใหเขาใจงานตอผูอาน ทำใหผูอานสามารถเขาถึง
อารมณที่ถูกตองและเร็วขึ้น

1. สารสำคัญไวทายสุด
ในการแตงบทประพันธ ผูแตงจะนำสาระสำคัญ หรือใจความสำคัญไวดานหลังสุดเพื่อทำใหมีความหนักแนนในการอธิบายวัตถุประสงคและเนื้อหา

ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย

จากฉันทบทนี้ผูแตงไดประพันธฉันทบทนี้ใหมีความหนักแนน และกระชับของเนื้อหาโดยนำใจความสำคัญมาไวทายบท นั่นก็คือ การที่วัสสการพราม


หณคิดกลอุบายเพื่อใหเกิดความระแวงในหมูกษัตริยลิจฉวีนั้นเปนเครื่องมือที่ดีที่ทำใหเกิดการแตกแยก ขาดความสามัคคีดังเดิม เพื่อย้ำถึงเนื้อหาและสิ่งที่ตองการ
จะบอกผูอาน
การเรียบเรียงคำ
2. เรียงคำ วลี หรือประโยคที่มีความสำคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป

ตางทรงสำแดง ความแขงอำนาจ
สามัคคีขาด แกงแยงโดยมาน
ภูมิศลิจฉวี วัชชีรัฐบาล
.บ ชุมนุมสมาน แมแตสักองค

ผูประพันธเรียบเรียงคำที่มีความหนักแนนอยูขางกันเชน “สามัคคีขาด” และ “แกงแยงโดยมาน” เพื่อทำใหเกิดการแบงความสำคัญใหเทาๆกัน โดยสอง


คำนี้มีความหมายในเชิงเดียวกัน ในฉันทบทขางตน ผูแตงตองการใชคำเหลานี้ในการเลาถึงความทระนง และความคิดวาตนเองมีอำนาจมาก ซึ่งทำใหเกิดการ
ทะเลาะเบาะแวงกันเองในเหลากษัตริยลิจฉวี แตกความสามัคคี และตางตองการเปนใหญ
การเรียบเรียงคำ
3. เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลำดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดทายที่สำคัญที่สุด

เหี้ยมนั้นเพราะผันแผก คณะแตกและตางมา
ถือทิฐิมานสา หสโทษพิโรธจอง
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิ้น บ ปรองดอง
ขาดญาณพิจารณตรอง ตริมหลักประจักษเจือ
เชื่ออรรถยุบลเอา รสเลาก็งายเหลือ
เหตุหาก ธ มากเมือ คติโมหเปนมูล
จึ่งดาลประการหา ยนภาวอาดูร
เสียแดนไผทสูญ ยศศักดิเสื่อมนาม
ในบทประพันธขางตนเปนเรื่องของการแตกความสามัคคีในหมูกษัตริยลิจฉวีอันมาจากทิฐิของกษัตริย และการขาดสติในการใตรตรองขอมูลใหดีกอน โดยผู
แตงไดมีการจัดเรียงลำดับเหตุการณโดยคอยๆเพิ่มความเขมขนของเนื้อความไปจนจบ ซึ่งในบทนี้ผูแตงไดเขียนอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และสิ่งที่อาจเกิด
ขึ้นในอนาคตเพราะการแตกความสามัคคี
การเรียบเรียงคำ
4. เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลำดับแตคลายความเขมขนลงในชวงหรือประโยค สุดทายอยางฉับพลัน

อยาปรารถนาหวัง สุขทั้งเจริญอัน
มวลมาอุบัติบรร ลุไฉนบไดม
ปวงทุกขพิบัติสรร พภยันตรายกลี
แมปราศนิยมปรี ติประสงคก็คงสม
ควรชนประชุมเชน คณะเปนสมา
สามัคคิปรารม ภนิพัทธรำพึง
ไปมีก็ใหมี ผิวมีก็คำนึง
เนื่องเพื่อภิยโยจึง จะประสบสุขาลัยฯ

นอกจากผูแตงจะมีการเขียนเรียงลำดับความเขมขนใหมากขึ้น ยังมีการแตงคลายความเขมขน ของเรื่องในตอนทาย อยางที่เห็นในฉันทขางตน ผูแตงลด


ความเขมขนของการอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดการแตกความสามัคคีของเหลากษัตริย โดยการพูดถึงประโยชนของความสามัคคี และสอนใหทุกคนเขาใจ
และเขถึงความสามัคคี
การใชโวหาร
การใชโวหาร คือการนำภาษาที่ใชพูดและเขียนที่ใชอยูปกติมาดัดแปลง เพื่อกอใหเห็นภาพ ความรูสึก และอารมณตางๆ โดยการใช
โวหารมีหลายลักษณะเรียกวา “ภาพพจน” ดังนี้

1. อุปมาโวหาร
อุปมาโวหาร คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่งโดยมีคำมีที่หมาถึงคำวา เหมือน มาเปนตัวเชื่อม เชน

ปวงโอรสลิจฉวีดำ ริณวิรุธก็สำ
คัญประดุจคำ ธ เสกสรร
การใชโวหาร
2, อุปลักษณโวหาร การเปรียบเทียบโดยนัย ไมกลาวเปรียบเทียบตรง ๆ อยางอุปมา แตผูอานก็พอจะจับเคาไดจากคำที่ผูแตงใช เชน

หิ่งหอยสิแขงสุริยะไหน จะมินาชิวาลาญ

ผูอานยอมจะเขาใจไดวาหิ่งหอยนั้นหมายถึงกองทัพมคธสวนสุริยะนั้นหมายถึงกองทัพวัชชี
3. บุคคลวัต เปนการสมมุติสิ่งตางๆ ใหมีกิริยาอาการ มีความรูสึกเหมือนมนุษย (Personification) เชน

“วัชชีผูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไทไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป”

คำวา “ขาน” ปกติหมายถึงการกลาว เรียก หรือพูดตอบของมนุษย แตนำมาใชกับกลองที่เปนสิ่งของ เพื่อสรางจินตภาพใหเห็นวาเสียงของกลองเปนสิ่งที่


ใชเรียกหรือพูด ใหผูฟงไดยินอยางชัดเจน
การใชโวหาร
4. อติพจน
เปนการกลาวผิดไปจากที่เปนจริง เพื่อใหเรื่องที่แตงดูนาสนใจ นาติดตาม เชน

ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน”

จากบทประพันธขางตน ผูแตงไดใชคำวา “ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย” เพื่อแสดงถึงความตื่นตระหนกของชาวบานเมื่อเกิดการรุกราน โดยวรรคนี้


ทำใหรูวาตกใจและหวาดกลัวมาก ผานการใชอติพจน อีกทั้งยังเปนการทำใหผูอานเห็นภาพ และคิดตามไดอีกดวย
การใชโวหาร
5. นามนัย
นามนัย เปนการใชชื่อสวนประกอบที่เดนของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆทั้งหมด โดยมีสวนประกอที่เกี่ยวของกัน เชน

“แมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง
มัดกำกระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน
เหลาไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูตน
กิจใดจะขวายขวน บ มิพรอมมิเพรียงกัน”

ในประโยคที่วา “แมมากผิกิ่งไม ผิวใครจะใครลอง มัดกำกระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน” โดยธรรมชาติแลว กิ่งไมกิ่งเดียวสามารถหักไดดวยมือเปลา ในทาง


กลับกันกิ่งไมที่ถูกมัดเปนกำ ตอใหใชพลกำลังมหาศาลก็ไมสามารถ หักมันได แสดงใหเห็นวานายชิต บุรทัตใชลักษณะเดนของกำของกิ่งไมซึ่งก็คือ สามารถ
แตกหักไดยากเพื่อแทน ความสามัคคีและเปนหนึ่งเดียวกันในหมูคณะ และในภาพรวมนามนัยนี้แปลไดความวา เมื่อผูรวมมือกัน จะกอเกิดเปนความสามัคคีที่
ปญหาหรือแรงภายนอกก็ไมสารถที่จะทำลายความสามัคคีนี้ลงได
การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณ
คาในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณคาดานอารมณ
จุดเดนอยางหนึ่งของสามัคคีเภทคำฉันทคือความสามารถที่ทำใหผูอื่นมีอารมณคลอยตามกับเนื้อเรื่องไดดีเยี่ยมโดยการ

1. ทำใหผูอานเกิดอารมณโปรงปติ คลอยตามบทประณามพจนในตอนตนเรื่อง เชน

ขอนอมคุณพระคเณศวิเศษศิลปธร
เวทางคบวร กวีเปนเจาแหงวิทยาวราภรณศรี
สุนทรสุวาที วิธาน
คุณคาดานอารมณ
2. ทำใหผูอานเกิดอารมณชื่นชมยินดี เชน

อำพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสนวโรฬาร
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม
เลหเลื่อนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย
มารังสฤษฎิ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็ทัน

3. ทำใหผูอานเกิดอารมณตื่นเตน เอาถึงอารมณืของเนื้อเรื่อง เชน


ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยางบานตน
คุณคาดานอารมณ
4. สรางอารมณผูอานใหเกิด หรือรูสึกถึงอารมณโกรธ เชน
ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น
จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทันอะไร ก็หมิ่นกู

5. สรางอารมณผูอานใหเกิดอารมณหวาดกลัว เชน
ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสีหนาทพึง
สยองภัย เอออุเหมณมึงชิชางกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเปน
คุณคาดานวรรณศิลป
สามัคคีเภทคำฉันทมีการใชฉันทลักษณไดอยางงดงามและเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เนื่องจากกวีเลือกสรรถอยคำ มีการเลนเสียงสัมผัสทั้ง
พยัญชนะและสระ จึงเกิดความไพเราะสละสลวย เชน

แตกราวกราวรายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม
ทีละนอยตาม ณ เหตุผล
ฟนเฝอเชื่อนัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด
คุณคาดานวรรณศิลป
อีกทั้งยังใชคำงายๆ มีการบรรยายและพรรณนาตัวละครไดอยางกระชับ แตสรางภาพใหผูอานสามารถจินตนาการตามได เชน
ขาวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมูผูคน ชาวเวสาลี
แทบทุกถิ่นหมด ชนบทบูรี
อกสั่นขวัญหนี หวาดกลัวทั่วไป
ตื่นตาหนาเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุนหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซอนตัวแตกภัย
เขาดงพงไพร ทิ้งยานบานตน
คุณคาดานวรรณศิลป
สามัคคีเภทคำฉันท เปนฉันททีมีความหลากหลายมาก เนื่องจกผูแตงไดเลือใฉันทแตละชนิดแตงเรื่องสลับกันไป เพื่อใหเห็นถึงความสวย
งาม ไพเราะ โดยฉันทที่ผูแตงใชในเรื่องนี้มีทั้งหมด ๑๘ ชนิด เชน ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ มาณวกฉันท ๘ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑
สัทธราฉันท ๒๑ สาลินีฉันท ๑๑ อุปฏฐิตาฉันท ๑๑ วิชชุมมาลาฉันท ๘ อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ จิตรปทาฉันท ๘ และสัททุลวิกกีตฉันท ๑๙
คุณคาดานสังคม
สามัคคีเภทคำฉันทยังเเสดงใหเห็นถึงขอคิดเเละเตือนสติผูอานในการใชชีวิตหลายเรื่องโดยเนนสอนเรื่องการใชชีวิต และความสามมัคคี
ผูแตงตองการจะสื่อวา ในการใชชีวิต เราจะตองเจอกับผูคนมากมาย ทำงานดวยกัน และเพื่อที่จะใหประสบผลสำเร็จนั้น ทุกคนในกลุมควร
ชวยเหลือกันและกัน ทั้งทำงาน และแกปญหาที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการขาดความสามัคคี อาจกอใหเกิดการทะเลาะเบาะแวง และความ
เสียหายดานอื่นๆ บทประพันธบทนี้สอนใหใชสติในการแกปญหาแทนใชกำลัง การพยายามที่จะทำสิ่งตางๆ อีกทั้งยังสะทอนใหเห็นถึงสะภาพ
สังคมที่เปนอยูในปจจุบันดวย

You might also like