You are on page 1of 56

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4

ภูมศิ าสตร์ ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย


สภาพแวดล้ อมทางกายภาพ ลักษณะประชากรของทวีป
ของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย

ลักษณะสั งคมและวัฒนธรรม
ของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย

ภูมิศาสตร์ ทวีปออสเตรเลีย
และโอเชียเนีย ลักษณะเศรษฐกิจของ
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย

ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างมนุษย์ กบั สิ่ งแวดล้ อม


การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ในทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
สิ่ งแวดล้ อมของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย มีเนื้อที่ประมาณ 8,518,133 ตารางกิโลเมตร มีประเทศรวม
ทั้งสิ้ น 14 ประเทศ
• ทิศเหนือ
จดมหาสมุทรแปซิฟิก
และทวีปเอเชีย
• ทิศใต้
จดมหาสมุทรอินเดีย
• ทิศตะวันออก
จดมหาสมุทรแปซิฟิก
• ทิศตะวันตก
จดมหาสมุทรอินเดีย
เป็ นที่ราบที่เกิดจากการทับถมของตะกอนแม่น้ าเมอร์รีย-์ ดาร์ลิงและแม่น้ าสายต่างๆ
ที่กาเนิดจากทิวเขาเกรตดิไวดิง แล้วไหลลงสู่ ทะเลสาบที่อยูต่ อนกลางของแผ่นดิน ทะเลสาบ
ที่สาคัญ ได้แก่ ทะเลสาบแอร์ และทะเลสาบทอร์เรนส์

ตะกอนแม่น้ าเมอร์รี-ดาร์ลิง ในออสเตรเลีย


มีทิวเขาเกรตดิไวดิงเป็ นทิวเขาขนาดใหญ่ในรัฐควีนส์แลนด์และรัฐวิกตอเรี ย มีความยาว
เกือบ 3,000 กม. กว้างตั้งแต่ 150-300 กม. และมีแม่น้ าเมอร์รีย-์ ดาร์ลิง เป็ นแม่น้ าสาคัญ

ทิวเขาเกรตดิไวดิง ทิวเขาขนาดใหญ่ในออสเตรเลีย
พื้นที่ดา้ นตะวันตกเป็ นที่ราบสู ง
และทะเลทราย มีเนื้อที่ครึ่ งหนึ่งของ
แผ่นดินใหญ่ออสเตรเลีย มีที่ราบสู งที่
สาคัญ เช่น ที่ราบสู งคิมเบอร์ลีย ์ ที่ราบสู ง
อาร์เนม และที่ราบสู งบาร์คลี ทะเลทรายที่
สาคัญ เช่น ทะเลทรายกิบสัน ทะเลทราย
ซิมสัน เป็ นต้น

แอร์สร็อก โขดหินขนาดใหญ่ใกล้ทะเลทรายซิมสัน
ในออสเตรเลีย
อยูบ่ ริ เวณเกาะเหนือและเกาะใต้ของ
นิวซีแลนด์ เกาะนิวกินี หมู่เกาะมาลานีเซีย
หมู่เกาะไมโครนีเซีย และหมู่เกาะโปลินีเซีย
ซึ่งเป็ นเกาะที่อยูใ่ นแนวรอยต่อของ
แผ่นเปลือกโลกที่มีการเคลื่อนตัว จึงยังคงมี
แผ่นดินไหว มีภูเขาไฟปะทุ มีพนุ ้ าร้อน
และโคลนเดือดในนิวซีแลนด์

โคลนเดือดโรโตรัว ในนิวซีแลนด์
พบเป็ นเทือกเกาะปะการังในทะเลเปิ ดน้ าลึก ประเทศต่างๆ ในหมู่เกาะจึงมีความสู งจากระดับ
ทะเลปานกลางไม่มากหรื อปริ่ มน้ า และมีพืดหินปะการังยาวที่สุดในโลก (ประมาณ 2,000 กิโลเมตร)
เรี ยกว่า “เกรตแบร์ริเออร์รีฟ”

เกรตแบร์ ริเออร์ รีฟ พืดหินปะการังทีย่ าวทีส่ ุ ดในโลก


• พบบริ เวณตอนกลางของแผ่นดินใหญ่
ออสเตรเลีย
• ลักษณะอากาศมีอากาศร้อนและแห้งแล้ง
มีปริ มาณฝนน้อย
• ลักษณะพืชพรรณ เป็ นพืชทะเลทรายที่ข้ ึน
ได้ในเขตโอเอซิสหรื อที่ชุ่มชื้นเท่านั้น

ทะเลทรายคิมเบอร์ลียใ์ นออสเตรเลีย
• พบบริ เวณโดยรอบของเขตทะเลทราย
• ลักษณะภูมิอากาศมีอุณหภูมิสูงกว่า 18
องศาเซลเซียส และมีปริ มาณน้ าฝน
ค่อนข้างน้อย
• ลักษณะพืชพรรณเป็ นทุ่งหญ้าสลับ
ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก

ทุ่งหญ้าในเขตทะเลทรายของออสเตรเลีย
• พบบริ เวณชายฝั่งตะวันออกของ
แผ่นดินใหญ่ออสเตรเลีย
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอุณหภูมิเฉลี่ยสู ง
กว่า 22 องศาเซลเซียส และมีฝนตกชุก
ตลอดทั้งปี
• ลักษณะพืชพรรณ มีป่าไม้ประเภท
ป่ าดิบชื้นและป่ าสน

ป่ าดิบชื้นในออสเตรเลีย
• พบบริ เวณตะวันออกเฉี ยงใต้ของออสเตรเลีย
เกาะแทสเมเนีย และนิวซีแลนด์
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า
22 องศาเซลเซียส มีฝนตกชุกตลอดปี
• ลักษณะพืชพรรณ เป็ นป่ าดิบที่มีตน้ ไม้
หลากหลายชนิดและหลายขนาดขึ้นอยู่
ค่อนข้างหนาแน่น

ป่ าในเกาะแทสเมเนียของออสเตรเลีย
• พบบริ เวณทางใต้ของออสเตรเลีย
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอากาศอบอุ่น ช่วงฤดูหนาวจะแห้งแล้ง
• ลักษณะพืชพรรณ มีพืชสาคัญ เช่น ส้ม องุ่น มะกอก เป็ นต้น

พืชพรรณบริ เวณทางใต้ของออสเตรเลีย
• พบทางเหนือของออสเตรเลีย และตอนใต้
ของเกาะนิวกินี
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอุณหภูมิสูงตลอดปี
และมีมีฝนตกชุก 6 เดือน
• ลักษณะพืชพรรณ เป็ นทุ่งหญ้าสลับไม้
ยืนต้น โดยมีพืชสาคัญ คือ ยูคาลิปตัส

ทุ่งหญ้าสะวันนาทางเหนือของออสเตรเลีย
• พบบริ เวณโดยรอบเกาะนิวกินีและ
หมู่เกาะต่างๆ ของโอเชียเนีย
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอุณหภูมิสูงเกิน 28
องศาเซลเซียสตลอดปี และมีฝนตกชุก
ตลอดปี
• ลักษณะพืชพรรณ เป็ นป่ าดิบชื้น และ
ป่ าชายเลน

ป่ าดิบชื้นในเกาะนิวกินี
• พบบริ เวณภูเขาของนิวซีแลนด์ และบริ เวณเกาะใต้ของนิวซีแลนด์
• ลักษณะภูมิอากาศ มีอากาศหนาวเย็น ฤดูหนาวมีหิมะปกคลุม
• ลักษณะพืชพรรณ เป็ นพวกป่ าสน

ป่ าสนบริ เวณเกาะใต้ของนิวซีแลนด์
ประเทศที่เป็ นหมู่เกาะขนาดเล็กมีดินที่เกิดจากการผุพงั ของหินภูเขาไฟ หินปูน และปะการัง
จึงมีความอุดมสมบูรณ์ แต่มีพ้นื ที่นอ้ ย ส่ วนดินในนิวซีแลนด์มีความอุดมสมบูรณ์ต่า ส่ วนใน
ออสเตรเลียพบดินทรายและดินเค็มมากในตอนกลางของประเทศ

ไร่ องุ่นบริ เวณทางใต้ของออสเตรเลีย


ประเทศที่เป็ นเกาะขนาดเล็กขาดแหล่ง
กักเก็บน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้ง ปาปั วนิวกินีมีน้ า
จืดเพียงพอ ออสเตรเลียพื้นที่ทางตะวันตก
และตอนกลางมีพ้นื ที่ทะเลทรายกว้างใหญ่
แต่ทางเหนือ ทางตะวันออก และเกาะ
แทสเมเนียมีแหล่งน้ าสมบูรณ์ ส่ วน
นิวซีแลนด์มีแม่น้ าหลายสายไหลสู่ แอ่ง
ที่ราบกลายเป็ นทะเลสาบ เช่น ทะเลสาบ
เทาโป เป็ นต้น
เขื่อนกั้นน้ าบริ เวณทะเลสาบเทาโป ในนิวซี แลนด์
ทวีปออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มีความหลากหลายทางด้านทรัพยากรป่ าไม้ และสัตว์ป่ามาก

ปลาผีเสื้ อเทวรู ปและปลาอื่นๆ นกปักษาสวรรค์


พบได้บริ เวณน่านน้ าไมโครนีเซีย นกประจาชาติปาปัวนิวกินี
นกกีวี เป็ นสัญลักษณ์ของประเทศนิวซีแลนด์ จิงโจ้ เป็ นสัตว์พ้นื เมืองของประเทศออสเตรเลีย
แหล่งแร่ ที่สาคัญ คือ นิวซีแลนด์
มีแร่ ถ่านหิน ทองคา และเหล็ก
ออสเตรเลียมีแร่ บอ็ กไซต์ ตะกัว่
สังกะสี เพชร โอปอล ถ่านหิน และ
แก๊สธรรมชาติ ส่ วนประเทศที่เป็ น
หมู่เกาะขนาดเล็กมีแร่ นอ้ ย
จำนวนประชำกรใน พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) มีประมำณ 37 ล้ำนคน แบ่งตำมประเทศ ได้ดงั นี้

ประชากร (ล้านคน)
25 22
20
15
10 7
4.4
5 0.8 0.6 0.2 0.3 0.1 0.1 0.1 0.1 0.02 0.01 0.01
0
ครบำตี ประเทศ
ปำปวนวกนี

ต งกำ

มำรแชลล
นว ีแลนด

ปำเลำ
ำมัว
ลม น

วำน ำต
จี

ตวำล
นำ ร
เตรเลี

ไม ครนีเ ี
กลุ่มชาติพนั ธุ์ของประชากรทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ประชากรประกอบด้วยชนเผ่าดั้งเดิม ได้แก่ ชาวแอบอริ จินีส ชาวเมารี ชาวเมลานีเซีย
ชาวฟี จี ชาวไมโครนีเซีย และชาวโปลินีเซีย และผูอ้ พยพเข้ามาอยูใ่ หม่ เช่น ชาวอังกฤษ ฝรั่งเศส
อินเดีย จีน และญี่ปุ่น

ชาวแอบอริ จินีส ในออสเตรเลีย ชาวเมารี ในนิวซีแลนด์


กลุ่มชาติพนั ธุ์ของประชากรทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ในดินแดนโอเชียเนียแบ่งพื้นที่ออกเป็ น 3 เขต คือ เมลานีเซีย ไมโครนีเซีย และโปลินีเซีย
มีลกั ษณะประชากรและวัฒนธรรม แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม
ชาวเมลานีเซียน มีผวิ ดา ผมหยิก ริ มฝี ปากหนา ตาโต จมูกโต มี
วัฒนธรรมแบบชนเผ่า ใช้ภาษาพื้นเมือง บางส่ วนนับถือศาสนาคริ สต์
ส่ วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นปาปัวนิวกินี ฟี จี วานูอาตู และหมู่เกาะโซโลมอน

ชาวไมโครนีเซียน มีผวิ สี น้ าตาลเข้ม ใบหน้ากลม ผมเหยียดตรงหรื อ


หยักศก รู ปร่ างสู งใหญ่ มีวฒั นธรรมแบบชาวเกาะพื้นเมือง นับถือ
ศาสนาคริ สต์และความเชื่อท้องถิ่น ส่ วนใหญ่เป็ นประชากรของ
ไมโครนีเซีย คิริบาตี นาอูรู ปาเลา และหมู่เกาะมาร์แชลล์

ชาวโปลินีเซียน มีผวิ สี น้ าตาลเข้ม ผมเหยียดตรง ใบหน้าเรี ยว รู ปร่ าง


สันทัด มีวฒั นธรรมแบบชาวเกาะพื้นเมือง นับถือศาสนาคริ สต์และ
ความเชื่อท้องถิ่น ส่ วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นซามัว ตองกา และตูวาลู
การเปลีย่ นแปลงของประชากรทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียมีประชากรเพิม่ ขึ้นในระดับต่า การเพิม่ ส่ วนหนึ่งมาจาก
การอพยพมาทางาน โดยเฉพาะจากเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ จีน และอินเดีย ประเทศที่ดึงดูดผูค้ น
เข้าไปอยูม่ ากที่สุด คือ ออสเตรเลีย
ชาวอังกฤษและชาวยุโรปที่เข้าไป
ตั้งถิ่นฐานภายหลังได้นาวิถีชีวติ แบบ
ชาวตะวันตกเข้าไป เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษา
ฝรั่งเศส ศาสนาคริ สต์ เป็ นต้น นอกจากนี้ ยัง
มีชาวเอเชียจากหลายประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น
เวียดนาม อินโดนีเซีย เป็ นต้น ได้เข้าไปอยู่
รวมกันเป็ นชุมชน เช่น ชุมชนไชน่าทาวน์ใน
ซิดนีย ์ ประเทศออสเตรเลีย เป็ นต้น

ชุมชนไชน่าทาวน์ในซิดนีย ์ ประเทศออสเตรเลีย
สังคมและวัฒนธรรมในทวีป
ออสเตรเลียและโอเชียเนียมีการ
ผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมของ
ชาวหมู่เกาะ ชาวยุโรป และชาวเอเชีย
และจากสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทาให้
ชาวพื้นเมืองมีการปรับเปลี่ยนวิถีการ
ดารงชีวติ ของตน เช่น การใช้ชีวติ แบบ
ชาวเมือง เป็ นต้น

ชาวพื้นเมืองมีการปรับเปลี่ยนการดารงชีวติ แบบชาวเมือง
การเพาะปลูก การปศุสัตว์
พื้นที่เพาะปลูกสาคัญอยูบ่ ริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ า ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มีการเลี้ยงโคและ
เมอร์รีย-์ ดาร์ลิง เกาะแทสเมเนีย พืชที่ปลูก เช่น แกะจานวนมาก โดยมีการเลี้ยงแบบฟาร์มขนาด
ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี องุ่น ส้ม เป็ นต้น ใหญ่ และมีการเลี้ยงสุ กร ไก่ ในทุกๆ ประเทศ
การประมง การทาป่ าไม้
เนื่องจากภูมิประเทศเป็ นเกาะและหมู่เกาะ นิวซีแลนด์และออสเตรเลียมีอุตสาหกรรม
อาชีพประมงจึงอยูค่ ู่กบั ประชากรทุกๆ ป่ าไม้ที่กา้ วหน้า ส่ วนปาปั วนิวกินีมีการ
ประเทศ แต่ส่วนใหญ่จะจับเพื่อบริ โภคภายใน เปลี่ยนพื้นที่ป่าไปปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้แก่
ภูมิภาคเป็ นหลัก ต้นปาล์ม และยางพารา
ประเทศที่มีแร่ คือ ออสเตรเลียมีเหมืองแร่ บอ็ กไซต์ เหล็ก ยูเรเนียม ถ่านหิน ทองคา และ
ดีบุก นิวซีแลนด์มีเหมืองถ่านหิน เหล็ก ทองคา และแก๊สธรรมชาติ ปาปั วนิวกินีมีเหมืองทองแดง
เงิน และปิ โตรเลียม นาอูรูมีแหล่งแร่ ฟอสเฟต ฟี จีมีแหล่งแร่ ทองคา เป็ นต้น
ออสเตรเลียเป็ นผูน้ าอุตสาหกรรม มี
การผลิตเหล็กและเหล็กกล้า เครื่ องจักร และ
สิ่ งทอ นิวซี แลนด์มีอุตสาหกรรมเครื่ องจักร
สิ่ งทอ และการแปรรู ปผลิตภัณฑ์อาหาร ส่ วน
ประเทศในหมู่เกาะมีอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมแปรรู ปผลผลิต
ทางการเกษตร เช่น เนื้อมะพร้าวตากแห้ง
ปลา และอาหารทะเล และยังมีการผลิต
ชิ้นส่ วนรถยนต์ในซามัวด้วย อุตสาหกรรมเครื่ องจักรในออสเตรเลีย
ออสเตรเลียและนิวซี แลนด์มีการ
ผลิตสิ นค้าทั้งด้านการเกษตร เหมืองแร่
และอุตสาหกรรม ทั้งสองประเทศเป็ นคู่
ค้าที่สาคัญ และมีการค้าขายกับประเทศ
อื่นๆ เช่น สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริ กา และสหภาพยุโรป
ส่ วนประเทศที่เป็ นเกาะมีการค้าขาย
เฉพาะกับเกาะที่อยูใ่ กล้เคียง

ท่าเรื อซิดนีย ์ ประเทศออสเตรเลีย


ออสเตรเลียและนิวซี แลนด์มีระบบคมนาคมขนส่ งและการสื่ อสารที่มี
ประสิ ทธิ ภาพ ทั้งเส้นทางทางบก ทางน้ า และทางอากาศ โดยเฉพาะทางบกที่มีถนนที่ได้
มาตรฐาน มีโครงข่ายเชื่อมโยงกันทั้งประเทศ ส่ วนประเทศที่เป็ นเกาะเส้นทางคมนาคมมี
น้อย และมีสภาพไม่ดี

ถนนของออสเตรเลียมีโครงข่ายเชื่อมโยงกันทั้งประเทศ
ปัจจัยการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ

ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม ส่ งผลให้เศรษฐกิจทวีป
ออสเตรเลียและโอเชียเนียเปลี่ยนแปลงไปจาก
เดิม โดยเฉพาะปั ญหาภัยแล้งที่ส่งผลกระทบ
ต่อการผลิตทางด้านเกษตรกรรมเป็ นอย่างมาก

ภัยแล้งในออสเตรเลีย
ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจใน
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ส่ งผลให้มี
การบุกรุ กทาลายพื้นที่ป่า เช่น ปาปั วนิวกินี
เพื่อปลูกปาล์มน้ ามัน พริ กไทย โกโก้ เป็ นต้น
นอกจากนั้นยังทาให้ประชากรอพยพเข้ามา
อาศัยในเมืองเพิ่มมากขึ้น

การบุกรุ กทาลายป่ าในปาปัวนิวกินี


ทาเลที่ต้ งั ทางเศรษฐกิจและสังคมที่
สาคัญอยูใ่ นประเทศออสเตรเลีย บริ เวณ
แนวชายฝั่งด้านตะวันออกเฉี ยงใต้ เนื่องจาก
มีภูมิลกั ษณ์ที่เอื้อต่อการตั้งถิ่นฐานและการ
พัฒนาอุตสาหกรรม จึงเป็ นศูนย์กลาง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมของทวีป
เมืองสาคัญ เช่น ซิดนีย ์ เมลเบิร์น
แคนเบอร์รา เป็ นต้น

แคนเบอร์รา เมืองหลวงของออสเตรเลีย
ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เป็ นศูนย์กลาง โอกแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ เป็ นเมือง
ทางการเงิน พาณิ ชยกรรม อุตสาหกรรม ศูนย์กลางการท่องเที่ยว การธนาคาร
สิ่ งทอ อุตสาหกรรมการแปรรู ปผลผลิต พาณิ ชยกรรม การศึกษา อุตสาหกรรมแปร
ทางการเกษตร เป็ นเมืองการศึกษาและ รู ปอาหาร อิเล็กทรอนิกส์ เยือ่ กระดาษ
เมืองท่องเที่ยว มีประชากรมากที่สุดของทวีป อุตสาหกรรมไม้
ปัจจัยทางกายภาพ
พื้นที่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉี ยงใต้ของ
ออสเตรเลีย เป็ นที่ราบอุดมสมบูรณ์ จึงมี
ประชากรอาศัยอยูห่ นาแน่น บริ เวณฝั่ง
ตะวันตกเป็ นพื้นที่ทะเลทรายจึงมี
ประชากรอาศัยอยูน่ อ้ ย ส่ วนนิวซีแลนด์มี
ทุ่งหญ้ามาก จึงมีการส่ งเสริ มในเรื่ องการ
เลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะการเลี้ยงแกะ

การเลี้ยงแกะในนิวซีแลนด์
ปัจจัยทางสั งคม
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เข้มงวดกับ
การอนุญาตให้คนเข้าไปตั้งรกราก จึงมี
ประชากรเพิม่ ไม่มาก และมีการพัฒนา
การศึกษาของตนให้มีคุณภาพ รวมทั้งเปิ ด
โอกาสให้ชาวต่างชาติเข้ามาศึกษาต่อในทุก
ระดับชั้น จึงช่วยสร้างรายได้อย่างมหาศาล
ให้ท้ งั สองประเทศ
นิวซีแลนด์มีระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ
ชุมชนเกาะปาปัวนิวกินี
ในประเทศปาปั วนิวกินีมีชนเผ่าต่างๆ อยู่
มาก มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ จึงมีนกั ลงทุน
ทั้งจากตะวันตกออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เข้าไปลงทุน
และมีการนาแรงงานต่างชาติเข้าไปทางานที่เมือง
พอร์ตมอร์สบี เมืองลาเอ ทาให้เกิดสภาพสังคม
ใหม่ที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและ
วัฒนธรรมขึ้น
ชุมชนเกาะปาปัวนิวกินีกาลังมีปัญหาแรงงานต่างชาติ
เกาะถูกน้าทะเลท่ วม ภาวะโลกร้อนทาให้ระดับน้ าทะเลสู งขึ้นจนเข้าไปท่วมประเทศที่
เป็ นหมู่เกาะในโอเชียเนีย ทาให้วถิ ีชีวติ ของผูค้ นต้องปรับเปลี่ยนไปตามระดับการขึ้นลงของน้ า
ทะเล จนปั จจุบนั รัฐบาลของประเทศคิริบาตี วานูอาตู ตูวาลู ฟี จี และปาปั วนิวกินี ได้เรี ยกร้องขอ
ความช่วยเหลือจากสหประชาชาติ
• อนุสัญญาแรมซาร์
• ข้อตกลงหุน้ ส่ วนเอเชียแปซิฟิก
• พิธีสารเกียวโต
• อนุสัญญาไซเตส

การประชุมอนุสญ
ั ญาไซเตส ครั้งที่ 16 ที่ประเทศไทย
• ออสเตรเลียได้ออกกฎหมายว่าด้วย
การพิทกั ษ์สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
• นิวซี แลนด์ได้กาหนดยุทธศาสตร์ของ
ประเทศว่าจะให้เป็ นประเทศสี เขียว
ปราศจากการปล่อยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์

การปลูกป่ าในวันต้นไม้ประจาปี แห่งชาติ


ของออสเตรเลีย

You might also like