You are on page 1of 30

การพัฒนาโปรแกรมจําแนกกลุมดิน

เพื่อการใชงานบนไมโครคอมพิวเตอร

สดุดี วิถพี านิช


อรสา วงศคํา

โดย

กลุมงานดินดานวิศวกรรม สํานักวิจัยและพัฒนา
บทคัดยอ

การจําแนกกลุมดินเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาเกี่ยวกับดินในเบื้องตน ไมวาจะเปนดิน

ในสภาพโครงสรางเดิมหรือดินที่นํามาบดอัดขึ้นเปนโครงสรางใหม เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับการคัด

เลือกดินที่จะนํามาใชในงานกอสรางหรือใชเปนตัวพิจารณาเทียบเคียงไปหาคุณสมบัติดานอื่นๆ

ที่ไดมีการทดสอบและรวบรวมไวเชนกําลังรับแรงตานทาน ความสามารถในการยุบอัดตัว และ

ความซึมน้ําเปนตน เพื่อใชในการวิเคราะหงานดินตอไป

ขั้นตอนการจําแนกเปนไปตามมาตรฐานของ Unified soil classification ซึ่งพิจารณา

ขนาดคละของดินโดยจัดแบงออกเปนดินกลุมเม็ดหยาบคือกรวดกับทรายและดินกลุมเม็ดละเอียด

คือตะกอนทรายกับดินเหนียว ประกอบกับคุณสมบัติดานความเหนียวของดินโดยใชโปรแกรม

คอมพิวเตอรใน Microsoft excell เปนตัวตรวจสอบคุณสมบัติเหลานี้แลวรายงานผลในรูปกราฟ

การกระจายตัวของเม็ดดินและกลุมดินแบบอัตโนมัติเมื่อปอนขอมูลลงไป ทําใหไมตองเสียเวลา

คํานวณเองทุกครั้งและปองกันความผิดพลาดในการรายงานผล
(1)

สารบาญ

หนา
สารบาญ (1)
สารบาญภาพ (1)
คํานํา 1
ขั้นตอนการตรวจสอบกลุมดิน 2
การหาขนาดเม็ดดินที่มเี ปอรเซนตผานตะแกรงเทากับ 60 , 30 และ10% 7
การพิจารณาคุณสมบัติดานความเหนียวของดินกลุมเม็ดหยาบ 13
ตัวอยางการจําแนกดินในระบบ Unified soil classification 16
การใชงานโปรแกรม 19
ภาคผนวก 21
ตัวอยางแสดงผลที่ไดจากโปรแกรม 22
วิธีการตรวจสอบสารอินทรียและสารอนินทรีย 26
เอกสารอางอิง 27

สารบาญภาพ

ภาพที่ หนา
1 แผนภาพแสดงขั้นตอนการจําแนกกลุมดิน 3
2 การหาคา D60 , D30 , D10 จากกราฟการกระจายตัวของเม็ดดิน 7
3 การหาคา D60 , D30 , D10 จากความสัมพันธแบบเชิงเสน 8
4 แสดงการหา D60 10
5 แสดงการหา D30 10
6 แสดงการหา D10 11
7 แสดงการหา D10 โดยวิธีการตอเสน 12
8 แผนภูมิความเหนียวของดินเม็ดหยาบจําพวกกรวด 14
9 แผนภูมิความเหนียวของดินเม็ดหยาบจําพวกทราย 15
10 กราฟการกระจายตัวของเม็ดดินในตัวอยางที่ 2 18
11 แสดงวิธีการปอนขอมูล 20
1

คํานํา

การจําแนกกลุม ดินเปนการศึกษาคุณสมบัตใิ นเบื้องตนของงานทางดานวิศวกรรมที่เกีย่ วของกับ

งานกอสรางที่มีดินเปนสวนประกอบ สําหรับงานของกรมชลประทานนั้นจําเปนตองทราบถึงชนิดของดิน

กอนที่จะลงมือกอสรางเพราะสวนประกอบตางๆของโครงสรางที่ใชดินเปนวัสดุกอสรางจะมีหนาที่หรือ

ประโยชนใชสอยแตกตางกัน ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองมีการคัดเลือกวัสดุที่มีความเหมาะสมกับแต

ละสวนประกอบ โดยใชชนิดของกลุมดินเปนตัวกําหนดในแบบกอสรางหรือขอกําหนด (Specification)

เกี่ยวกับวัสดุกอ สรางของโครงการ

การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการจําแนกกลุมดินของฝายดินดานวิศวกรรม สํานักวิจยั และพัฒนามีจุด

ประสงคเพื่อใชในการจําแนกกลุมดินของงานทดสอบที่ดําเนินการโดยกรมชลประทานเปนหลัก โดยจัดทํา

เปนโปรแกรมคํานวณประมวลผลแบบอัตโนมัติในโปรแกรม Microsoft excell ซึ่งทํางานบนระบบปฏิบัติ

การ Window ที่มีใชกันอยูแพรหลาย พรอมกันนี้กไ็ ดจดั ทําเอกสารฉบับนี้ขึ้นมาเพื่ออธิบายหลักการที่ใชใน

การสรางโปรแกรมตัวนี้และเปนแนวทางสําหรับการพัฒนาโปรแกรมตอไป

สดุดี วิถีพานิช
อรสา วงศคํา
2

การศึกษาคุณสมบัติของดินในเบื้องตนนัน้ จําเปนทีจ่ ะตองทราบถึงชนิดหรือกลุมดินที่ไดมีการ


จัดแบงไวตามมาตรฐานหรือระบบสากลนิยมซึ่งในปจจุบันมีหลายระบบที่จัดแบงตามความเหมาะสมกับการ
ใชงานในแตละประเภท สําหรับงานทางดานวิศวกรรมโดยทั่วไปและของกรมชลประทานใชการจําแนกดิน
ในระบบ Unified soil classification เปนหลักตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบนั
หลักในการจําแนกกลุมดินก็พิจารณาจากองคประกอบทีส่ ําคัญ 2ประการ ประการแรกคือ
คุณสมบัติทางกายภาพโดยพิจารณาจากขนาดเม็ดดินที่เปนองคประกอบจากขนาดใหญไปเล็กอันไดแก
กรวด,ทราย,ตะกอนทราย และดินเหนียวตามลําดับ และปริมาณที่เม็ดดินเหลานัน้ ผสมกันอยูเปนสัดสวนที่
แตกตางกันออกไปในธรรมชาติ ประการที่สองคุณสมบัติทางเคมีอันเกิดจากแรงยึดเหนีย่ วระหวางประจุ
ไฟฟาในอนุภาคเม็ดดิน ทําใหดินมีลักษณะของความเปนพลาสติกหรือเกิดลักษณะของความเหนียวทําให
สามารถปนขึ้นเปนรูปทรงตางๆได การจะหาคุณสมบัตทิ ี่กลาวมาตองอาศัยผลการทดลองในหองปฏิบัติการ
2การทดลองคือการหาขนาดคละและการทดสอบขีดจํากัดสถานะภาพของดิน (Atterberg ‘s limit) มาใชเปน
คุณสมบัติสําหรับการจําแนก โดยมีการกําหนดสัญลักษณเพื่อใชแทนดินชนิดตางๆเปนดังนี้
G คือ กรวด (Gravel)
S คือ ทราย (Sand)
M คือ ตะกอนทราย (Silt)
C คือ ดินเหนียว (Clay)
O คือ สารอินทรีย (Organic)
Pt คือ ดินทีม่ ีสารอินทรียสูง (Peat)
W คือ มีขนาดคละกันดี (Well grade)
P คือ มีขนาดคละกันไมดี (Poorly grade)
L คือ มีความเหนียวนอย (คา Liquid limit นอยกวา 50%)
H คือ มีความเหนียวมาก (คา Liquid limit มากกวา 50%)
สําหรับขั้นตอนการจําแนกชนิดดินแสดงอยูในแผนผังในภาพที่ 1 ซึ่งในการสรางโปรแกรมก็จะมี
ขั้นตอนการตรวจสอบกลุมดินตามแผนผังดังกลาวและอธิบายเปนขั้นตอนไดดังนี้
1) การตรวจสอบดินเม็ดหยาบและดินเม็ดละเอียดโดยพิจารณาผลการทดสอบคาเปอรเซนตผานตะแกรง
เบอร 200 กลาวคือถาเปอรเซนตผานตะแกรงดังกลาวมีคานอยกวาหรือเทากับ 50% ก็จัดเปนดินเม็ด
หยาบแตถาผานตะแกรงมากกวา 50% จะจัดเปนดินเม็ดละเอียด
2) ในกรณีของดินพวกเม็ดหยาบก็ตองใหโปรแกรมตรวจสอบตอไปวาเปนจําพวกกรวดหรือทรายโดย
พิจารณาที่ตะแกรงเบอร 4 กลาวคือถาดินคางสะสมบนตะแกรงดังกลาวมากกวาหรือเทากับครึ่งหนึ่งของ
สวนที่เปนเม็ดหยาบก็จัดเปนกรวด แตถาไมเขาเกณฑดังกลาวก็จดั เปนทราย
3

3) เมื่อโปรแกรมตรวจสอบไดแลววาเปนกรวดหรือทราย ขั้นตอนตอไปของการจําแนกก็จะมีลักษณะ
เหมือนกันทั้งกรวดและทรายกลาวคือจะกลับมาพิจารณาเปอรเซนตผานตะแกรงเบอร 200 อีกครั้งซึ่งแบง
ออกไดเปน 3กรณีคือ

กรณีที่ 1 กรณีที่ 2 กรณีที่ 3


%ผาน #200 < 5% 5% < %ผาน #200 < 12% %ผาน #200 > 12%
พิจารณาลักษณะการกระจายตัว พิจารณาลักษณะการกระจายตัว พิจารณาคุณสมบัติดานความ
ของเม็ดดินจาก D60 ,D30 ,D10 ของเม็ดดินและคุณสมบัติดาน เหนียวของดิน
ความเหนียวของดิน

ตรวจสอบตัวอยางดินดวยตาเปลาดูวาเปนดินที่มีสาร
อินทรียสูง ดินพวกเม็ดหยาบ หรือดินพวกเม็ดละเอียด
ในกรณีที่สงสัยใหหาจํานวนที่ผานตะแกรงเบอร 200

ดินที่มีสารอินทรียสูง (Pt)
ดูจากลักษณะเนื้อดิน สี กลิ่น มีปริมาณความชื้นสูงมาก
มีชิ้นสวนที่ยังเนาเปอยผุพังไมหมดหลงเหลืออยู

ดินพวกเม็ดหยาบ
ผานตะแกรงเบอร 200 นอยกวาหรือเทากับ 50%
ภาพที่ 1 (ก)

ดินพวกเม็ดละเอียด
ผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 50%
ภาพที่ 1 (ข)

ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงขัน้ ตอนการจําแนกกลุมดิน


ดินพวกเม็ดหยาบ

ผานตะแกรงเบอร 200 นอยกวาหรือเทากับ 50%

หาขนาดเม็ดดินโดยวิธีรอนดวยตะแกรง

กรวด (G) ทราย (S)


คางสะสมบนตะแกรงเบอร 4 มากกวาหรือเทากับครึ่งหนึ่ง 
ผานตะแกรงเบอร 4 (เฉพาะสวนที่เปนเม็ดหยาบ) มากกวาครึ่งหนึ่ง
ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ


ผานตะแกรงเบอร 200 ผานตะแกรงเบอร
 200 
ผานตะแกรงเบอร 200 ผานตะแกรงเบอร
 200 ผานตะแกรงเบอร
 200 ผานตะแกรงเบอร
 200
นอยกวา 5%  5% ถงึ 12%
ระหวาง มากกวา 12% นอยกวา 5% ระหวาง
 5% ถงึ 12% มากกวา 12%

ดูเสนกราฟ ั
มีสัญลกษณ 2คู ขึ้นอยูกับ ทดสอบ L.L. และ P.L. ดูเสนกราฟ มีสัญลกษณ
ั 2คู ขึ้นอยูกับ ทดสอบ L.L. และ P.L.
การกระจายตัวของเม็ดดิน การกระจายตัวของเม็ดดิน ของดินสวนที่ผาน การกระจายตัวของเม็ดดิน การกระจายตัวของเม็ดดิน ของดินสวนที่ผาน
และคุณสมบัติความเหนียว ตะแกรงเบอร 40 และคุณสมบัติความเหนียว ตะแกรงเบอร 40
เชน GW-GM เชน SP-SC
พจารณาแผนภู
ิ มิ พจารณาแผนภู
ิ มิ
มีขนาด มีขนาด ความเหนียว มีขนาด มีขนาด ความเหนียว
คละกันดี คละกันไมดี คละกันดี คละกันไมดี
ใตเสน A ู
อยใน เหนือเสน A ใตเสน A ู
อยใน เหนือเสน A
และ Hatched Hatched และ Hatched และ Hatched Hatched และ Hatched
โซน โซน โซน โซน โซน โซน

GW GP GM GM-GC GC SW SP SM SM-SC SC
ภาพที่ 1 (ก)
4
ดินพวกเม็ดละเอียด
ผานตะแกรงเบอร
 200 มากกวา 50%

ทดสอบ L.L. และ P.L. ดินสวนที่ผานตะแกรงเบอร 40

L H
L.L. นอยกวาหรือเทากับ 50% L.L. มากกวา 50%

พจารณาแผนภู
ิ มิความเหนียว พจารณาแผนภู
ิ มิความเหนียว

ใตเสน A อยใน
ู เหนือเสน A ใตเสน A เหนือเสน A
และ Hatched Hatched และ Hatched และ Hatched และ Hatched
โซน โซน โซน โซน โซน

ดู สี กลิ่น และตรวจสอบ ดู สี กลิ่น และตรวจสอบ


ประเภทของสาร ประเภทของสาร

สารอินทรีย สารอนินทรีย สารอินทรีย สารอนินทรีย

OL ML ML-CL CL OH MH CH

ภาพที่ 1 (ข)

5
70

60

50
Plasticity Index , PI.

CL CH A-line
40

30

20

10
7
4 CL-ML ML or OL MH or OH
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

Liquid Limit , LL.

ภาพที่ 1 (ค) แผนภูมิความเหนียว

6
7

การหาขนาดเม็ดดินที่มเี ปอรเซนตผานตะแกรงเทากับ 60 ,30 และ 10%


ในการจําแนกดินจําพวกเม็ดหยาบในกลุม กรวดที่มีขนาดคละกันดี (GW) และกรวดที่มีขนาดคละ
กันไมดี (GP) หรือทรายทีม่ ีขนาดคละกันดี (SW) และทรายที่มีขนาดคละกันไมดี (SP) จําเปนทีจ่ ะตอง
พิจารณาลักษณะการกระจายตัวของเม็ดดินจากกราฟขนาดเม็ดดิน (particle size) กับเปอรเซนตผาน
ตะแกรง (% passing) โดยจะตองหาคาขนาดเม็ดดินที่ผานตะแกรงในปริมาณ 60% , 30% และ 10%
ตามลําดับ จากการลากเสนในกราฟขางตนแลวอานคาดังแสดงในรูป

เปอรเซนตผานตะแกรง

100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0 D10 D30 D60
ขนาดเม็ดดิน , ม.ม.
ภาพที่ 2 การหาคา D60 , D30 , D10 จากกราฟการกระจายตัวของเม็ดดิน
เมื่อไดคา D60 , D30 , D10 ก็นําไปหาคาสัมประสิทธิ์ความสม่าํ เสมอ (Cu) และสัมประสิทธความโคง
งอของเสนกราฟ (Cc) จากสูตร
D60
Cu =
D10

D230
Cc =
D10 x D60

เกณฑการจําแนกดินวามีลกั ษณะคละกันดีตั้งแตขนาดใหญไปจนถึงขนาดเล็กจะเปนไปตามตาราง

ชนิดของดิน Cu Cc
กรวด มากกวา 4 1 - 3
ทราย มากกวา 6 1 - 3
8

สําหรับดินที่ไมเขาเกณฑทงั้ สองหรือเขาเพียงอยางใดอยางหนึง่ ก็จะถือเปนดินที่มีขนาดคละกันไมดี


ทั้งหมด ซึ่งอาจเปนเพราะเม็ดดินมีขนาดเดียวกันเปนสวนใหญ หรือขาดเม็ดดินขนาดใดขนาดหนึง่ ไป ทําให
องคประกอบของดินมีไมครบทุกขนาดจากเม็ดใหญไปจนถึงเม็ดเล็ก
ในการสรางโปรแกรมเพื่อตรวจสอบลักษณะการคละกันของเม็ดดินก็เริ่มตนจากการหาคา D60 , D30
และ D10
จากขอมูลผลการทดลองโดยหลักการของสามเหลี่ยมคลาย หรือความสัมพันธแบบเชิงเสนดังนี้

( x2 , y2 )

(x,y)

( x1 , y1 )

ภาพที่ 3 การหาคา D60 , D30 , D10 จากความสัมพันธแบบเชิงเสน

เมื่อ y คือ เปอรเซนตผานตะแกรงที่ 60 , 30 หรือ 10%


x คือ ขนาดเม็ดดินที่เปอรเซนตผานตะแกรงเทากับ 60 , 30 หรือ 10% (D60 , D30 ,D10)

การหาคา x ก็ใชการคนหาขอมูลผลการทดลองที่มีเปอรเซนตผานตะแกรงใกลเคียงกับ 60 ,30 หรือ


10% ดังกลาวเปนจํานวน 2 ขอมูล ซึ่งในทีน่ ี้ขอมูลที่ 1 คือ ( x1 , y1 ) และขอมูลที่ 2 คือ ( x2 , y2 ) โดย
y2 คือ คาเปอรเซนตผา นตะแกรงที่มากกวา 60 ,30 หรือ 10% ทีใ่ กลที่สุด
(ใชฟงกชัน DMIN)
x2 คือ ขนาดเม็ดดินทีม่ ีเปอรเซนตผา นตะแกรงเทากับ y2 (ใชฟง กชนั VLOOKUP)
y1 คือ คาเปอรเซนตผา นตะแกรงทีน่ อ ยกวา 60 ,30 หรือ 10% ทีใ่ กลที่สุด
(ใชฟงกชัน VLOOKUP)
x1 คือ ขนาดเม็ดดินทีม่ ีเปอรเซนตผา นตะแกรงเทากับ y1 (ใชฟง กชนั VLOOKUP)

สมการสําหรับหาคา x คือ

log x =
(y - y1 ) ⎛ x2 ⎞
log⎜ ⎟ + log x1
(y2 - y1 ) ⎝ x1 ⎠
9
⎡ (y - y1 ) ⎛ x2 ⎞ ⎤
⎢ log ⎜ ⎟ + log x1 ⎥
หรือ x = 10 ⎣
(y2 - y1 ) ⎝ x1 ⎠ ⎦

การหาคา D60 , D30 สามารถใชสูตรขางตนในการหาไดโดยไมมีปญหา แตสําหรับ D10 มีตัวอยางดิน


บางอันทีม่ ีคาเปอรเซนตผานตะแกรงเบอร 200 ซึ่งเปนตะแกรงขนาดเล็กที่สุดสําหรับการหาขนาดคละโดย
วิธีรอนตะแกรงนี้มีคา มากกวา 10% ก็จะมีวิธกี ารหาที่แตกตางออกไป โดยจะขอแยกอธิบายออกเปน 2
กรณีคือ
1) กรณีเปอรเซนตผานตะแกรงเบอร 200 นอยกวา 10%
ตะแกรง ขนาดเม็ดดิน (mm.) เปอรเซนตผานตะแกรง (%)
1
1
"
38.1 100
2
3
"
19.1 93.92
4
3
"
9.52 84.48
8
# 4 4.76 66.4
# 8 2.38 61.36
# 16 1.19 56.4
# 30 0.59 44.84
# 50 0.297 30.52
# 100 0.149 12.2
# 200 0.074 1.88

การหาคา D60 , D30 , D10 โปรแกรมจะเลือกขอมูลที่มีเปอรเซนตใกลเคียงกับ 60 , 30 และ 10% ไดดังนี้

เปอรเซนตผานตะแกรง ขนาดเม็ดดิน ตะแกรง


เปอรเซนตผานตะแกรงนอยกวา 60% 56.4 1.19 # 16

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 60% 61.36 2.38 #8

เปอรเซนตผานตะแกรงนอยกวา 30% 12.2 0.149 # 100

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 30% 30.52 0.297 # 50

เปอรเซนตผานตะแกรงนอยกวา 10% 1.88 0.074 # 200

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 10% 12.2 0.149 # 100


10

การหาคา D60
% ผานตะแกรง
70

(2.38 , 61.36)
60
(D60 , 60)
(1.19 , 56.4)
50
D60

1.968
1.19 2.38 ขนาดอนุภาคเม็ดดิน ,ม.ม.
ตะแกรง # 16 ตะแกรง # 8

ภาพที่ 4 แสดงการหา D60

⎡ (60 - 56.4 ) ⎛ 2.38 ⎞ ⎤


⎢ log ⎜ ⎟ + log 1.19 ⎥
D60 = 10 ⎣
(61.36 - 56.4 ) ⎝ 1.19 ⎠ ⎦ = 1.968 mm.

การหาคา D30
% ผานตะแกรง

40
(0.297 , 30.52)
(D30 , 30)
30

20
(0.149 , 12.2) D30
10

0.291
0.149 0.297 ขนาดอนุภาคเม็ดดิน ,ม.ม.
ตะแกรง # 100 ตะแกรง # 50

ภาพที่ 5 แสดงการหา D30


⎡ (30 - 12.2 ) ⎛ 0.297 ⎞ ⎤
⎢ log ⎜ ⎟ + log 0.149 ⎥
D30 = 10 ⎣
(30.52 - 12.2 ) ⎝ 0.149 ⎠ ⎦ = 0.291 mm.
11

การหาคา D10
% ผานตะแกรง

15
(0.149 , 12.2)
(D10 , 10)
10

D10
5
(0.074 , 1.88)
0.128
0
0.074 0.149 ขนาดอนุภาคเม็ดดิน ,ม.ม.
ตะแกรง # 200 ตะแกรง # 100

ภาพที่ 6 แสดงการหา D10

⎡ (10 - 1.88 ) ⎛ 0.149 ⎞ ⎤


⎢ log ⎜ ⎟ + log 0.074 ⎥
D10 = 10 ⎣
(12.2 - 1.88 ) ⎝ 0.074 ⎠ ⎦ = 0.128 mm.

2) กรณีเปอรเซนตผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 10%


การหาคา D60 , D30 ยังคงใชวิธกี ารเดียวกับกรณีที่ 1 แตสําหรับ D10 การหาขนาดเม็ดดินจะใช
วิธีการตอเสนออกไป ดังทีจ่ ะไดอธิบายตอไปนี้
ตะแกรง ขนาดเม็ดดิน (mm.) เปอรเซนตผานตะแกรง (%)
1
1
"
38.1 100
2
3
"
19.1 93.92
4
3
"
9.52 84.48
8
# 4 4.76 66.4
# 8 2.38 61.36
# 16 1.19 56.4
# 30 0.59 44.84
# 50 0.297 30.52
# 100 0.149 12.2
# 200 0.074 11.28

การหาคา D60 , D30 โปรแกรมจะเลือกขอมูลที่มีเปอรเซนตใกลเคียงกับ 60 และ 30%ดังนี้


12
เปอรเซนตผานตะแกรง ขนาดเม็ดดิน ตะแกรง
เปอรเซนตผานตะแกรงนอยกวา 60% 56.4 1.19 # 16

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 60% 61.36 2.38 #8

เปอรเซนตผานตะแกรงนอยกวา 30% 12.2 0.149 # 100

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 30% 30.52 0.297 # 50

⎡ (60 - 56.4 ) ⎛ 2.38 ⎞ ⎤


⎢ log ⎜ ⎟ + log 1.19 ⎥
D60 = 10 ⎣
(61.36 - 56.4 ) ⎝ 1.19 ⎠ ⎦ = 1.968 mm.
⎡ (30 - 12.2 ) ⎛ 0.297 ⎞ ⎤
⎢ log ⎜ ⎟ + log 0.149 ⎥
D30 = 10 ⎣
(30.52 - 12.2 ) ⎝ 0.149 ⎠ ⎦ = 0.291 mm.

ในการหาคา D10 โปรแกรมจะเลือกขอมูลที่มีเปอรเซนตใกลเคียงกับ 10% ดังนี้


เปอรเซนตผานตะแกรง ขนาดเม็ดดิน ตะแกรง
เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 10% (จุดที่ 1) 11.28 0.074 # 200

เปอรเซนตผานตะแกรงมากกวา 10% (จุดที่ 2) 12.20 0.149 # 100


% ผานตะแกรง

15
(0.149 , 12.2)
(0.074 , 11.28)
(D10 , 10)
10
ตอเสน
D10
5

0.028
0
0.074 0.149 ขนาดอนุภาคเม็ดดิน ,ม.ม.
ตะแกรง # 200 ตะแกรง # 100

ภาพที่ 7 แสดงการหา D10 โดยวิธีการตอเสน

⎡ (10 - 11.28 ) ⎛ 0.149 ⎞ ⎤


⎢ log ⎜ ⎟ + log 0.074 ⎥
D10 = 10 ⎣
(12.2 - 11.28 ) ⎝ 0.074 ⎠ ⎦ = 0.028 mm.
13

การพิจารณาคุณสมบัติดานความเหนียว (Plastic index , PI) ของดินกลุมเม็ดหยาบ


- ถาคา PI นอยกวา4%หรือ นอยกวาคา PI ของเสน A-line ซึ่งมีสมการวา PI = 0.73(L.L. – 20)
โดย L.L. คือคาขีดจํากัดเหลว (Liquid limit) ในแผนภูมิความเหนียว จะจัดเปนดินในกลุมที่มี
ตะกอนทรายปนอยูโดยใชสญ ั ลักษณแทนดวยตัว M ซึ่งจะเปนดินในกลุม GM ,SM ดังแสดงใน
ภาพที่ 8 และ 9
- ถาคา PI.มากกวา 7%และ มากกวาหรือเทากับคา PI.ของเสน A-lineในแผนภูมิความเหนียว
จะจัดเปนดินในกลุมที่มีดนิ เหนียวปนอยูโดยใชสัญลักษณแทนดวยตัว C ซึ่งจะเปนดินในกลุม
GC ,SC ดังแสดงในภาพที่ 8 และ 9
- ถาคา PI. อยูระหวาง 4% ถึง 7% (4% < PI. < 7%) ในแผนภูมิความเหนียว ก็จะจัดเปนดินใน
กลุมที่มที งั้ ดินเหนียวและตะกอนทรายปนอยูโดยใชสัญลักษณแทนดวย M ควบ C (M-C) ซึ่ง
จะเปนดินในกลุม GM-GC ,SM-SC ดังแสดงในภาพที่ 8 และ 9

4) ในกรณีของดินพวกเม็ดละเอียด โปรแกรมก็จะทําการพิจารณาคุณสมบัติดานความเหนียวของดินกลุม
เม็ดละเอียดเพียงอยางเดียวโดยเทียบกับแผนภูมิความเหนียวในภาพที่ 1(ค) ดังตอไปนี้

- ถาคาขีดจํากัดเหลว (L.L.) นอยกวาหรือเทากับ 50% และคาPI.นอยกวา 4% หรือนอยกวาคา


PI.ของเสน A-lineในแผนภูมคิ วามเหนียว จะจัดเปนดินในกลุมตะกอนทรายที่มีความเหนียวต่าํ
ถึงปานกลางและใชสัญลักษณแทนดวย MLหรือ OL (ในกรณีเปนสารอินทรีย)

- ถาคาขีดจํากัดเหลวนอยกวาหรือเทากับ 50% และ คาPI.มากกวา 7% และมากกวาหรือเทากับ


คาPI.ของเสน A-lineในแผนภูมิความเหนียว จะจัดเปนดินในกลุมดินเหนียวทีม่ ีความเหนียวต่าํ
ถึงปานกลางและใชสัญลักษณแทนดวย CL

- ถาคาขีดจํากัดเหลวนอยกวาหรือเทากับ 50% และคาPI.อยูระหวาง 4% ถึง 7%(4% < PI. <


7%) ในแผนภูมิความเหนียว จะจัดเปนดินในกลุม ดินเหนียวกับตะกอนทรายปะปนกัน และมี
ความเหนียวต่าํ ถึงปานกลาง ใชสัญลักษณแทนดวย CL-ML

- ถาคาขีดจํากัดเหลวมากกวา 50% และคาPI.นอยกวาคาPI.ของเสน A-lineในแผนภูมิความ


เหนียว จะจัดเปนดินในกลุมตะกอนทรายทีม่ ีความเหนียวสูงและใชสัญลักษณแทนดวย MH
หรือ OH (ในกรณีเปนสารอินทรีย)

- ถาคาขีดจํากัดเหลวมากกวา 50% และคาPI.มากกวาหรือเทากับคาPI.ของเสน A-lineใน


แผนภูมิความเหนียว จะจัดเปนดินในกลุม ดินเหนียวทีม่ ีความเหนียวสูงและใชสัญลักษณแทน
ดวย CH
ภาพที่ 8 แผนภูมิความเหนียวของดินเม็ดหยาบจําพวกกรวด

70

60

50
Plasticity Index , PI.

GC
A-line
40

30

20

GM
10
7
GM-GC
4
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

Liquid Limit , LL.

14
ภาพที่ 9 แผนภูมิความเหนียวของดินเม็ดหยาบจําพวกทราย

70

60

50
Plasticity Index , PI.

SC
A-line
40

30

20

SM
10
7
SM-SC
4
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

Liquid Limit , LL.

15
16

ตัวอยางการจําแนกดินในระบบ Unified Soil Classification


ตัวอยางที่ 1
ขอมูล Atterberg’s Limit
Liquid Limit 40.50% Plastic Limit 27.10%
Plastic Index = 40.50-27.10 = 13.40%
ขอมูลขนาดคละ น้ําหนักทัง้ หมด 976 กรัม

ตะแกรง ชองเปด น้ําหนัก เปอรเซนต เปอรเซนต เปอรเซนต


เบอร ของตะแกรง คางตะแกรง คางตะแกรง คางตะแกรง ผานตะแกรง
(มม.) (กรัม) สะสม
1 ½” 38.10 0 0 0 100
¾” 19.00 115.60 11.84 11.84 88.16
3/8” 9.432 151.10 15.48 27.33 72.67
#4 4.76 165.10 16.92 44.24 55.76
#8 2.38 108.60 11.13 55.37 44.63
#16 1.19 64.20 6.58 61.95 38.05
#30 0.59 31.40 3.22 65.16 34.84
#50 0.297 16.80 1.72 66.89 33.11
#100 0.149 16.40 1.68 68.57 31.43
#200 0.075 15.80 1.62 70.18 29.82

ขั้นตอนการจําแนก
1. ผานตะแกรงเบอร 200 = 29.82% นอยกวา 50% แสดงวาเปนดินเม็ดหยาบ
2. สวนคางบนตะแกรงเบอร 4 = 44.24%
สวนที่เปนเม็ดหยาบ = 70.18%
ครึ่งหนึง่ ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ = ½ (70.18) = 35.09%
เพราะวาสวนคางตะแกรงเบอร 4 มากกวา ครึ่งหนึง่ ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ ดังนั้นจึงเปนกรวด
ใชสัญลักษณแทนดวย G
3. ผานตะแกรงเบอร 200 = 29.82% มากกวา 12% ใหพจิ ารณาผลจากการทดสอบ
Atterberg’s Limit ซึ่งในตัวอยางนี้มีคา LL = 40.5% และ PI = 13.4% เมื่อนําไปพลอตลงใน
แผนภูมิความเหนียวจะอยูใตเสน A-line ดังนัน้ จึงจัดเปนดิน GM ซึ่งก็คือ กรวดที่มีตะกอนทรายปะปนอยู
17

ตัวอยางที่ 2
ขอมูล Atterberg’s Limit เปน Non Plastic (ไมสามารถปนได)
ขอมูลขนาดคละ น้ําหนักทัง้ หมด 931.80 กรัม

ตะแกรง ชองเปด น้ําหนัก เปอรเซนต เปอรเซนต เปอรเซนต


เบอร ของตะแกรง คางตะแกรง คางตะแกรง คางตะแกรง ผานตะแกรง
(มม.) (กรัม) สะสม
3/8” 9.423 0.00 0.00 0.00 100.0
#4 4.76 0.40 0.04 0.04 99.96
#8 2.38 2.40 0.26 0.30 99.70
#16 1.19 31.90 3.42 3.72 96.28
#30 0.59 197.90 21.24 24.96 75.04
#50 0.297 390.00 41.85 66.82 33.18
#100 0.149 282.20 30.29 97.10 2.90
#200 0.075 0.80 0.09 97.19 2.81

ขั้นตอนการจําแนก
1. ผานตะแกรงเบอร 200 = 2.81% นอยกวา 50% แสดงวาเปนดินเม็ดหยาบ

2. สวนคางบนตะแกรงเบอร 4 = 0.04%

สวนที่เปนเม็ดหยาบ = 97.19%

ครึ่งหนึง่ ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ = ½ (97.19) = 48.6%

เพราะวาสวนคางตะแกรงเบอร 4 นอยกวา ครึ่งหนึง่ ของสวนที่เปนเม็ดหยาบ ดังนั้นจึงเปนทราย


ใชสัญลักษณแทนดวย S

3. ผานตะแกรงเบอร 200 = 2.81% นอยกวา 5% ใหพิจารณากราฟกระจายตัวของเม็ดดิน


ดังภาพที่ 10
18

ดินที่มีขนาดคละกันดี (Well grade)

ดินที่มีขนาดคละกันไมดี (Poorly grade)

ภาพที่ 10 กราฟการกระจายตัวของเม็ดดินในตัวอยางที่ 2
19

4. หาคา D10, D30, D60 ได


D10 = 0.175
D30 = 0.276
D60 = 0.461
D 60 0.461
คํานวณ Cu = = = 2.63 นอยกวา 6
D10 0.175
( D 30 ) 2 0.276 2
Cc = = = 0.944 ไมอยูระหวาง 1-3
( D10 xD 60 ) 0.175x 0.461

มีลักษณะคละกันไมดี จึงจัดเปนดิน SP ซึ่งก็คือ ทรายที่มีขนาดคละกันไมดี

การใชงานโปรแกรม
เมื่อเปดโปรแกรมขึ้นมาใชงานแลว บนจอคอมพิวเตอรจะแบงออกเปน 4หนา (sheet) ดังนี้
1. กราฟ : แสดงกราฟการกระจายตัวของเม็ดดิน รายละเอียดของตัวอยางและกลุมดิน
2. ขอมูล1 : สําหรับปอนขอมูลดิน
3. ขอมูล2 : สําหรับปอนขอมูลดิน
4. ขอมูล3 : สําหรับปอนขอมูลดิน

ผูใชงานจะตองเลือกหนา "ขอมูล1" เพื่อปอนขอมูลลงไปเปนจํานวน 1 ตัวอยาง โดยมีวิธกี ารแสดง


อยูในภาพที่ 11 หลังจากนัน้ ก็เลือกหนา "ขอมูล2" และ "ขอมูล3" แลวปอนขอมูลลงไปในลักษณะเดียวกันก็
เปนอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการใสขอมูล ตอจากนั้นก็เปนหนาที่ของโปรแกรมที่จะทําการคํานวณและ
ประมวลผลแบบอัตโนมัติไดผลลัพธเปนชนิดของกลุมดินแลวแสดงลงในหนา "กราฟ" พรอมกับภาพแสดง
ลักษณะการกระจายตัวของเม็ดดิน ซึง่ สามารถพิมพผลและขอมูลออกมาทางเครื่องพิมพเพือ่ จัดทําเปน
รายงานผลการทดสอบตอไป
Royal Irrigation Department
Office of research and development
Soil Engineering Branch
Grain Size Analysis
Project ผักไห-เจาเจ็ด จ.พระนครศรีอยุธยา Lab. No. SE.210/2545
Location Sta.0+000
Boring No. DH-1 Test No. 1
Soil Description ดินเม็ดละเอียดสีเทาดํา Depth -2.00 ถึง -3.00 ม. การปอนรายละเอียดของโครงการ
Tested by สุรินทร Date 5 มี.ค. 45
Checked by อรสา Date 6 มี.ค. 45
Sieve Analysis
Wt. of dry soil 2500 gm. ปอนขอมูลน้ําหนักดินแหงทั้งหมดจากการทดสอบขนาดคละของ
Atterberg 's Limit Data
Liquid Limit 42.5 % Liquid Limit ( oven dried ) 39 %
ปอนขอมูลคุณสมบัติความเหนียวจากการทดสอบ Atterberg 's
Plastic Limit 16.4 %
(ในกรณีเปน Non plastic หรือไมมีขอมูลการทดลองก็ลบขอมูลเหลานี้
Sieve No. Weight % Retain Cumulative % Finer
ออกไป)
Retain (gm.) Retain %
1 1/2" 0 0.00 0.00 100.00
3/4" 152 6.08 6.08 93.92
3/8" 236 9.44 15.52 84.48
ปอนขอมูลน้ําหนักดินแหงที่คางในแตละตะแกรงจากการทดสอบขนาดคละของ
#4 452 18.08 33.60 66.40
#8 126 5.04 38.64 61.36
#16 124 4.96 43.60 56.40 หมายเหตุ % Retain คือ เปอรเซ็นตของดินคางบนตะแกรง
#30 289 11.56 55.16 44.84 Cumulative Retain % คือ เปอรเซ็นตของดินคางบนตะแกรงสะสม
#50 358 14.32 69.48 30.52 % Finer คือ เปอรเซ็นตของดินที่ผานตะแกรง
#100 458 18.32 87.80 12.20
#200 258 10.32 98.12 1.88 ภาพที่ 11 แสดงวิธีการปอนขอมูล 20
21

ภาคผนวก

ตัวอยางแสดงผลที่ไดจากโปรแกรม

วิธีการตรวจสอบสารอินทรียและสารอนินทรีย
Royal Irrigation Department
Office of research and development
Soil Engineering Branch
Grain Size Analysis
Project ตัวอยางแสดงผลของโปรแกรม Lab. No. SE.2/2546
Location Sta.0+000
Boring No. ตัวอยางที 1 Test No. 1
Soil Description Depth -2.00 ถึง -3.00 ม.
Tested by สุรินทร Date 24 พ.ค. 46
Checked by อรสา Date 24 พ.ค. 46
Sieve Analysis
Wt. of dry soil 976 gm.
Atterberg 's Limit Data
Liquid Limit 40.5 % Liquid Limit ( oven dried ) % Liquid Limit (oven dried) = - -
Plastic Limit 27.1 % Liquid Limit

Sieve No. Weight % Retain Cumulative % Finer


Retain (gm.) Retain %
1 1/2" 0 0.00 0.00 100.00
3/4" 115.6 11.84 11.84 88.16
3/8" 151.1 15.48 27.33 72.67
#4 165.1 16.92 44.24 55.76
#8 108.6 11.13 55.37 44.63
#16 64.2 6.58 61.95 38.05
#30 31.4 3.22 65.16 34.84
#50 16.8 1.72 66.89 33.11
#100 16.4 1.68 68.57 31.43
#200 15.8 1.62 70.18 29.82 22
Royal Irrigation Department
Office of research and development
Soil Engineering Branch
Grain Size Analysis
Project ตัวอยางแสดงผลของโปรแกรม Lab. No. SE.2/2546
Location Sta.0+000
Boring No. ตัวอยางที 2 Test No. 2
Soil Description Depth -3.00 ถึง -4.00 ม.
Tested by สุรินทร Date 24 พ.ค. 46
Checked by อรสา Date 24 พ.ค. 46
Sieve Analysis
Wt. of dry soil 931.8 gm.
Atterberg 's Limit Data
Liquid Limit % Liquid Limit ( oven dried ) % Liquid Limit (oven dried) = - -
Plastic Limit % Liquid Limit

Sieve No. Weight % Retain Cumulative % Finer


Retain (gm.) Retain %
1 1/2" 0 0.00 0.00 100.00
3/4" 0 0.00 0.00 100.00
3/8" 0 0.00 0.00 100.00
#4 0.4 0.04 0.04 99.96
#8 2.4 0.26 0.30 99.70
#16 31.9 3.42 3.72 96.28
#30 197.9 21.24 24.96 75.04
#50 390 41.85 66.82 33.18
#100 282.2 30.29 97.10 2.90
#200 0.8 0.09 97.19 2.81 23
Royal Irrigation Department
Office of research and development
Soil Engineering Branch
Grain Size Analysis
Project ตัวอยางแสดงผลของโปรแกรม Lab. No. SE.2/2546
Location Sta.0+000
Boring No. ตัวอยางที 3 Test No. 3
Soil Description Depth -1.00 ถึง -2.00 ม.
Tested by สุรินทร Date 24 พ.ค. 46
Checked by อรสา Date 24 พ.ค. 46
Sieve Analysis
Wt. of dry soil 1200 gm.
Atterberg 's Limit Data
Liquid Limit 56 % Liquid Limit ( oven dried ) % Liquid Limit (oven dried) = - -
Plastic Limit 12 % Liquid Limit

Sieve No. Weight % Retain Cumulative % Finer


Retain (gm.) Retain %
1 1/2" 0 0.00 0.00 100.00
3/4" 0 0.00 0.00 100.00
3/8" 45.6 3.80 3.80 96.20
#4 89 7.42 11.22 88.78
#8 100 8.33 19.55 80.45
#16 78 6.50 26.05 73.95
#30 45 3.75 29.80 70.20
#50 58 4.83 34.63 65.37
#100 78 6.50 41.13 58.87
#200 89 7.42 48.55 51.45 24
Office of Research and DevelopmenRoyal Irrigation Department
Project ตัวอยางแสดงผลของโปรแกรม GRADATION TEST Lab. No. SE.2/2546
SILT TO CLAY SAND GRAVEL
COBBLES
Hydrometer FINE MEDIUM COARSE FINE COARSE
25hr 45min 7hr 15min 60 min 19 min 4 min 1 min #200 #100 #50 #40 #30 #16 #8 #4 3/8" 3/4" 1 1/2" 3" 5" 6" 8"
100 0.001 0.002 0.005 0.009 0.019 0.037 #10

90

80

70

60
Percent Passing

50

40

30

20

10

0
0.001

0.002
0.003
0.004
0.005
0.006
0.007
0.008
0.009
0.01

0.02
0.03
0.04
0.05
0.06
0.07
0.08
0.09
0.1

0.2
0.3
0.4
0.5
0.6
0.7
0.8
0.9
1

9
10

30
40
50
60
70
80
90
100
127
152
200
3
4
5
6
7
8

20
0.001 0.002 0.005 0.009 0.019 0.037 0.074 0.149 0.297 0.59 1.19 2.38 4.76 9.52 19.1 38.1 76.2

Diameter of Particle in millimeters

Sample No. Boring No. Depth (m.) L.L. P.L. P.I. CLASS GS Remark
1 ตัวอยางที่ 1 -2.00 ถึง -3.00 ม. 40.5 27.1 13.4 GM
2 ตัวอยางที่ 2 -3.00 ถึง -4.00 ม. Non plastic SP
3 ตัวอยางที่ 3 -1.00 ถึง -2.00 ม. 56 12 44 CH
Drawn สุรินทร Checked อรสา Date 24 พ.ค. 46 Sheet of 25
26

วิธีการตรวจสอบสารอินทรียและสารอนินทรีย (ASTM. D 2487 - 93)

ดินในกลุม เม็ดละเอียดมีวิธกี ารตรวจสอบเบื้องตนวาจัดเปนสารอินทรียหรือสารอนินทรีย

ไดโดยใชการพิจารณาที่ลักษณะเนื้อดิน สี และกลิ่น โดยเนื้อดินของสารอินทรียอาจมีเศษซากของ

สิ่งมีชีวิต สีเขมและมีกลิน่ อันเกิดจากการสลายตัวที่รุนแรง สวนวิธกี ารตรวจสอบอยางละเอียดจะ

ตองทําการทดสอบขีดจํากัดเหลว (Liquid limit) ของดินอบแหงและดินที่แหงในสภาพอากาศปกติ

แลวนํามาเปรียบเทียบกันในรูปอัตราสวน และถาปรากฎวา

Liquid limit (oven dried)


คา Liquid limit < 0.75 แสดงวาเปนสารอินทรีย

โดย Liquid limit (oven dried) คือ ขีดจํากัดเหลวของดินอบแหง


Liquid limit คือ ขีดจํากัดเหลวของดินที่แหงในสภาพอากาศปกติ
27

เอกสารอางอิง

1. คูมือปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร โดย ดร.วรากร ไมเรียง, อ.จิรพัฒน โชติกไกร,


อ.ประทีป ดวงเดือน, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ( 2525 )

2. มณเฑียร กังศศิเทียม 2539. กลศาสตรของดินดานวิศวกรรม พิมพครั้งที่ 7 สมาคม


ศิษยเกาวิศวกรรมชลประทาน กรุงเทพฯ 371 น.

You might also like