You are on page 1of 22

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือ ่ ง สามัคคีเภทคาฉันท์

โดย

นางสาววิชญาดา วรรณะ ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6
เลขที่ 22
นางสาวอภิษฎา ฉัตร์ชลบุษย์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6 เลขที่ 3
นางสาวชญาภรณ์ เหล่าวัฒนชัย ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/6
เลขที่ 8

เสนอ
อ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2560


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
คานา
รายงานฉบับนี้ จดั ทาขึน ้ เพือ่ เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย
ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5
โดยมีจุดประสงค์เพือ ่ ศึกษาหาความรูจ้ ากวรรณคดีเรือ ่ ง สามัคคีเภทคาฉันท์
ไม่วา่ จะเป็ นด้านการอ่านและการพิจารณาเนื้อหา
รวมถึงกลวิธีในการแต่งและการใช้ภาษา
ตลอดจนประโยชน์และคุณค่าด้านต่างๆทีส ่ อดแทรกอยูใ่ นวรรณคดีเรือ ่ งนี้
ทัง้ นี้จงึ ต้องอาศัยการอ่านและการพิจารณาอย่างละเอียดถีถ ่ ว้ นเพือ ่ ทาให้เกิดคว
ามเข้าใจอย่างถูกต้องโดยอาศัยกระบวนการวิเคราะห์และตีความ
เนื้อหาต่างๆได้มีการศึกษารวบรวมจากแบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษ์
ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 รวมถึงเนื้อเรือ ่ งเต็มของสามัคคีเภทคาฉันท์
จากห้องสมุดดิจท ิ ลั วชิรญาณ
ซึง่ เป็ นโครงการทีจ่ ดั ทาขึน ้ เพือ่ รวบรวมหนังสือต่างๆในเทศไทยในรูปแบบหนั
งสืออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ผจู้ ดั ทาต้องขอขอบคุณอาจารย์พนมศักดิ ์
มนูญปรัชญาภรณ์
ผูใ้ ห้ความรูแ ้ ละคาแนะนาเพือ ่ นามาแก้ไขรายงานเล่มนี้ให้ออกมาถูกต้องสมบู
รณ์ ทส ี่ ุด
อีกทัง้ ยังหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ตอ ่ ผูอ
้ า่ นหรือผูท ้ ต
ี่ อ

งการศึกษาเรือ ่ งสามัคคีเภทคาฉันท์ หากมีขอ ้ แนะนา
หรือข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้ และขออภัยมา ณ ทีน ่ ี้ดว้ ย
คณะผูจ้ ดั ทา
5 มิถุนายน 2560
สารบัญ
1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1 เนื้อเรือ
่ ง
1
1.2 โครงเรือ ่ ง
1
1.3 ตัวละคร
1-4
1.4 ฉากท้องเรือ ่ ง
4-5
1.5 บทเจรจาหรือราพึงราพัน
5-6
1.6 แก่นเรือ ่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง
6-7
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1 การสรรคา
7-9
2.2 การเรียบเรียงคา
9-11
2.3 การใช้โวหาร
11-12
3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1 คุณค่าด้านอารมณ์
12-13
3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม
13-14
1

การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. เนื้อเรือ่ ง
พระเจ้าอชาตศัตรู กษัตริย์ผป ู้ กครองแคว้นมคธ ทีม ่ ีราชคฤห์เป็ นเมืองหลวง
ทรงมีพระประสงค์จะขยายอาณาจักรให้กว้างขวาง
โดยหมายตาแคว้นวัชชีของกษัตริย์ลจิ ฉวี
อันปกครองและตัง้ มั่นอยูใ่ นธรรมทีเ่ รียกว่า อปริหานิยธรรม คือ
ธรรมอันไม่เป็ นทีต ่ ง้ ั แห่งความเสือ ่ ม ซึง่ เน้นความสามัคคีเป็ นหลัก
ดังนัน ้ การจะทาสงครามจึงต้องใช้ปญ ั ญามิใช่กาลัง
อย่างไรก็ตามพระเจ้าอชาตศัตรูทรงมีปุโรหิตทีป ่ รึกษาคนสนิทชือ ่
วัสสการพราหมณ์ เนื่องด้วยวัสสการพราหมณ์
เป็ นผูร้ อบรูด ้ า้ นศิลปศาสตร์และมีสติปญ ั ญาอันเฉี ยบแหลม
ทัง้ สองจึงปรึกษาเพือ ่ หา
กลอุบายทาลายความสามัคคีของกษัตริย์ลจิ ฉวีโดยการเนรเทศวัสสการพราหม
ณ์ ออกจากแคว้นมคธเพือ ่ เดินทางไปยังเมืองเวสาลี
ด้วยความเป็ นทีเ่ ป็ นผูม ้ ีวาทศิลป์ รูจ้ กั ใช้เหตุผลโน้มน้าวใจ
จึงทาให้เหล่ากษัตริย์รบ ั วัสสการพราหมณ์ ไว้ในราชสานัก
โดยให้ทาหน้าทีพ ่ จิ ารณาคดีความและถวายพระอักษรเหล่าพระกุมารทัง้ หลาย
จนเป็ นทีไ่ ว้ใจ ครัน ้ ได้โอกาสคาดคะเนว่าพวกกษัตริย์ไว้วางใจตน
ก็เริม ่ ทาอุบายให้ศษ ิ ย์แตกร้าวกัน จนเกิดการวิวาท
แล้วนาความนัน ้ ขึน ้ กราบทูลชนกของตน
เมือ ่ เป็ นเช่นนัน ้ ความร้าวรานก็ลามไปถึงบรรดากษัตริย์ทเี่ ชือ ่ ถ้อยคาโอรสของ
ตนโดยปราศจากการไตร่ตรองใดๆ จนกระทั่งผ่านไป ๓ ปี
สามัคคีธรรมในหมูก ่ ษัตริย์ ลิจฉวีก็สูญสิน ้ ไป เมือ
่ นัน

พระเจ้าอชาตศัตรูจงึ ได้กรีธาทัพสูเ่ มืองเวสาลี
สามารถปราบแคว้นวัชชีลงได้อย่างง่ายดาย

2. โครงเรือ ่ ง
ในครัง้ โบราณกาล
กษัตริย์องค์หนึ่งมีพระประสงค์จะขยายอาณาจักรออกไปยังแคว้นทีม ่ ีความเข้ม
แข็งเพราะมีคณ ุ ธรรมในความสามัคคี
พระองค์จงึ ส่งปุโรหิตคนสนิทเข้าไปยุแหย่ให้เหล่ากษัตริย์ผป
ู้ กครองแคว้นเกิด
ความแตกแยกและขัดแย้งกัน ท้ายทีส ่ ุดแล้วแผนการก็สาเร็จ

3. ตัวละคร

พระเจ้าอชาตศัตรู
2

จากเรือ
่ งสามัคคีเภทคาฉันท์
ตอนพระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี
ชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงมีความเฉลียวฉลาด มีความแข็งแกร่ง
รูจ้ กั ใช้คนทีท
่ าให้ความต้องการทีจ่ ะแผ่พระบรมเดชานุภาพของตนเองสาเร็จผ

“จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี
ธาสูวสิ าลี นคร
โดยทางอันพระทวารเปิ ดนรนิกร
ฤารอจะต่อรอน อะไร”

บทประพันธ์นี้แสดงให้เห็นว่าเมือ ่ จอมทัพแห่งแคว้นมคธกรีฑาทัพเข้าเมื
องเวสาลี ประตูเมืองนัน
้ ก็เปิ ดอยูโ่ ดยไม่มีผค
ู้ นหรือทหารต่อสูป
้ ระการใด

เพราะความละเอียดรอบคอบเช่นนี้
ทาให้การยึดแคว้นวัชชีเป็ นไปอย่างง่ายดาย
โดยทีท่ พ
ั ของตนไม่ตอ
้ งเสียเลือดเสียเนื้อ หรือเปลืองแรงในการต่อสู้
พระองค์มีความสามารถในการนารบ
เมือ
่ ปราบปรามแล้วก็เสด็จยังเมืองราชคฤห์อน ั ยิง่ ใหญ่ดงั เดิม

“ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย
แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์
ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต
ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม”

วัสสการพราหมณ์
เป็ นผูท
้ ยี่ อมเสียสละ
ออกจากบ้านเมืองมายาวนานและเสีย่ งไปอยูใ่ นหมูศ
่ ตั รู
ต้องใช้ความอดทนและรักษาความลับเพือ ่ ให้อุบายสัมฤทธิผ์ ล
เพราะจากคาประพันธ์ขา้ งต้นแผนการนี้ยาวนานถึง ๓ ปี

“ครั่นล่วงสามปี ประมาณมา สหกรณประดา


ลิจฉวีรา ชทัง้ หลาย
สามัคคีธรรมทาลาย มิตรภิทนะกระจาย
สรรพเสือ่ มหายน์ ก็เป็ นไป”

เป็ นผูท
้ ม
ี่ ีความรอบคอบไม่ประมาท เมือ ์ ล
่ แผนการคาดว่าจะสัมฤทธิผ
เพราะสังเกตเห็นความแตกแยกและต้องการตรวจสอบว่ากษัตริย์ลจิ ฉวีแตกสา
มัคคีกน
ั อย่าแท้จริง จึงลองตีกลองนัดประชุม
3

ปรากฏว่าไม่มีกษัตริย์องค์ใดเข้ามาประชุมเลย
จึงทาให้ม่น
ั ใจได้วา่ แต่เหล่ากษัตริย์ตา่ งมีความขุน
่ เคืองให้อีกฝ่ ายอย่างแท้จริง

“วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไท้ไป่ เอาภาร ณ กิจเพือ่ เสด็จไป
ต่างทรงรับสั่งว่า จะเรียกหาประชุมไย
เราใช่คนใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัวบกล้าหาญ”

จากนัน้ รีบกราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรู
แสดงให้เห็นว่ามีคุณสมบัตท
ิ น
ี่ ่ ายกย่องด้านการจงรักภักดีตอ
่ พระเจ้าอชาตศัตรู
และบ้านเมือง

“เห็นเชิงพิเคราะห์ชอ่ ง ชนะคล่องประสบสม
พราหมณ์ เวทอุดม ธ ก็ลอบแถลงการณ์
ให้วลั ลภ ชน คม ดลประเทศฐาน
กราบทูลนฤบาล อภิเผ้า มคธไกร”

นอกจากนี้ยงั เป็ นเลิศและน่ าชืน


่ ชมในด้านการทาอุบาย
ดังคาประพันธ์ทก
ี่ ล่าวไว้หลังจากพระเจ้าอชาตศัตรูได้แผ่นดินวัชชีอย่างง่ายดา

“ควรชมนิยมจัด คุรุวสั สการพราหมณ์


เป็ นเอกอุบายงาม กลงากระทามา”

เหล่าโอรสของกษัตริย์ลจิ ฉวี
ไม่เชือ่ ใจซึง่ กันและกัน และสามารถถูกยุแหย่ได้งา่ ย
สามารถเห็นได้จากการทีพ ่ ระโอรสองค์อืน ่ ๆไม่เชือ ่ ระโอรสองค์หนึ่งที่
่ สิง่ ทีพ
ถูกเรียกเข้าไปคุยกับวัสสการพราหมณ์ พูด
แม้สงิ่ ทีต
่ รัสมาเหล่านัน ้ จะเป็ นเรือ
่ งจริงทุกประการ
“กุมารนัน
้ สนองสา รวากย์วาทตามเลา
เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดีมา
กุมารอืน
่ สงสัย มิเชือ่ ในพระวาจา
สหายราช ธ พรรณนา และต่างองค์ก็พาที
ไฉนเลยพระครูเรา จะพูดเปล่าประโยชน์ มี
เลอะเหลวนักละล้วนนี รผลเห็น บ เป็ นไป”

เหล่าโอรสถูกวัสสการพราหมณ์ เรียกไปคุยเรือ ่ งทีไ่ ร้สาระไม่มีประโย


ชน์ เมือ ่ ใจซึง่ กันและกัน จึงทาให้แตกความสามัคคี
่ ซักถามก็ไม่เชือ
4

กษัตริย์ลจิ ฉวี
เป็ นตัวอย่างของหมูเ่ หล่าทีม ่ ีความสามัคคีและตัง้ มั่นในอปริหานิยธรรม
ประดุจกิง่ ไม้ทรี่ วมกันเป็ นกา ซึ่งยากทีใ่ ครจะหักทาลายลงได้
ดังคาประพันธ์ทีว่ า่

“แม้มากผิกงิ่ ไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง


มัดกากระนัน
้ ปอง พลหักก็เต็มทน”

เหล่ากษัตริย์รว่ มกันปกครองแคว้นวัชชีมานาน
ทรงมีฐานะเสมอกันและยกย่องให้เกียรติกน ั เสมอ
ก่อนกระทากิจใดๆย่อมต้องมีการปรึกษาหารือ จนมีพละกาลังดั่ง “มัดกากิง่ ไม้”

ถึงแม้จะรักษาความสามัคคีมาช้านาน
เมือ
่ วัสสการพราหมณ์ ดาเนินการยุยงเหล่าโอรส

“ขุน
่ มนเคือง เรือ่ งนฤสาร
เช่นกะกุมาร ก่อนก็ระดม
เลิกสละแยก แตกคณะกลม
เกลียว บ นิยม คบดุจเดิม”

จากบทประพันธ์ขา้ งต้น
เป็ นฉากหลังเสร็จสิน ้ การเรียนกับวัสสการพราหมณ์ เหล่ากุมารก็ปรึกษาหารือ
ถามไถ่วา่ พระอาจารย์พูดเรือ ่ งอะไรบ้าง ต่างตอบตามความจริง
แต่ไม่เชือ ่ กันเพราะคิดแล้วไม่สมเหตุสมผล
แต่ละองค์เริม ่ เคืองใจซึง่ กันและกัน
่ ขุน
และไม่สนิทสนมกลมเกลียวกันเหมือนแต่กอ ่ น
ทัง้ นี้เกิดเป็ นจุดเริม่ ต้นของความขัดแย้ง จนกระทั่ง

“ต่างองค์นาความมิงามทูล พระชนกอดิศรู
แห่ง ธ โดยมูล ปวัตติค์ วาม
แตกร้าวกร้าวร้ายก็ป้ายปาม ลุวรบิดรลาม
ทีละน้อยตาม ณ เหตุผล
ฟั่นเฝื อเชือ่ นัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด”
5

โอรสแต่ละองค์นาเรือ
่ งกราบทูลชนกของตน
ความแตกสามัคคีคอ ่ ยๆลามไปถึงบรรดากษัตริย์
ทีต
่ า่ งขาดวิจารณญาณและเชือ ่ ในคาของโอรสอย่างไร้ขอ
้ กังขา

จนท้ายทีส ่ ุดเมือ
่ พระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมา
เหล่ากษัตริย์ลจิ ฉวีก็มาถึงซึง่ ความล่มจม เหตุเพราะความแตกแยก
ยึดมั่นในความคิดและทิฐข ิ องตน จนขาดปัญญาทีจ่ ะพิจารณาไตร่ตรอง
ดังคาประพันธ์เมือ ่ ตอนทีพ่ ระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี กล่าวว่า

“เหี้ยมนัน
้ เพราะผันแผก คณะแตกและต่างมา
ถือทิฐม
ิ านสา หสโทษพิโรธจอง
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิน
้ บ ปรองดอง
ขาดญาณพิจารณ์ ตรอง ตริมลักประจักษ์ เจือ”

4. ฉากท้องเรือ ่ ง
สามัคคีเภทคาฉันท์เป็ นเรือ
่ งราวจากอินเดีย
ซึง่ มีเค้าโครงเรือ่ งจากพระไตรปิ ฎกในสมัยพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธ
กวีของอินเดียจึงพรรณนาฉากให้เข้ากับบ้านเมืองในสมัยนัน ้
อย่างไรก็ตามเมือ ่ ไทยรับวรรณคดีเรือ่ งนี้เข้ามา นายชิต บุรทัต
้ งึ่ เป็ นกวีไทย ได้ปรับแต่งฉาก ให้มีความเป็ นไทย
ผูซ
ตัวอย่างฉากจากวสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
“ภาพเทพพนมวิจต ิ ระยิง่ นรสิงหะลายอง
ครุฑยุตภุชงค์วยิ ะผยอง และเผยอขยับผัน”

บทร้อยกรองข้างต้นพรรรณนาถึงความสวยงามของภาพบนผนัง
่ ระหนึ่งว่ากาลังขยับบินอย่างองอาจ
มีการกล่าวถึงนรสิงห์และครุฑยุดนาคทีป

“โดยรอบมหานคระเล่ หะสิเนรุปราการ
มั่นคงอรินทระจะราญ ก็ระย่อแล้วท้อหนี”

โดยรอบมหานครมีกาแพงเมืองทีม
่ ่น
ั คงดั่งเขาพระสุเมรุลอ
้ มรอบอยู่

“เนืองแน่ นขนัดอัศวะพา หนะชาติกุญชร


ชาญศึกสมรรถะณสมร ชยะเพิกริปูภน
ิ ทร์”

เมืองเนืองแน่ นไปด้วยม้าศึก และช้างศึกทีช


่ านาญสงคราม
เผยให้เห็นถึงความสนุกสนานในแผ่นดินอันรุง่ เรืองและงดงาม
6

“สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ช่อฟ้ าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆมั พร”

มีการกล่าวถึง “ช่อฟ้ า”
ซึง่ เป็ นสิง่ ทีอ
่ ยูบ
่ ริเวณยอดสุดของหน้าบันในสถาปัตยกรรมไทย
เนื่องจากช่อฟ้ าเป็ นนัยทีห ่ มายถึงการบูชาพระรัตนตรัย และทวยเทพบนสวรรค์
เหตุนี้พญานาคจึงถูกใช้เป็ นส่วนต่างๆในศิลปะการก่อสร้างของไทย
เนื่องจากมีความเชือ ่ ทีว่ า่ เป็ นสัตว์ทค
ี่ ม
ุ้ ครองพระพุทธศาสนา

“บานบัฏพระบัญชรสลัก ฉลุลกั ษณ์ เฉลาลาย


เพดานก็ดารกะประกา ระกะดาษประดิษฐ์ดี”

มีการกล่าวถึงหน้าต่างไทยทีไ่ ด้รบ
ั การสลักอย่างสวยงาม
อีกทัง้ ยังมีดวงดาวต่างๆบนเพดานเหมือนในวัดไทย
นอกจากนี้ยงั มีการบรรยายฉากถึงความวุน ่ วายเมือ
่ แคว้นของพระเจ้าอช
าตศัตรูเดินทางมาถึงเมือง
เวสาลี ประชาชนต่างแตกตืน ่ และหลบเข้าป่ า
มีสว่ นทาให้ผอ ู้ า่ นคล้อยตามและสัมผัสถึงความหวาดกลัวทีแ ่ ผ่กระจายไปทั่วทัง้
เมือง ชาวบ้านต่างพากันอพยพครอบครัวเพือ ่ หนีภยั
ทิง้ บ้านเรือนเข้าไปหลบหนีในป่ า
“ข่าวเศิกเอกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมูผ่ ค
ู้ น ชาวเวสาลี
แทบทุกถิน ่ หมด ชนบทบูรี
อกสั่นขวัญหนี หวาดกลัวทั่วไป
ตืน่ ตาหน้าเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุน
่ หวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย
เข้าดงพงไพร ทิง้ ย่านบ้านตน”

5. บทเจรจาหรือราพึงราพัน
“เอออุเหม่นะมึงชิชา่ งกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น
ศึกบ่ถงึ และมึงก็ยงั มิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยัน้ มิทนั อะไร ก็หมิน
่ กู”
7

จากตัวอย่างข้างต้น ซึง่ เป็ นฉากจากอีทส ิ งั ฉันท์ ๒๐


สามารถวิเคราะห์ได้วา่ พระเจ้าอชาตศัตรูเป็ นผูท ้ ม
ี่ ีความเฉลียวฉลาด
ท่านทรงรับฟังกลอุบายตามคากราบทูลของวัสสการพราหมณ์
ทรงกระทาเหมือนว่าทรงขัดเคืองพระราชหฤทัยได้สมจริง
ทรงเกรี้ยวกราดเเละตวาดด้วยเสียงทีน ่ ่ าเกรงขาม ทาใหัคนเชือ ่ ได้งา่ ย

“ต่างทรงรับสั่งว่า จะเรียกหาประชุมไย
เราใช่เป็ นใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัว บ กล้าหาญ
ท่านใดทีเ่ ป็ นใหญ่ และกล้าใครมิเปรียบปาน
พอใจใคร่ในการ ประชุมชอบก็เชิญเขา
ปรึกษาหารือกัน ไฉนนัน้ ก็ทาเนา
จักเรียกประชุมเรา บ แลเห็นประโยชน์เลย”

บทร้อยกรองข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการตัดพ้อ
และการประชดประชันของเหล่ากษัตริย์ทแ ี่ ตกความสามัคคีกน

ทุกพระองค์ตา่ งทรงรับสั่งว่า
จะเรียกประชุมเพือ
่ อะไรในเมือ ่ เราไม่ได้เป็ นใหญ่
ใครคิดว่าตัวเองใหญ่ไม่มีใครเปรียบเทียบได้ก็จงประชุมไป
ถึงตัวเราจะไปก็ไม่เห็นว่าจะเกิดประโยชน์ใดๆ

6. แก่นเรือ
่ ง
เเก่นหลักของเรือ
่ งสามัคคีเภทคาฉันท์คอ ื โทษของการเเตกความสามัคคีซงึ่
ทาให้เกิดความหายนะในหมูค ่ ณะ
แก่นเรือ
่ งรอง อืน
่ ๆทีส
่ นับสนุนเเก่นเรือ
่ งหลักให้เด่นชัดมีหลายประการ
ได้เเก่

การรูจ้ กั เลือกใช้บุคคลให้เหมาะสมกับงานจะทาให้งานสาเร็จด้วยดี
“ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริย์ลจิ ฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย
เหมาะแก่การณ์ จะเสกสรร ปวัตน์ วญ
ั จโนบาย
มล้างเหตุพเิ ฉทสาย สมัครสนธิส์ โมสร”

บทประพันธ์ขา้ งต้นเเสดงให้เห็นว่าวัสสการพราหมณ์ เป็ นผูท


้ ม
ี่ ีสติปญ
ั ญา
หลักเเหลมเเละสามารถคิดกลอุบายได้เเยบยล
ซึง่ เเสดงให้เห็นว่าพระเจ้าอชาตศัตรูเลือกใช้บุคคลได้เหมาะสมกับงานทาให้สุ
ดท้ายเเล้วประสบผลสาเร็จ
8

การใช้สติปญ
ั ญาเอาชนะฝ่ ายศัตรูโดยไม่ตอ
้ งเสียเลือดเนื้อ
“ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย
แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์
ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอุต
ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม”

จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเเสดงให้เห็นว่ากลอุบายของวัสสการพราหมณ์
ทาให้ฝ่ายกษัตริย์ลจิ ฉวีแตกความสามัคคีกนั
เมือ
่ กองทัพของพระเจ้าอชาตศัตรูมาถึงก็สามารถยึดครองแคว้นได้อย่างง่ายดา
ย โดยไม่ตอ ้ งเสียเลือดเสียเนื้อ

การถือความคิดของตนเป็ นใหญ่และทะนงตนว่าดีกว่าผูอ
้ ืน
่ ย่อมทาให้เกิดความ
เสียหายต่อส่วนรวม
“เหี้ยมนัน
้ เพราะผันแผก คณะแตกและต่างม
ถือทิฐม
ิ านสา หสโทษพิโรธจอง
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิน
้ บปรองดอง
ขาดญาณพิจารณ์ ตรอง ตริมลักประจักษ์ เจือ”

จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเเสดงให้เห็นถึงการเเตกสามัคคี
ต่างคนต่างยึดมั่นในความคิดของตน ซึง่ นามาซึง่ ความพินาศของบ้านเมือง

การใช้วจิ ารณญาณใคร่ครวญก่อนทีจ่ ะตัดสินใจทาสิง่ ใดย่อมเป็ นการดี


“เชือ่ อรรถยุบลเอา รสเล่าก็งา่ ยเหลือ
เหตุหากธมากเมือ คติโมหเป็ นมูล
จึง่ ดาลประการหา ยนภาวอาดูร
เสียแดนไผทสูญ ยศศักดิเสือ่ มนาม”

บทประพันธ์ขา้ งต้นเเสดงให้เห็นว่าการเชือ ่ คนง่าย


ไม่ไตร่ตรองให้ดก
ี อ่ นจะเชือ
่ หรือปฏิบตั ต ิ ามคาพูดของผูอ ้ ืน

จะนามาซึง่ ความฉิ บหาย เสียเเผ่นดิน ชือ่ เสียง เเละเกียรติยศ

การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. การสรรคา
เลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรือ
่ งและฐานะของบุคคลในเรือ
่ ง
“ราชาลิจฉวี ไป่ มีสกั องค์
อันนึกจานง เพือ่ จักเสด็จไป
ต่างองค์ดารัส เรียกนัดทาไม
ใครเป็ นใหญ่ใคร กล้าหาญเห็นดี”
9

จากคาประพันธ์ขา้ งต้น มีการใช้คาราชาศัพท์ ซึง่ ก็คอ


ื คาว่า
“ดารัส”ทีแ ่ ปลว่าการพูดของกษัตริย์ และคาว่า “เสด็จ”ทีห ่ มายถึง ไป
ซึง่ เป็ นฉากทีก่ ษัตริย์ลจิ ฉวีแสดงความคิดเห็นว่าเหตุใดพระองค์จงึ ต้องไปรวม
ตัวประชุม แม้วา่ เสียงกลองนัดจะดังขึน ้
ตัวอย่างนี้ชี้ให้เห็นว่าผูแ ้ ต่งใช้คาราชาศัพท์
ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับฐานะและสถานภาพของกษัตริย์
เนื่องจากเป็ นชนชัน ้ ทีม่ ีคาศัพท์เฉพาะตน

เลือกใช้คาให้เหมาะสมแก่ลกั ษณะของคาประพันธ์
“เอออุเหม่นะมึงชิชา่ งกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น
ศึกบ่ถงึ และมึงก็ยงั มิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยัน ้ มิทนั อะไร ่ กู”
ก็หมิน

จากตัวอย่างข้างต้น ซึง่ เป็ นฉากจากอีทสิ งั ฉันท์ ๒๐


สามารถวิเคราะห์ได้วา่ พระเจ้าอชาตศัตรูทรงกระทาเหมือนว่าทรงขัดเคืองพระ
ราชหฤทัยได้สมจริง ทรงเกรี้ยวกราดเเละตวาดด้วยเสียงทีน ่ ่ าเกรงขาม
ทาให้คนเชือ
่ ได้งา่ ย
มีการใช้คาทีก
่ ระแทกกระทัน ้ เหมาะสมกับบทประพันธ์ทก ี่ าลังดุเดือด

“อาพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสน์วโรฬาร์
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พงึ ชม
เล่ห์เลือ่ นชะลอดุสติ ฐา นมหาพิมานรมย์
มารังสฤษฏ์พศ ิ นิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน
สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ช่อฟ้ าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆมั พร
บราลีพลิ าศศุภจรูญ นภศูลประภัสสร
หางหงส์ผจงพิจต ิ รงอน ดุจกวักนภาลัย”

มีการใช้คาทีม
่ ีลีลานุ่มนวลในการแต่งบทชมต่างๆเพือ
่ พรรณนาภาพอันง
ดงาม ดังเช่น บทชมเมืองราชคฤห์ในแคว้นมคธของพระเจ้าอชาตศัตรูขา้ งต้น
10

เลือกใช้โดยคานึงถึงเสียง
- คาเลียนเสียงธรรมชาติ
“วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไท้ไป่ เอาภาร ณ กิจเพือ่ เสด็จไป”
จากบทประพันธ์ขา้ งต้น มีการใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ ซึ่งก็คอ ื เสียง
“กระหึม” ตอนตีกลองเรียกประชุมเป็ นคาทีก่ อ
่ ให้เกิดความรูส้ ก
ึ ฮึกเหิม

- คาทีเ่ ล่นเสียงสัมผัส
ผูป
้ ระพันธ์เลือกสรรถ้อยคาแล้วนามาเรียงร้อยอย่างดี
ทัง้ นี้ทาให้เกิดเสียงอันไพเราะเนื่องจากการเล่นเสียงสัมผัสใน
อีกทัง้ เสียงสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ เช่น

“แตกร้าวกร้าวร้ายก็ป้ายปา ลุวรบิดรลาม
ทีละน้อยตาม ณ เหตุผล
ฟั่นเฝื อเชือ่ นัยดนัยตน นฤวิเคราะหเสาะสน
สืบจะหมองมล เพราะหมายใด”

สัมผัสสระ ร้าว-กร้าว-ร้าย-ป้ าย วร-ดร


ฟั่น-นัย เฝื อ-เชือ
่ เคราะห-เสาะ
สัมผัสพยัญชนะ
ร้าว-ร้าย ป้ าย-ปา ลุ-ลาม
นัย-ดนัย เสาะ-สน
หมอง-มล
- คาทีเ่ ล่นเสียงหนักเบา
ในการแต่งกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ นายชิต บุรทัต ได้เพิม ่ ลักษณะบังคับ
ใช้คาครุ แต่งสลับกับคาลหุ ทาให้มีเสียงสัน
้ ยาวเป็ นจังหวะคล้ายฉันท์
ตัวอย่างเช่น

“สะพรึบสะพรั่ง ณ หน้าและหลัง
ณ ซ้ายและขวา ละหมูล่ ะหมวด
ก็ตรวจก็ตรา ประมวลกะมา
สิมากประมาณ”

- คาพ้องเสียงและคาซ้า
“สามยอดตลอดระยับระยับ วะวะวับสลับพรรณ
11

ช่อฟ้ าตระการกลจะหยัน จะเยาะยั่วทิฆมั พร”


มีการใช้สมั ผัสพยัญชนะและสัมผัสสระรวมถึงการใช้คาซา้ ว่าระยับระยับ

2. การเรียบเรียงคา
1. เรียงข้อความทีบ ่ รรจุสารสาคัญไว้ทา้ ยสุด
ผูเ้ ขียนต้องการเน้นยา้ ถึงใจความสาคัญของเรือ ่ งทีว่ า่
ความหวาดระแวงเป็ นสิง่ สาคัญทีจ่ ะทาให้แผนการยึดครองแคว้นวัชชีของพระ
เจ้าอชาตศัตรูสาเร็จ
จึงขึน ้ ต้นด้วยแผนอันชาญฉลาดของวัสสการพราหมณ์ เพราะเป็ นสิง่ ทีจ่ ะส่งผลใ
ห้ความสามัคคีนน ้ ั เหือดหายไป
“ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษัตริย์ลจิ ฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย”

2. เรียงคา วลี หรือประโยคทีม


่ ีความสาคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป

“ต่างทรงสาแดง ความแขงอานาจ
สามัคคีขาด แก่งแย่งโดยมาน
ภูมศิ ลิจฉวี วัชชีรฐั บาล
บ่ ชุมนุมสมาน แม้แต่สกั องค์”

ผูป
้ ระพันธ์ใช้คาว่า “สาแดง” “ความแขงอานาจ” และ “สามัคคีขาด”
ตามลาดับ เนื่องจากทุกคาส่งผลไปในเชิงลบ และมีความหมายเท่ากันๆ
เพราะคาว่าสาแดงหมายถึง การแสดง หรือทาให้เห็นฤทธิข ์ องตน
เป็ นการไม่ยอมกันเหมือนความแขงอานาจ
หรือถืออานาจทีต ่ นเองเป็ นใหญ่ไม่ผอ
่ นปรนให้กน

เหล่ากษัตริย์ตา่ งแสดงความเพิกเฉย ปราศจากความสามัคคี
ปรองดองในจิตใจ
3.
้ ไปตามลาดับดุจขัน
เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน ้ บันไดจนถึงขัน
้ สุดท้
ายทีส
่ าคัญทีส
่ ุด

“เหี้ยมนัน
้ เพราะผันแผก คณะแตกและต่างมา
ถือทิฐม
ิ านสา หสโทษพิโรธจอง
12

แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิน ้ บ ปรองดอง


ขาดญาณพิจารณ์ ตรอง ตริมหลักประจักษ์ เจือ
เชือ่ อรรถยุบลเอา รสเล่าก็งา่ ยเหลือ
เหตุหาก ธ มากเมือ คติโมหเป็ นมูล
จึง่ ดาลประการหา ยนภาวอาดูร
เสียแดนไผทสูญ ยศศักดิเสือ่ มนาม”

บทประพันธ์ขา้ งต้นเป็ นส่วนขอคติธรรม ทีแ ่ สดงลาดับเหตุการณ์ ทส


ี่ าคัญ
โดยเริม่ การทีก่ ษัตริย์แต่ละองค์ยดึ มั่นใจความคิดของตน
ขาดปัญญาทีจ่ ะพิจารณาไตร่ตรองและเชือ ่ ถ้อยคาของพระโอรสอย่างง่ายดาย
่ ความโกรธเข้าควบคุม ก็นามาซึง่ ความฉิ บหาย เสียทัง้ แผ่นดิน
เมือ
และชือ่ เสียงเกียรติยศทีเ่ คยมีมา
โดยสรุปแล้วเป็ นการสรุปเนื้อหาจากตอนต้นซึง่ เป็ นต้นเหตุของความโกรธเคือ
ง จนถึงตอนจบทีพ ่ า่ ยแพ้ให้กบ
ั กรุง ราชคฤห์

้ ไปตามลาดับแต่คลายความเข้ม
4.เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน
ข้นลงในช่วงหรือประโยค สุดท้ายอย่างฉับพลัน

นายชิต บุรทัต ประพันธ์โดยใช้การเรียบเรียงประโยคไปตามลาดับ


เพือ่ ให้ผอ
ู้ า่ นติดตามลาดับของเหตุการณ์
และเข้าใจเนื้อเรือ ้ แต่ทว่าผูเ้ ขียนได้มีการตัดบทหรือคลายความเข้
่ งได้ดีมากขึน
มข้นของเรือ ่ งในตอนท้ายอย่างฉับพลัน ดังทีป ่ รากฏในบทประพันธ์นี้
โดยตอนแรกกล่าวถึงการทีว่ สั สาการพราหมณ์ นน ้ ั น่ า
่ ชนในด้านการทาอุบายครอบครองแคว้นวัชชีซงึ่ เกิดความวุน
ชืม ่ วายในเมืองเป็
นอย่างมาก
หากแต่บรรทัดต่อมาได้คลายความเข้มข้นลงโดยกล่าวถึงพระพุทธเจ้าและผลข
องความพร้อมเพรียงกัน

“ควรชมนิยมจัด คุรุวสั สการพราหมณ์


เป็ นเอกอุบายงาม กลงากระทามา
พุทธาทิบณ ั ฑิต คิดพินิจปรา
รภสรรเสริญสา ธุสมัครภาพผล
ว่าอาจจะอวยผา สุกภาวมาดล
ดีสูห
่ ณ หมูต ่ น บ นิราศนิรน ั ดร
หมูใ่ ดผิสามัค คยพรรคสโมสร
ไปปราศนิราศรอน คุณไร้ไฉนดล”
5. เรียบเรียงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์
“ลุหอ้ งหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด
13

มิลี้ลบั อะไรใน กถาเช่น ธ ปุจฉา


จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษย์ผก
ู้ ระทานา
และคูโ่ คก็จูงมา ประเทียบไถมิใช่หรือ”

“อย่าติและหลู่ ครูจะเฉลย
เธอน่ ะเสวย ภัตกะอะไร
ในทินนี่ ดี ฤ ไฉน
พอหฤทัย ยิง่ ละกระมัง”

บทเจรจานี้เป็ นบททีว่ สั สการพราหมณ์ ถามเหล่ากุมาร


ซึง่ เป็ นบทเจรจาทีไ่ ม่ได้ตอ
้ งการคาตอบแต่อย่างใด
วัสสาการพราหมณ์ ใช้ความสามารถทางวาทศิลป์ของตนเองในการเสนอแนวคิ
ดของเรือ ่ งทั่วไปให้กบั
พระกุมารซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของอุบายดังปรากฎในตัวอย่างข้างต้น

3. การใช้โวหาร
อุปมาโวหาร
“กุมารลิจฉวีขตั ติย์ ก็รบั อรรถอออือ
กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์”

จากบทร้อยกรองข้างต้นเป็ นฉากทีพ
่ ระกุมารลิจฉวีก็รบ
ั สั่งเห็นด้วยว่าชา
วนาก็คงจะกระทาดังคาของพระอาจารย์ซงึ่ ก็คอ ื วัสสาการพราหมณ์
ในทีน
่ ี้เป็ นการเปรียบเทียบว่าการกระทาประดุจดังคาพระอาจารย์

“ขุน
่ มนเคือง เรือ่ งนฤสาร
เช่นกะกุมาร ก่อนก็ระดม
เลิกสละแยก แตกคณะกลม
เกลียว บ นิยม คบดุจเดิม”

จากบทร้อยกรองข้างต้นพระกุมารลิจฉวีตา่ งระแวงใจในกันและกัน
ต่อมาก็แตกความสามัคคีและไม่มีเป็ นน้าหนึ่งน้าใจเดียวกันเหมือนแต่กอ ่ น
ในทีน
่ ี้เป็ นการเปรียบเทียบว่าความสามัคคีนน
้ ั ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป

บุคคลวัต
“วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไท้ไปเอาภาร ณ กิจเพือ่ เสด็จไป”
14

้ หมายถึง การกล่าวเรียก ซึง่ เป็ นกริยาของมนุ ษย์


กริยา “ขาน” นัน
โดยบทประพันธ์ได้นากริยานี้มาใช้กบ ั กลองซึง่ เป็ นสิง่ ของ
ทีไ่ ม่มีชีวต
ิ แต่หากทากริยาดังเช่นมนุษย์เพือ ่ สร้างจินตภาพให้เห็นว่าเสียงของก
ลองสามารถใช้เรียกหรือพูดให้ผฟ ู้ งั ได้ยน
ิ อย่างชัดเจน

สัญลักษณ์
“แม้มากผิกงิ่ ไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง
มัดกากระนัน
้ ปอง พลหักก็เต็มทน
เหล่าไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูต
่ น
กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพียงกัน”

โดยธรรมชาติแล้วกิง่ ไม้กงิ่ เดียวสามารถหักได้งา่ ยด้วยมือเปล่า


หากแต่มดั รวมกันแล้ว การใช้กาลังมหาศาลก็มอ ิ าจทาลายได้
ดั่งเช่นในบรรทัดทีก ่ ล่าวว่า “มัดกากระนัน ้ ปอง พลหักก็เต็มทน”
ในทีน ่ ี้ผเู้ ขียนได้นากิง่ ไม้มาใช้เป็ นสัญลักษณ์ ของความสามัคคี
ช่วยอธิบายให้เห็นว่า หากมีความสามัคคีในหมูค ่ ณะ
เมือ่ ร่วมมือกันก็จะแข็งแกร่ง
แม้แต่กาลังภายนอกก็ไม่สามารถทาลายความเป็ นน้าหนึ่งน้าใจเดียวกันนี้ ลงได้

อติพจน์
“ตืน
่ ตาหน้าเผือด หมดเลือดสั่นกาย
หลบลี้หนีตาย วุน
่ หวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย
เข้าดงพงไพร ทิง้ ย่านบ้านตน”

บทประพันธ์ขา้ งต้นมาจากตอนทีพ ่ ระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี


โดยวรรคทีก ่ ล่าวว่า “ตืน
่ ตาหน้าเผือด หมดเลือดสั่นกาย” หมายความว่า
ชาววัชชีตน
ื่ ตกใจกับการรุกรานของพระเจ้าอชาตศัตรูเป็ นอย่างมากจนหน้าซีด
เหมือนเลือดหมดตัว ซึง่ เป็ นการกล่าวเกินจริง
แต่หากช่วยทาให้เห็นภาพทีช ่ ดั เจนและเข้าถึงอารมณ์ ของเนื้ อเรือ ้
่ งมากขึน

การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

1. คุณค่าด้านอารมณ์
“พวกราชมัลโดย พลโบยมิใช่เบา
ดหัตถแห่งเขา ขณะหวดสิพงึ กลัว
บงเนื้อก็เนื้อเต้น พิศเส้นสรีร์รวั
ทั่วร่างและทัง้ ตัว ก็ระริกระริวไหว
15

แลหลังละลามโล หิตโอ้เลอะหลั่งไป
เพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย
เนื่องนับอเนกแนว ระยะแถวตลอดลาย
เฆีย่ นครบสยบกาย สิรพ
ิ บั พะกับคา”

บทประพันธ์ขา้ งต้นมีการใช้คาหนักเบาของฉันท์ลกั ษณ์ ได้เข้ากันกับอารม


ณ์ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีช
่ ว่ ยดึงอารมณ์ ของผูอ
้ า่ นให้เข้ากับสถานการณ์
เหตุการณ์ ดงั กล่าวเป็ นตอนทีว่ สั สการพราหมณ์ โดนสั่งโบย
ทาให้เกิดภาพของแผ่นหลังทีโ่ ดนโบย มองเห็นเนื้อเต้นระริก
เลือดไหลเปรอะไปทั่วจนเป็ นริว้ รอยน่ าอนาถใจ จึงทาให้ผอ ู้ า่ นเห็นภาพ
แล้วก็เกิดความรูส้ ก ึ เจ็บปวดและสงสารในสิง่ ทีว่ สั สการพราหมณ์ โดนกระทา

2. คุณค่าด้านคุณธรรม

คุณค่าทางด้านสามัคคี ซึง่ เป็ นคุณค่าหลักของวรรณคดีเรือ ่ งนี้


ไม่วา่ จะเป็ นบ้านเมืองหรือผูค
้ นในสังคม
หากสูญเสียคุณค่าด้านนี้ไปก็ยากประสบความสาเร็จ
เพราะการจะทาการใดในชีวต ิ นัน
้ ไม่สามารถทาได้ดว้ ยตัวคนเดียว
ตัวอย่างเช่น คาประพันธ์ตอ ่ ไปนี้
ซึง่ เป็ นฉากทีก
่ องทัพของพระเจ้าอชาตศัตรูเอาชนะแคว้นวัชชีได้โดยไม่ตอ
้ งเป
ลืองแรง และทาให้กษัตริย์ลจิ ฉวีเสียบ้านเมืองไปอย่างง่ายดาย
เนื่องจากสูญเสียความสามัคคีทรี่ กั ษาไว้มานาน
“ไป่ พักต้องจะกะเกณฑ์นิกายพหลโรย
แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์
ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤตอุต
ดมเขตบุเรศดุจ ณ เดิม”

มีความหนักแน่ ไม่เชือ ่ คนง่าย เช่น


กษัตริย์ถูกวัสสการพรามหณ์ ใช้อุบายยุแหย่ให้แตกความสามัคคี
ก็พา่ ยแพ้ศตั รูได้โดยง่ายดาย

“ครูวสั สการแส่ กลแหย่ยุดพ ี อ


ปั่นป่ วน บ เหลือหลอ จะมิรา้ วมิรานกัน”

ความแตกสามัคคี
ทาให้บา้ นเมืองไม่สงบสุขเเม้วา่ จะทากิจอันใดก็ยอ
่ มไม่ประสบผลสาเร็จ เช่น
16

ความแตกสามัคคีกน
ั ในราชวงศ์ทาให้บา้ นเมืองไม่สงบและทาให้ขา้ ศึกโจมตีไ
ด้งา่ ย

“เหล่าไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูต ่ น


กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพรียงกัน
อย่าปรารถนาหวัง สุขทัง้ เจริญอัน
มวลมาอุบตั บ
ิ รร ลุไฉน บ ได้มี”

หลักธรรมอปริหานิยธรรม 7 ซึง่ เป็ นหลักธรรมทีส่ ง่ ผล ให้เกิดความเจริญ-


ของหมูค
่ ณะ ปราศจากความเสือ ่ มได้ เช่น การเข้าประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน
ทาให้ทราบข้อมูลทีเ่ หมือนและตรงกัน และไม่ทาให้เกิดการความเข้าใจผิดกัน

“ควรชนประชุมเช่น คณะเป็ นสมาคม


สามัคคิปรารม ภนิพทั ธราพึง”
17

บรรณานุกรม

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.


กลุม
่ สาระการเรียนรูภ ้ าษาไทย.
วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว, 2557. 169 หน้า
ห้องสมุดดิจทิ ลั วชิรญาณ. สามัคคีเภทคาฉันท์ [ออนไลน์ ]. เข้าถึงเมือ ่ วันที่ 30
พฤษภาคม 2561. สืบค้นได้จาก
http://vajirayana.org/สามัคคีเภทคาฉันท์

You might also like