You are on page 1of 10

ชื่องาน รักษาปวงประชา งานประดิษฐ์ตัวอักษร (calligraphy) โดย Tusk

ในปี พ.ศ. 2532 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช เคยพระราชทาน


สั ม ภาษณ์ แ ก่ The New York Times เมื่ อ นั ก ข่ า วถามถึ ง ประเด็ น การถู ก จดจำ � ใน
ประวัติศาสตร์ พระองค์ทรงตรัสตอบโดยมีเนื้อหาส่วนหนึ่งว่า
“If they want to write about me in a good way, they should write how I do things
that are useful.”
“หากพวกเขาอยากจะเขียนถึงข้าพเจ้าในแง่ดี พวกเขาควรเขียนถึงสิ่งอันเป็น
ประโยชน์ที่ข้าพเจ้าทำ�”

ช่วงเช้าวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ข้ามคืนที่เป็นจุดเริ่มต้นแห่งความโศกเศร้า


ของปวงชนชาวไทยไปไม่กี่ชั่วโมง ทีมงานนิตยสาร happening ก็นัดประชุมกันโดย
ด่วนถึงสิ่งที่เราพอจะทำ�ได้ในสถานการณ์เช่นนี้ เราสรุปกันว่าจะเลื่อนการทำ�นิตยสาร
happening ฉบับ 107 ที่ควรวางแผงในเดือนพฤศจิกายนออกไปก่อน (จริงๆ เราได้
จัดทำ�เนื้อหาฉบับนี้ไปจนเกือบเสร็จสมบูรณ์แล้ว) เราตัดสินใจใช้แรงบันดาลใจจาก
พระราชดำ�รัสที่พระองค์เคยพระราชทานไว้ในบทสัมภาษณ์ชิ้นนั้นมาเป็นแนวทาง
ในการทำ�หนังสือเล่มนี้
เราจะทำ�หนังสือที่เล่าเรื่อง ‘งาน’ อันเป็นคุณประโยชน์ที่พระองค์ทรงทำ�เพื่อ
คนไทยมาตลอด 70 ปี โดยหมายรวมทั้งพระราชกรณียกิจ, โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำ�ริ, สิ่งของที่พระองค์พระราชทานแก่ประชาชน ไปจนถึงพระราชจริยวัตร
ทีท่ รงทำ�เป็นแบบอย่าง และเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีพ ่ ระองค์ทรงเคยมีสว่ นร่วมในเหตุการณ์
บ้านเมืองของเรา
อีกประเด็นหนึ่งที่เราให้ความสำ�คัญก็คือ หนังสือเล่มนี้จะมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้อ่าน
ซึง่ เป็นคนรุน่ ใหม่ ส่วนหนึง่ เพราะเป็นกลุม่ เป้าหมายหลักๆ ทีต่ ดิ ตามหนังสือ happening
อยู่แล้ว และอีกเหตุผลหนึ่งคือดูเหมือนว่ากลุ่มคนรุ่นหลังๆ จะค่อนข้างห่างเหินกับ
เรื่องของพระองค์ท่านอยู่บ้างเมื่อเทียบกับคนรุ่นก่อนหน้าที่เคยสัมผัสกับเรื่องราว
โดยตรง หรือเคยติดตามข่าวในพระราชสำ�นักในห้วงเวลาตลอดหลายสิบปีที่พระองค์
เสด็จพระราชดำ�เนินไปทั่วทุกภูมิภาคของเมืองไทย
เราอยากให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่เหมาะจะเอาไปส่งต่อกับคนรุ่นต่อๆ ไป
กองบรรณาธิการของเราได้ทำ�การค้นคว้ารวบรวมเรื่องราว 70 เรื่อง (เท่ากับ
จำ�นวนปีที่พระองค์ครองราชย์) ซึ่งเป็นตัวแทน ‘งาน’ ของพระองค์ท่านที่เราคิดว่า
ควรบันทึกไว้ให้คนไทยได้อ่านกัน แล้วขอให้ศิลปินร่วมสมัย 70 คน นำ�เรื่องราวเหล่านี้
ไปเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์งานศิลปะขึน้ มา บางชิน้ อาจจะเป็นงานทีศ่ ลิ ปิน
เคยทำ�ไว้แล้วหรือกำ�ลังสร้างอยู่พอดี แต่ส่วนใหญ่เป็นงานที่สร้างขึ้นใหม่เพื่อการนี้
โดยเฉพาะ แล้วนำ�ทั้งหมดมาร้อยเรียงจนกลายเป็นหนังสือที่ผู้อ่านน่าจะได้ความรู้สึก
เหมื อ นเดิ น ชมแกลเลอรี ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยงานศิ ล ปะพร้ อ มกั บ คำ � บรรยายอย่ า งเป็ น
การเป็ น งาน ซึ่ ง งานศิ ล ปะทุ ก ชิ้ น ได้ แ รงบั น ดาลใจจาก ‘สิ่ ง อั น เป็ น ประโยชน์ ’
ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้ทรงมอบไว้ให้ชาวไทย

2
เป็ น การส่ ง ต่ อ แรงบั น ดาลใจจากพระองค์ ท่ า น โดยกลุ่ ม คนซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ส ร้ า ง
แรงบั น ดาลใจให้ กั บ สั ง คม ซึ่ ง ก็ คื อ ‘ศิ ล ปิ น ’ ที่ พ ร้ อ มใจกั น ทำ � ด้ ว ยหั ว ใจ ถวายแด่
พระองค์ผู้ทรงงานอย่างหนักเพื่อชาวไทยตลอดมา ...นี่คือเหตุผลที่เราตั้งชื่อหนังสือ
happening เล่มนี้ว่าฉบับ ‘heart work’

อีกเรื่องหนึ่งที่เกิดจากการประชุมในเช้าวันนั้น คือทีมงาน happening ได้ตกลง


กันว่า เราอยากให้ผู้อ่านของเรามีส่วนร่วมกับ ‘สิ่งอันเป็นประโยชน์’ ของพระองค์ด้วย
ดังนั้นเราจึงจะนำ�รายได้ทั้งหมดจากการจำ�หน่าย happening ‘heart work’ ไปมอบ
ให้ กั บ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา นั่ น หมายความว่ า เมื่ อ มี ผู้ อ่ า นจ่ า ยเงิ น ซื้ อ หนั ง สื อ เล่ ม นี้
195 บาท เงินทั้ง 195 บาทนั้นจะถูกนำ�ไปมอบให้กับมูลนิธิฯ ทั้งหมด
นี่เป็นสิ่งที่พวกเราตั้งเป็นหมุดหมายเอาไว้ในหัวใจ

ในระหว่างการค้นข้อมูล เราค้นพบว่าสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงทำ � เพื่ อ เหล่ า พสกนิ ก รนั้ น มี ม ากมายเกิ น กว่ า ที่ เ ราจะบอกเล่ า
ได้ด้วยการแบ่งออกเพียง 70 บท มีเรื่องราวเกี่ยวกับพระองค์ท่านอีกมากมายที่เรายัง
ไม่เคยรู้ (แม้ว่าเราเคยคิดว่าเรารู้เรื่องของพระองค์มาไม่น้อยแล้วก็ตาม) หลายสิ่งที่
ท่านทรงทำ�ก็ลึกซึ้งและมีความบูรณาการจนยากยิ่งที่จะเล่าด้วยการแบ่งเป็นบทๆ หรือ
บอกเล่าในพื้นที่อันจำ�กัด ดังนั้นในบทบรรณาธิการนี้ ผมจึงจำ�ต้องออกตัวว่า หนังสือ
เล่มนี้เป็นเพียงการบอกเล่าในมุมของพวกเรา และด้วยวิธีของเราเท่านั้น แน่นอนว่า
มันจะไม่ใช่วธิ ที ด่ี ที สี่ ดุ แต่เราก็หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะทำ�ให้ผอู้ า่ นได้ความรู้
ได้แรงบันดาลใจ และคงจะเป็นเรือ่ งดีอย่างยิง่ ถ้าแรงบันดาลใจนัน้ หมายถึงการทีผ่ อู้ า่ น
ของเราจะลองลงมือค้นคว้า ลองไปสัมผัส ลองไปเห็น ‘สิง่ อันเป็นประโยชน์’ ทีพ ่ ระองค์
ทรงสร้างไว้ด้วยสายตาของตัวเอง และอาจถึงขั้นลงมือบอกเล่า หรือกระทั่งสานต่อ
สิ่งนั้นด้วยตัวเองบ้าง ไม่มากก็น้อย
ในระหว่างการประสานงานและการทำ�งานหนังสือเล่มนี้ เราค้นพบนํา้ ใจอันมากมาย
จากมวลมิตรและจากคนที่เราไม่เคยรู้จัก ที่ช่วยกันสนับสนุนให้หนังสือเล่มนี้แล้วเสร็จ
ไปได้ด้วยดี ศิลปินหลายท่านตอบตกลงและทำ�งานศิลปะให้เราทันที และยังยินดี
มอบค่าแรงร่วมสมทบทุนมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาด้วย มิตรหลายคนส่งต่อข่าวว่าเรา
กำ�ลังทำ�หนังสือเล่มนี้ หลายองค์กรช่วยกันสนับสนุนต้นทุนในการผลิตหนังสือเล่มนี้
อย่างเต็มอกเต็มใจ ในสายธารแห่งนํ้าใจนั้น เรารับรู้ได้ถึงพลังอันยิ่งใหญ่ที่ซ่อนอยู่ใน
หัวใจของทุกๆ คนที่มีส่วนร่วมกับงานชิ้นนี้
เรารับรูว้ า่ ทุกคนกำ�ลังทำ�เพือ่ ร่วมน้อมรำ�ลึกถึงพระราชาทีจ่ ะทรงประทับอยูใ่ นหัวใจ
ของพวกเราไปจนกว่าชีวิตจะหาไม่
และอย่างไม่มีข้อสงสัย เรารู้ได้เต็มหัวใจว่าทุกคนอยากสื่อสารและลงมือทำ�เรื่อง
ที่ดีงาม และเป็นประโยชน์
เป็นการก้าวตามรอยพระบาทที่พระองค์เสด็จฯ นำ�ทางแก่พวกเรามาแล้ว 70 ปี
เรากำ�ลังจะตามรอยนั้นไปด้วยกัน

ด้วยความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้

วิภว์ บูรพาเดชะ
และทีมงาน happening
เพลงพระราชนิพนธ์

หากนี่ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งราวของพระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ก ลายเป็ น จะพระราชทาน แสงเที ย น ออกมาเป็ น เพลงลำ � ดั บ ที่ 3
ศูนย์รวมจิตใจของปวงชนทั้งประเทศแล้ว บางทีนี่อาจจะเป็น โดยบรรเลงในงานลีลาศที่สวนอัมพร โดยมีวงดนตรีของกรม
เรือ่ งราวของนักดนตรีและนักแต่งเพลงทีย่ อดเยีย่ มทีส่ ดุ คนหนึง่ โฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์ขณะนัน้ ) และมี เอือ้ สุนทรสนาน
เท่าที่ประเทศเราเคยมี (หัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์) เป็นผู้ควบคุมวง
อย่างที่ เบนนี กู๊ดแมน (Benny Goodman) นักดนตรีแจ๊ซ ต่ อ มาพระองค์ พ ระราชนิ พ นธ์ บ ทเพลงออกมาอย่ า ง
ชื่อดังชาวอเมริกันเคยกล่าวถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร- ต่ อ เนื่ อ งสิ ริ ร วมได้ ถึ ง 49* บทเพลง โดยมี บ ทเพลงสำ � คั ญ ๆ
มหาภูมิพลอดุลยเดชว่า “ผมมั่นใจว่าหากพระองค์ไม่ได้ดำ�รง อย่าง พรปีใหม่ ที่พระองค์พระราชนิพนธ์ขึ้นในเดือนธันวาคม
ตำ�แหน่งกษัตริย์อย่างที่เป็นอยู่ พระองค์จะต้องประสบความ พ.ศ. 2494 และกลายเป็นบทเพลงประจำ�ช่วงเทศกาลปีใหม่
สำ�เร็จในฐานะหัวหน้าวงดนตรีแจ๊ซและสวิงอย่างแน่นอน” ของประเทศไทยเรือ่ ยมา เพลงสำ�หรับใช้เป็นเพลงประจำ�องค์กร
แต่นไี่ ม่ใช่เรือ่ งของนักดนตรีชอื่ ก้องโลก หากแต่เป็นเรือ่ งราว และมหาวิทยาลัย เช่น เพลง มหาจุฬาลงกรณ์ ของจุฬาลงกรณ์
ของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ มหาวิทยาลัย, เพลง ยูงทอง ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
เพียงแต่เรื่องนี้เริ่มต้นด้วยเสียงดนตรีเท่านั้นเอง เพลง เกษตรศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช จนกระทั่งถึงเพลงลำ�ดับสุดท้าย เมนูไข่ * ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ จำ � น ว น บ ท เ พ ล ง
สนพระราชหฤทัยในดนตรีตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เครื่องดนตรี พระองค์ พ ระราชนิ พ นธ์ เ พลงนี้ ขึ้ น มา พระราชนิพนธ์จากเดิมที่เข้าใจกันว่ามีทั้งสิ้น
48 บทเพลง ล่าสุดเมือ ่ วันที่ 25 ตุลาคม 2559
ชิ้นแรกที่ทรงหัดเล่นคือแอคคอร์เดียน พอพระชนมพรรษาได้ จากโคลงสี่ ข องสมเด็ จ พระเทพรั ต นราช ดร.ภาธร ศรี ก รานนท์ หนึ่ ง ในสมาชิ ก วง
ดนตรี อ.ส. วั น ศุ ก ร์ ได้ ชี้ แ จงไว้ ใ นรายการ
14 พรรษา ก็ได้ทรงใช้เงินออมส่วนพระองค์รวมกับเงินของ สุ ด าฯ เพื่ อ พระราชทานเป็ น ของขวั ญ ต่างคนต่างคิด ทางช่ อ งอมริ น ทร์ ที วี ว่ า
แท้ที่จริง บทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งหมดนั้น
สมเด็จพระบรมราชชนนีอีกครึ่งหนึ่ง เพื่อซื้อแซกโซโฟนมือสอง วันคล้ายวันประสูติครบ 72 พรรษา ให้แด่ มี ด้ ว ยกั น 49 เพลง โดยเพลงที่ ห ายไปคื อ
เพลง ราชวั ล ลภ ซึ่ ง เป็ น เพลงที่ มี เ นื้ อ ร้ อ ง
มาหั ด เล่ น พอพระชนมพรรษาได้ 18 พรรษา พระองค์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ เมื่อปี 2538 และทำ � นองคล้ า ยคลึ ง กั บ เพลง มาร์ ช ราช-
วั ล ลภ ที่ เ ป็ น เพลงบรรเลง จึ ง ทำ � ให้ ห ลาย
พระราชนิพนธ์บทเพลง แสงเทียน เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ไม่น่าแปลกใจที่ เบนนี กู๊ดแมน ผู้เคย คนเข้ า ใจผิ ด ว่ า เป็ น บทเพลงเดี ย วกั น โดย
ดร.ภาธร ได้ทราบข้อมูลนี้หลังจากได้ทูลถาม
อันดับแรก แต่เนื่องด้วยพระราชประสงค์ที่จะทรงแก้ไขทำ�นอง มี โ อกาสเล่ น ดนตรี กั บ พระองค์ จ ะกล่ า ว พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล-
อดุ ล ยเดช พระองค์ ท รงมี รั บ สั่ ง กลั บ มาว่ า
กับคอร์ดบางตอนในบทเพลง จึงยังไม่โปรดเกล้าฯ พระราชทาน เช่นนั้น แต่ทว่าพระองค์ก็ทรงเลือกแล้ว ทั้ ง 2 บทเพลงเป็ น ‘คนละเพลงเดี ย วกั น ‘
โดยพระองค์ได้พระราชนิพนธ์เพลง ราชวัลลภ
ให้ นำ � ออกมา เพลง ยามเย็ น กั บ สายฝน จึ ง เป็ น บทเพลง ที่ จ ะเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ ที่ ท รงงานเพื่ อ ขึ้นมาเป็นลำ�ดับแรก ต่อมาจึงแก้ไขบางส่วน
ให้เป็นเพลงบรรเลงจนกลายเป็นเพลง มาร์ช
พระราชนิพนธ์ 2 เพลงแรกที่พสกนิกรได้รับฟัง ก่อนที่พระองค์ ปวงชนชาวไทย ...อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น กษั ต ริ ย์ ราชวัลลภ
ที่ ท รงดนตรี แ ละมี ผ ลงานเป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ล้ ว ระดั บ โลกไป
heart work พร้ อ มกั น ดั ง พระราชดำ � รั ส ของพระองค์ ที่ พ ระราชทานแก่
คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2524
ไว้ดังนี้
ทุกครั้งที่ฟังเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้า
อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 9 เราจะรู้ สึ ก เหมื อ นได้ รั บ การ์ ด อวยพรที่ เ ต็ ม
“...การดนตรีจึงมีความหมายสำ�คัญสำ�หรับประเทศชาติ
ไปด้ ว ยกำ � ลั ง ใจ ความหวั ง และแง่ คิ ด ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง เรี ย บง่ า ยแสน สำ�หรับสังคม ถ้าทำ�ดีๆ ก็ท�ำ ให้คนเขามีก�ำ ลังใจจะปฏิบตั งิ านการ
ธรรมดาแต่ส�ำ คัญอย่างมากต่อการใช้ชว ี ต
ิ โดยเฉพาะท่วงทำ�นอง
อ่อนหวานและลูกเล่นทางดนตรี ยังทำ�ให้จต ิ ใจสงบ สนุกและสดชืน ่
ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง ทำ�ให้คนที่กำ�ลังท้อใจ
จึงอยากถ่ายทอดความรู้สึกนั้นผ่านภาพพระอัจฉริยภาพด้าน มีกำ�ลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกำ�ลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่
ดนตรีอน ั หลากหลาย อิงกับสัญลักษณ์จากเพลง อาทิ ดอกจามจุรี ถูกต้องก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มี
ดอกยู ง ทอง ดอกนนทรี ลมหนาว สายฝน อาทิ ต ย์ ย ามเย็ น
ใบหน้ า ยิ้ ม สู้ ข องผู้ พิ ก ารทางสายตา หมวกทหาร นก ไก่
ความสำ�คัญอย่างหนึ่ง จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้อง
เกาะในฝัน ฯลฯ กับการดนตรีในรูปการณ์ต่างๆ ว่ามีความสำ�คัญและต้องทำ�ให้
พิมพ์รัก ชัยกุล
อายุ 35 ปี, ชาวสมุทรปราการ
ถูกต้อง ต้องทำ�ให้ดี...”
นักเขียน, ครีเอทีฟ

8 9
สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต

งานสำ�คัญหลายอย่างเริ่มต้นด้วยการสื่อสาร... รายการเพลง มี ว งดนตรี


ในปี พ.ศ. 2495 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- ของพระองค์บรรเลงเพลง
อดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้ง ให้ประชาชนฟังสดๆ ผ่าน
สถานีวทิ ยุกระจายเสียงอัมพรสถาน (อ.ส.) ขึน้ ภายในพระราชวัง ทางสถานี ใ นทุ ก วั น ศุ ก ร์
ดุสิต เพื่อเป็นสื่อกลางให้สาระและความบันเทิงแก่ประชาชน มีการเผยแพร่ความรู้ต่างๆ
สถานีวิทยุ อ.ส. ในยุคแรกเป็นเพียงสถานีเล็กๆ มีเครื่องส่ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ และยั ง มี
2 เครื่อง กำ�ลังส่ง 100 วัตต์ (เป็นเครื่องที่กรมประชาสัมพันธ์ การแจ้ ง ข่ า วเหตุ ก ารณ์
ทูลเกล้าฯ ถวายและติดตัง้ ให้) เมือ่ เริม่ ออกอากาศใหม่ๆ พระองค์ สำ�คัญๆ อย่างเช่น การเกิด
ทรงปรับเครื่องส่งวิทยุเอง ทรงจัดรายการและเปิดแผ่นเสียงเอง โรคโปลิ โ อระบาดในปี
ทรงบันทึกเสียงวงดนตรีของนักเรียนโรงเรียนสอนคนตาบอด 2495, อหิวาตกโรคระบาด
วงดนตรีไทย วงข้าราชบริพาร มาออกอากาศด้วยพระองค์เอง ในปี 2501 และเมื่ อ เกิ ด
พอผ่านไประยะหนึ่งก็มีจดหมายรายงานผลการรับฟังเข้ามา วาตภั ย ที่ แ หลมตะลุ ม พุ ก
จากหลายประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ เยอรมนี ในปี 2505 พระองค์ ก็ มี พ ระราชดำ � ริ ใ ห้ ใ ช้ ส ถานี วิ ท ยุ อ.ส.
ฯลฯ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายกำ�ลังส่งมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี เป็นสือ่ กลางในการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย จนเป็นต้นกำ�เนิดของ
พ.ศ. 2525 ก็เพิ่มการส่งกระจายเสียงในระบบ FM ขึ้นอีกระบบ มูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในเวลาต่อมา
สถานีวิทยุ อ.ส. กลายเป็นช่องทางให้พสกนิกรได้ติดต่อกับ นอกจากนี้ เมื่ อ มี ก ารเสด็ จ พระราชดำ � เนิ น เยี่ ย มเยี ย น
พระองค์ได้อย่างไม่ยากเย็น โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนพิธีการ ประชาชนทั่วทุกภาคของประเทศ สถานีวิทยุ อ.ส. ก็ร่วมกับ
มากมายเหมือนสมัยโบราณ รายการของสถานีวิทยุแห่งนี้มีทั้ง สถานีวิทยุ จ.ส. กรมการทหารสื่อสาร ถ่ายทอดการเสด็จฯ
ทุกครั้ง ทำ�ให้ประชาชนได้ยินพระสุรเสียงและได้ฟังพระราช-
ดำ�รัสที่พระราชทานแก่ประชาชนในพื้นที่นั้นๆ ด้วย
heart work เรื่องที่น่าประทับใจอีกประการของสถานีวิทยุแห่งนี้ก็คือ
นโยบายในการบริหารงานที่พระองค์พระราชทานไว้ คือการ
ก่ อ นที่ โ ทรทั ศ น์ จ ะเเพร่ ห ลาย วิ ท ยุ เ ป็ น เหมื อ นประตู วิ เ ศษ เปิดโอกาสให้คนที่มีความรู้ ความสามารถ ไม่ว่าจะจากหน่วย
ที่ทำ�ให้ราษฎรกับพระเจ้าอยู่หัวได้ใช้สื่อสารกัน มันเป็นช่องทาง
ที่ทำ�ให้ผู้คนรู้สึกว่ามีพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่พึ่งเเละเป็นร่มโพธิ์ร่มไทร
ราชการหรือเอกชน ได้เข้ามาสนองพระมหากรุณาธิคุณให้มาก
เเละนอกจากนั้นในหลวงยังทรงใช้วิทยุเพื่อสื่อสารมุมมองต่างๆ ที่สุด ดังนั้นทีมงานของสถานีแห่งนี้จึงเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น
เเละเพื่อความบันเทิงเเละพักผ่อนหย่อนใจอีกด้วย และทรงรับภาระต่างๆ ด้านสถานีด้วยทุนทรัพย์ส่วนพระองค์
ตุล ไวฑูรเกียรติ
เป็นการใช้นโยบายประหยัดและใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่าที่สุด
อายุ 40 ปี, ชาวกรุงเทพฯ นั่นเอง
นักร้อง-นักแต่งเพลงวงอพาร์ตเมนต์คุณป้า, กวี
อาจกล่ า วได้ ว่ า สถานี วิ ท ยุ แ ห่ ง นี้ คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ทำ � ให้
ประชาชนได้สมั ผัสกับพระมหากษัตริยผ์ ทู้ รงเป็นศูนย์รวมจิตใจ
ของชาวไทยทั้งชาติในเวลาต่อมา

11
วงดนตรีของพ่อ

เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ประทับ จะเสด็จฯ ไปบรรเลงดนตรีรว่ มกับวง


อยู่ที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในช่วงปรับปรุงพระตำ�หนักจิตรลดา ดนตรีตามคำ�เชิญของมหาวิทยาลัย
รโหฐาน พระองค์ ไ ด้ นำ � ดนตรี ดิ๊ ก ซี่ แ จ๊ ซ (Dixieland Jazz) ต่างๆ
ซึ่งพระองค์ทรงโปรดเป็นพิเศษ มาใช้เป็นแนวทางให้การก่อตั้ง นอกจากการบรรเลงดนตรีแล้ว
วงดนตรีส่วนพระองค์ ชื่อ ‘วงลายคราม’ ที่สมาชิกวงประกอบ พระองค์ยงั ทรงเป็นครูสอนดนตรีทดี่ ี
ไปด้วยพระประยูรญาติบางองค์และคนสนิท ต่อมาเมือ่ พระองค์ ทรงสอนดนตรีให้กับพระราชโอรส
จัดตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. ขึ้นในปี พ.ศ. 2495 และได้มีการปรับปรุง พระราชธิ ด า และข้ า ราชบริ พ าร
วงลายครามให้ นั ก ดนตรี เ ข้ า มาถวายงานได้ วงดนตรี ว งนี้ ครั้งหนึ่งยังทรงสอนดนตรีให้กับคน
ก็กลายเป็น ‘วง อ.ส. วันศุกร์’ ซึ่งคอยบรรเลงออกอากาศทาง ตาบอดอีกด้วย หลายครั้งพระองค์
สถานีวิทยุ อ.ส. ทุกวันศุกร์ โดยมีพระองค์ทรงร่วมบรรเลงด้วย ก็ทรงใช้การสอนดนตรีเป็นเครื่องมือสร้างความสามัคคี ดังเช่น
นอกจากจะออกอากาศทางสถานี วิ ท ยุ แ ล้ ว ต่ อ มาในปี ในปี พ.ศ. 2529 ทรงตั้งวง ‘แตรวงสหายพัฒนา’ ขึ้น เพื่อกระชับ
พ.ศ. 2501 พระองค์ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณนำ�วง ความสัมพันธ์ข้าราชบริพารจากโครงการต่างๆ โดยพระองค์
ลายคราม ไปแสดงดนตรีที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระราชทานการสอนให้ด้วยตัวพระองค์เอง และมีสมเด็จ-
บรรยากาศของงานคล้ า ยกั บ การแสดงดนตรี ที่ ส วนอั ม พร พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์หัวหน้าวง
นับจากนั้นทางจุฬาฯ จึงกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จ- จากที่สมาชิกส่วนใหญ่ที่เล่นดนตรีไม่เป็น พอผ่านการฝึกซ้อม
พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำ�เนินทรงดนตรีที่หอประชุมจุฬาฯ เรียนรู้ก็สามารถบรรเลงร่วมกันในโอกาสต่างๆ ได้
เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี (เว้ น ปี ที่ มี พ ระราชภารกิ จ มาก) กลายเป็ น การที่ทรงจัดตั้งวงดนตรีหรือสอนดนตรีให้ข้าราชบริพาร
ธรรมเนี ย มที่ เ รี ย กว่ า ‘วั น ทรงดนตรี ’ ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ พ ระองค์ แท้จริงไม่ใช่หน้าทีท่ กี่ ษัตริยจ์ �ำ เป็นต้องกระทำ� แต่เพราะพระองค์
ทรงเล็งเห็นถึงความสำ�คัญและประโยชน์นอกเหนือจากความ
heart work
บันเทิงของดนตรีอนั มีตอ่ ประเทศชาติบา้ นเมือง ดังพระราชดำ�รัส
ภายหลังทีม่ หาวิทยาลัยการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุง
เวียนนาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายประกาศนียบัตรเกียรติคุณ
ด้วยความสนใจเกี่ยวกับดนตรีและศิลปะของพระองค์ ทำ�ให้ ชั้นสูง ให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์หมายเลข 23
อยากสร้ า งสรรค์ ง านที่ ไ ด้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจากบทเพลง
พระราชนิพนธ์ที่พระราชทานให้กับวงดนตรีแจ๊ซ ซึ่งท่านเป็นคน
พร้อมกับสลักพระปรมาภิไธย ‘ภูมิพลอดุลยเดช’ ลงบนแผ่นหิน
จัดตั้งและรวบรวมเหล่านักดนตรีทั้งมืออาชีพและมือสมัครเล่น ของสถาบันดังนี้
ขึ้ น มา โดยออกแบบเป็ น หน้ า ปกแผ่ น เสี ย งสำ � หรั บ บทเพลง “...ดนตรีทุกชนิดเป็นศิลปะที่สำ�คัญอย่างหนึ่ง มนุษย์เกือบ
Lay Kram Goes Dixie -วงดนตรีลายคราม และ Friday Night
Rag -วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ ผ่านรูปแบบของกราฟิกอาร์ต ทั้งหมดชอบและรู้จักดนตรี ตั้งแต่เยาว์วัยคนเริ่มรู้จักดนตรี
บ้างแล้ว ความรอบรูท้ างดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมขึน้ กับเชาวน์
มานิตา ส่งเสริม และสามารถในการแสดงของแต่ละคน อาศัยเหตุนี้จึงกล่าว
อายุ 26 ปี, ชาวนครราชสีมา
นักออกแบบกราฟิก, ศิลปิน ได้ว่า ในระหว่างศิลปะนานาชนิด ดนตรีเป็นศิลปะที่แพร่หลาย
กว่ า ศิ ล ปะอื่ น ๆ และมี ค วามสำ � คั ญ ในด้ า นการศึ ก ษาของ
ประชาชนทุกประเทศด้วย...”

12 13
เ รื่ อ ง สั้ น : วั น เ ข้ า ก รุ ง
โ ด ย : วิ น ท ร์ เ ลี ย ว ว า ริ ณ
พระราชทานปริญญาบัตร
-1- แกลุกขึน้ เมื่อเสียงคุยของคนเงียบลง เห็นขบวนรถแล่นเข้ามา ผูค้ นยืน
เมืองนี้มีรถมากจริง เพิ่งเห็นรถติดเป็นครั้งแรกในชีวิต แกคิดขณะยืน สำ�รวม ใจเต้นแรงขึ้นเมื่อรถยนต์แล่นไปที่หน้ามุขของหอประชุม
รอรถที่ป้ายรถเมล์... ไม่นึกว่าจะมีรถมากขนาดนี้ ติดกันตั้งแต่เช้าตรู่ แกจ้องตาไม่กะพริบ เห็นคนคนหนึ่งก้าวลงมาจากรถ แต่ภาพนั้น
แกอายุหกสิบสาม มาเมืองหลวงเป็นครั้งแรกในชีวิต ตื่นแต่เช้าตรู่ ถูกคนบัง เห็นเงาร่างนั้นก้าวเข้าไปในหอประชุมเพียงแวบหนึ่ง ภาพนั้น
และแต่งตัวรอ ลูกสัพยอกว่า “พ่อตื่นเต้นหรือ?” ก็ถูกคนบังอีก
ช่วงเวลาเพียง 10 วินาทีของเหล่าบัณฑิต เป็นช่วงเวลาเดียว แล้ว ยังทรงวิ่งบริหารพระวรกายตามปกติอีกด้วย!
ครั้งแรกของทุกอย่างก็ต้องตื่นเต้นไม่ ใช่หรือ? แกประนมมือขึ้นเหนือหัว
ที่ทำ�ให้พวกเขาได้ใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ผู้ครองแผ่นดิน “ทรงเคยเล่าว่า ในเวลาพระราชทานปริญญาบัตรเช่นนั้น
ตื่นเต้นตั้งแต่เตรียมกระเป๋าเดินทาง ยืมชุดสูท ซื้อรองเท้าคู่ ใหม่
ผ่านการได้รบั พระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์ ...ถือเป็น ทรงสังเกตและทอดพระเนตรเห็นทุกอิรยิ าบถของบัณฑิตทุกคน
จัดของอยู่หลายวันก่อนเดินทาง -4-
ช่วงเวลาสำ�คัญที่ควรจดจำ�ไปตลอดชีวิต เพราะฉะนั้น เมื่อใครชะงักหรือช้าและยังไม่ยื่นมือออกไปรับ
ทิ้งงานที่บ้าน ปิดร้าน นั่งรถไฟชั้นสามมายี่สิบชั่วโมง ลูกออกจากหอประชุมตอนเกือบเย็น แกถามลูก “จะได้รูปเมื่อไหร่?
การพระราชทานปริญญาบัตรนับเป็นพระราชกรณียกิจ พระราชทาน พระเจ้ า อยู่ หั ว ก็ จ ะทรงถื อ ปริ ญ ญาบั ต รรอไว้
ถึงกรุงเทพฯ แล้ว ลูกมารับ พาพ่อไปที่ห้องพัก เพื่อนร่วมห้องของลูก ทันพ่อกลับไหม?”
ต่อสาธารณะลำ�ดับแรกๆ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- และยังไม่พระราชทานจนกว่าบัณฑิตผู้นั้นจะยื่นมือออกไป
กลับไปต่างจังหวัด จึงมีเตียงให้แกนอน “พ่อจะกลับเมื่อไหร่ครับ?”
มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชหลั ง เสด็ จ นิ วั ต ประเทศไทย ทรงเริ่ ม เอางานแล้วนั่นแหละ พระเจ้าอยู่หัวจึงจะพระราชทาน”
“พรุ่งนี้เย็น”
พระราชทานปริญญาบัตรแก่สถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ของรัฐ ซึง่ สาเหตุทที่ �ำ ให้พระองค์มพี ระกิรยิ าสมํา่ เสมอนัน้ เนือ่ งจาก
-2- “ไม่ทันหรอกพ่อ ร้านบอกว่าต้องใช้เวลาอาทิตย์นึง แล้วผมจะส่ง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ในการเสด็จพระราชทานแต่ละ ทรงนำ�วิธีการทำ�สมาธิมาใช้ประยุกต์ในการประทับนั่งในเวลา
ลูกชายพาพ่อขึน้ รถเมล์ คนแน่นรถ แกสังเกตว่าหลายคนมองลูกด้วย ไปให้ทันทีที่ ได้”
ครั้งนั้น พระองค์ต้องประทับนั่งตรงนิ่งอยู่เป็นเวลานานหลาย หลายชั่วโมงนั่นเอง หมายความว่า พระองค์ทรงตระหนักได้ถึง
ความแปลกใจ แต่บางคนก็ยิ้ม ไม่ทุกวันที่พวกเขาเห็นคนสวมชุดครุย “เสียดาย นึกว่าจะเอากลับไปพร้อมกัน”
ชั่วโมงเพื่อพระราชทานปริญญาบัตรให้บัณฑิตที่จบการศึกษา ความปวดเมือ่ ยและไม่สบายพระวรกาย แต่ทรงปล่อยความรูส้ กึ
ขึ้นรถเมล์ แกหวังเพียงว่าชุดครุยจะไม่ยับเพราะเบียดเสียดกัน “พ่ออยากดูวัดพระแก้วไหม? หรือวัดอรุณ?​ ยักษ์วัดแจ้ง หรือจะดู
นับพันคน นั้นไป ไม่ให้ยึดติดกับความรู้สึกนั้น
ระยะทางจากที่พักไปมหาวิทยาลัยห่างกันแค่สองป้ายรถเมล์ แก พระนอนที่ ใหญ่ที่สุดในเมืองไทย พ่อไม่เคยมากรุงเทพฯ”
พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร ซึ่งเคยอารักขาพระบาทสมเด็จ ตามธรรมเนี ย ม หลั ง จากพระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่
บอกว่า “แค่นี้เดินไปก็ ได้” แต่ลูกบอกว่า “ขาพ่อไม่ดี ขึ้นรถเมล์ดีกว่า” “ไม่ล่ะ”
พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 เป็นเวลากว่า 11 ปี เขียนเล่าในหนังสือ เหล่าบัณฑิต พระองค์พระราชทานพระบรมราโชวาทเสมอ
ลูกเข้ากรุงเมื่อห้าปีก่อนเพื่อมาเรียนต่อ เกือบจะต้องสละสิทธิ์แล้ว ไม่ ได้มาเทีย่ ว มาเพื่อดูลกู ในชุดครุย ถ่ายรูปคูก่ บั พระองค์ และถ้าโชคดี
รอยพระยุคลบาท ว่า พระองค์จะทรงรับปริญญาบัตรทีเ่ จ้าหน้าที่ ส่วนใหญ่แล้วมักเป็นข้อความเตือนสติผู้สำ�เร็จการศึกษาให้
หากมิ ใช่เพราะได้รับทุนการศึกษา อาศัยข้าวก้นบาตรต่อชีวิต จนเทอม ได้เห็นพระพักตร์สักแวบ ก็พอใจแล้ว เข้ากรุงครั้งนี้ก็สมหวังทั้งสองอย่าง
ทูลเกล้าฯ ถวาย และพระราชทานให้แก่บัณฑิตด้วยพระกิริยา ตระหนักในภาระหน้าที่ที่คอยอยู่ หลายโอกาสก็เป็นพระบรม-
สุดท้าย งานวิทยานิพนธ์หนักมาก จึงมาเช่าห้องอยู่กับเพื่อน แกไม่เคย ถึงจะเห็นแค่เงาร่างพระองค์เพียงแวบเดียวก็เป็นบุญแล้ว
สมํ่าเสมอ ไม่เปลี่ยนพระอิริยาบถ ไม่มีวี่แววของความง่วง ราโชวาทที่ทรงคุณค่าและสะท้อนถึงความรอบรู้อันลึกซึ้งใน
ส่งเสียลูกสักบาทเดียว ลูกหาเงินมาเรียนเองโดยตลอด พรุ่งนี้ ได้เวลากลับบ้าน
และความเมื่อยล้าเลย มิหนำ�ซํ้าเมื่อเสด็จกลับถึงพระตำ�หนัก ศาสตร์ต่างๆ ของพระองค์เอง
วันที่ลูกบอกว่าเรียนจบแล้ว ลูกบอกว่าจะไม่เข้าร่วมพิธีรับปริญญา
ใน พ.ศ. 2530 มี ผู้ ร วบรวมสถิ ติ ม าว่ า พระองค์ ท รงเริ่ ม
เพราะจะได้ประหยัดเงิน แกบอกว่า “ครั้งนี้อย่าประหยัดเลย ขอสักครั้ง
พระราชทานปริญญาบัตรครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2493 เมื่อนับรวม
เถอะลูก” -5-
ถึงปี พ.ศ. 2529 คำ�นวณได้ว่าเสด็จพระราชทานปริญญาบัตร
ลูกวิ่งมาที่สถานีรถไฟ ยื่นถุงกระดาษให้พ่อ แกดึงสิ่งของภายในถุง heart work 490 ครั้ง ประทับครั้งละ 3 ชม. ทรงยื่นพระหัตถ์พระราชทาน
-3- ออกมา เป็นรูปถ่าย กรอบรูปเป็นไม้เรียบๆ ไม่มีลวดลาย
470,000 ครั้ง นํ้าหนักปริญญาบัตรฉบับละ 3 ขีด รวมนํ้าหนัก
หน้ามหาวิทยาลัยมีคนมากมาย ดอกไม้กับรอยยิ้ม เสียงหัวเราะกับ “ไหนว่าเสร็จไม่ทันไง”
ผมอยากเล่ า เรื่ อ งพระราชทานปริ ญ ญาบั ต รในมุ ม มอง ทั้งหมด 141 ตัน
เสียงนับ “1-2-3” ตอนถ่ายรูป แกสวมสูทที่ยืมมาจากกำ�นัน ใส่แล้วรู้สึก “ผมขอร้องเจ้าของร้านช่วยเร่งให้เมื่อคืน บอกเขาว่าพ่อจะเอารูป ของคนธรรมดา คนเล็กๆ มุมเล็กๆ ฉากเล็กๆ เพื่อแสดงให้เห็น
เรื่องที่น่าทึ่งก็คือ นี่ยังไม่ใช่สถิติล่าสุด! เนื่องจากพระองค์
แปลกๆ เป็นอีก ‘ครั้งแรกในชีวิต’ กลับต่างจังหวัดไปติดฝาบ้าน พูดเท่านี้เขาก็รับปาก ทำ�เสร็จจนได้” พลั ง ของหนึ่ ง ในพระราชกรณี ย กิ จ ของในหลวงต่ อ ชาวบ้ า น
ธรรมดา โครงเรื่ อ งสะท้ อ นเรื่ อ งจริ ง ของผู้ เ ขี ย น และเชื่ อ ว่ า เสด็จพระราชทานปริญญาบัตรด้วยพระองค์เองจนถึงปี พ.ศ.
ลูกยืมกล้องถ่ายรูปเก่าจากเพื่อนคนหนึ่ง วานให้เพื่อนๆ ถ่ายรูปคู่ รถไฟเคลื่อนออกจากสถานี มือจับรูปถ่ายในมือและครุ่นคิดไปตลอด เป็นเรื่องจริงของคนจำ�นวนมากในประเทศนี้เช่นกัน 2540 นั บ รวมเป็ น เวลากว่ า 50 ปี ก่ อ นจะโปรดเกล้ า ฯ ให้
กับพ่อ หน้าคณะที่เรียน ทาง จะติดบนฝาผนังทีห่ น้าบ้าน หรือบนกำ�แพงห้องนอน หรือบนขื่อตำ�แหน่ง
พระราชวงศ์เสด็จแทนพระองค์ในเวลาต่อมา
ครั้นหลังเที่ยง ลูกกับเพื่อนๆ เข้าไปรอในหอประชุม แกนั่งรอใต้ต้นไม้ ใต้พระบรมฉายาลักษณ์... เดี๋ยวก็รู้
วินทร์ เลียววาริณ
ใหญ่ข้างนอก เสียงคุยของคนกลุ่มใหญ่ลอยมาแผ่วๆ แกมองไปรอบตัว อายุ 60 ปี, ชาวสงขลา/กรุงเทพฯ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์, นักเขียนรางวัลซีไรต์
ที่นี่ร่มรื่นดี ไม่เคยฝันว่าวันหนึ่งลูกของแกจะไต่มาถึงจุดนี้ ได้

14 15
ถนนห้วยมงคล

นับจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จ วันหนึ่งในปี พ.ศ. 2495 เมื่อรถยนต์ของพระองค์เกิดเหตุ


พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. มาตกหล่มอยู่บนเส้นทางระหว่างเสด็จพระราชดำ�เนินไปยัง
2493 ซึ่ ง พระองค์ พ ระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ หมู่ บ้ า นห้ ว ยคต ตำ � บลหิ น เหล็ ก ไฟ อำ � เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด
ไว้ ว่ า “เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข แห่ ง ประจวบคีรีขันธ์ เมื่อคณะผู้ติดตามและชาวบ้านแถวนั้นได้
มหาชนชาวสยาม” พระองค์ก็ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ช่วยกันนำ�รถพระทีน่ งั่ ของ
เสด็ จ พระราชดำ � เนิ น เยี่ ย มสภาพความเป็ น อยู่ ข องราษฎร พระองค์ออกจากหล่มจน
ชาวไทยตามพื้ น ที่ ต่ า งๆ ทั่ ว ประเทศไม่ ว่ า เส้ น ทางนั้ น จะ สำ�เร็จ พระองค์ตรัสถาม
ทุรกันดารเพียงใด เหล่าชาวบ้านที่มาช่วยว่า
หมู่ บ้ า นแห่ ง นี้ มี ปั ญ หา
อะไรให้ พ ระองค์ ช่ ว ยได้
บ้าง เหล่าชาวบ้านจึงได้
heart work
กราบบังคมทูลว่า ปัญหา
ใหญ่ ข องหมู่ บ้ า นนี้ คื อ
ท่านพ่อหลวง สร้างทาง ให้ย่างก้าว ไม่มีถนน
เพื่อพวกเรา ท้องถิ่น แผ่นดินนี่ เมื่อที่ใดมีถนน ความเจริญก็จะเข้ามาสู่ที่แห่งนั้น หลังจาก
ทางชีวิต ติดต่อ ก่อเกิดมี
โครงการดี ที่หนึ่ง นึกถึงคุณ... วันนั้นเพียงไม่นาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดุลยเดช ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรถแทร็กเตอร์
รองศาสตราจารย์ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง
อายุ ๕๙ ปี, ชาวนครสวรรค์
ให้กับตำ�รวจพลร่มค่ายนเรศวร อำ�เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี
ข้าราชการ, จิตรกร เข้ า มาดำ � เนิ น การแผ้ ว ถางทางรกและสร้ า งถนนสั ญ จรเข้ า
หมู่บ้าน โดยมีชาวบ้านแถวนั้นเข้ามาช่วยเหลือ เพียงหนึ่งเดือน
ถนนก็ แ ล้ ว เสร็ จ สร้ า งประโยชน์ สุ ข ให้ กั บ ชาวบ้ า นให้ ไ ด้ ใ ช้
เพื่ อ การคมนาคม จากที่ เ คยใช้ เ วลาเป็ น วั น เพื่ อ นำ � สิ น ค้ า
การเกษตรมาขายที่ตลาด ก็เหลือเพียงไม่กี่นาที
พระองค์ พ ระราชทานชื่ อ ถนนแห่ ง นี้ ว่ า ถนนห้ ว ยมงคล
ซึ่งนับเป็นถนนซึ่งเกิดมาจากโครงการพระราชดำ�ริอันดับแรก
ของประเทศไทย และเป็นถนนที่นำ�ไปสู่โครงการอีกจำ�นวน
มากกว่า 4 พันโครงการทั่วประเทศต่อมา

17
พระราชกรณียกิจ
เสด็จเยือนต่างประเทศ

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย-
เดชทรงขึ้ น ครองราชสมบั ติ พระองค์ เ สด็ จ พระราชดำ � เนิ น
เยือนต่างประเทศเพื่อการเจริญพระราชไมตรีระหว่างประเทศ
หลายครั้ง เป็นพระราชกรณียกิจเพื่อความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศที่แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และยังเพื่อเป็นการทำ�ให้ประเทศ
ของเราเป็ น ที่ รู้ จั ก ของชาวโลกอย่ า งกว้ า งขวางมากขึ้ น ด้ ว ย
โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2503 ที่ทรงเริ่มต้นด้วยการเสด็จไปเยือน
ประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซีย (8-16 กุมภาพันธ์), พม่า
(2-5 มีนาคม) ก่อนจะเสด็จฯ ข้ามไปยังโลกฝัง่ ตะวันตกทีป่ ระเทศ
สหรัฐอเมริกา (14 มิถุนายน-14 กรกฎาคม), เยอรมนี (25
กรกฎาคม-2 สิงหาคม), อังกฤษ (19-23 กรกฎาคม), โปรตุเกส
(22-25 สิงหาคม), สวิตเซอร์แลนด์ (29-31 สิงหาคม), เดนมาร์ก
(6-9 กันยายน), นอร์เวย์ (19-21 กันยายน), สวีเดน (23-25
กันยายน), อิตาลีและกรุงวาติกัน (28 กันยายน-1 ตุลาคม),
เบลเยี่ยม (4-7 ตุลาคม), ฝรั่งเศส (11-14 ตุลาคม), ลักเซมเบิร์ก
(17-19 ตุลาคม), เนเธอร์แลนด์ (24-27 ตุลาคม) และปิดท้าย
ที่ประเทศสเปน (3-8 พฤศจิกายน) นับเป็นตารางการเดินทาง
ที่ ย าวนานและเหน็ ด เหนื่ อ ย แต่ ก็ ชั ด เจนว่ า เป็ น การเสด็ จ ฯ
heart work ไปเพื่อทรงประกอบพระราชกรณียกิจอย่างแท้จริง
แต่พอหลังจาก พ.ศ. 2510 พระองค์ก็มิได้เสด็จฯ เยือน
พระราชกรณียกิจเสด็จพระราชดำ�เนินเยือนต่างประเทศ ต่างประเทศอีก ยกเว้นในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2537 ที่เสด็จฯ
ของในหลวง เพื่ อ เจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี คื อ ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ทำ � ให้ เยื อ นประเทศลาวเพื่ อ ทรงเป็ น ประธานในการเปิ ด สะพาน
ทุกวันนี้คนไทยเป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติ เปรียบเสมือน
เส้นทางทีพ่ ระองค์ได้เตรียมไว้เพือ
่ ให้ชาวไทยได้เข้าสูค่ วามเป็น
มิ ต รภาพไทย-ลาวเท่ า นั้ น แต่ พ ระองค์ ยัง โปรดเกล้ า ฯ ฟให้
สากล ดั ง นั้ น จึ ง วาดออกมาในรู ป ของแผนที่ แ สดงเส้ น ทาง พระราชโอรสและพระราชธิดาเสด็จฯ ไปเยือนต่างประเทศแทน
การเสด็จฯ เยือนแต่ละประเทศของพระองค์ เพื่อแลกเปลี่ยนวิทยาการใหม่ๆ และวัฒนธรรมต่อไป
นลพัฐร์ ลี้สมประสงค์
อายุ 20 ปี, ชาวกรุงเทพฯ
นักศึกษาคณะมัณฑนศิลป์

25
เขาชะงุ้ม

หากไม่มีโอกาสได้เห็นภาพถ่ายเมื่อ 30 กว่าปีที่แล้วของ และผสมผสาน ไม่วา่ จะเป็นการใช้หญ้าแฝกสำ�หรับอนุรักษ์ดิน


พืน้ ทีเ่ ขาชะงุม้ อำ�เภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี มาก่อน ก็คงยาก กับนํ้า การขุดอ่างเก็บนํ้าเพื่อกระจายความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่
ที่จะจินตนาการภาพได้ว่าพื้นที่ตั้งของศูนย์การศึกษาฯ แห่งนี้ การปรับสภาพดินด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ กับการปลูกพืช
จะเคยแห้ ง แล้ ง ปลู ก พื ช ผลไม่ ขึ้ น และถู ก ปล่ อ ยให้ ร กร้ า ง คลุ ม ดิ น ค่ อ ยๆ ฟื้ น ฟู ส ภาพแวดล้ อ มไปเรื่ อ ยๆ จนสามารถ
จนเกือบจะกลายเป็นพื้นที่ทะเลทราย ปล่อยให้ป่าฟื้นฟูได้ด้วยตนเอง ตามหลักพระราชดำ�ริ ‘ปลูกป่า
เดิมพื้นที่เขาชะงุ้มเป็นที่ทำ�ฟาร์มปศุสัตว์และปลูกพืชไร่ โดยไม่ต้องปลูก’ จนพื้นที่ป่า 3,633 ไร่ ฟื้นคืนสภาพ ในที่สุด
ที่มีการใช้ดินอย่างผิดวิธีจนหน้าดินเสียหาย ขาดความอุดม พื้นที่โดยรวมของเขาชะงุ้มก็กลับมาเขียวชอุ่มอีกครั้ง มีการ
สมบูรณ์ แต่เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย- เปลี่ ย นแปลงระบบนิ เ วศจากป่ า เต็ ง รั ง เป็ น ป่ า เบญจพรรณ
เดช ได้เสด็จพระราชดำ�เนินมายังพื้นที่แห่งนี้เมื่อปี พ.ศ. 2529 ซึ่งกลายเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าเกือบ 200 กว่าชนิด
พระองค์ ท อดพระเนตรเห็ น ความเสื่ อ มโทรมบนพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ ปัจจุบันภารกิจของโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อม
จึงได้มีพระราชดำ�รัสให้จัดตั้งโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดิน โทรมเขาชะงุ้ม คือการเป็นศูนย์ศึกษาด้านการฟื้นฟูทรัพยากร
เสื่อมโทรมเขาชะงุ้มขึ้นมา โดยดำ�เนินการเป็นดั่งสาขาของ และการพัฒนาด้านการเกษตรต่างๆ อีกทั้งยังแบ่งแต่ละพื้นที่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ของอำ�เภอชะอำ� จังหวัด ในโครงการเป็นแปลงสาธิตโครงการตามแนวพระราชดำ�ริตา่ งๆ
เพชรบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่เสื่อมโทรมที่พระองค์ทรงเคยได้เข้าไปช่วย ของพระองค์ ไม่ว่าจะเป็นการ
แก้ไขฟื้นฟูมาก่อน อนุรักษ์นํ้าและดินด้วยหญ้า
หลั ง จากพสกนิ ก รผู้ ถื อ ครองที่ ดิ น บริ เ วณเขาชะงุ้ ม ได้ แฝก, การสาธิตวิธจี ดั สรรพืน้ ที่
น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินส่วนต่างๆ ให้กับโครงการ งานฟื้นฟูพื้นที่ ตามแบบเกษตรทฤษฎี ใ หม่
เขาชะงุ้มก็เริ่มดำ�เนินขึ้นตามแนวคิดการฟื้นฟูอย่างเป็นระบบ ฯลฯ ที่สำ�คัญพื้นที่ซึ่งเคยแห้ง
ร้างแห่งนี้ก็ยังได้ฟื้นกลับมา
heart work
กลายเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว
สำ � คั ญ อั น หนึ่ ง ของจั ง หวั ด
งานประติมากรรมชิ้นนี้ถูกทำ�ขึ้นมา แล้วนำ�ไปตั้งที่โครงการ
ราชบุรี
เนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เขาชะงุ้ม จังหวัดราชบุรี ในช่วงเวลา ประเด็ น ที่ น่ า ประทั บ ใจ
ที่ทั้งแผ่นดินมืดหม่นและเศร้าหมอง แต่ในความรู้สึกผม ในหลวง ทีส่ ดุ ของเรือ่ งเขาชะงุม้ ก็คอื ไม่นา่ เชือ่ ว่านีค่ อื โครงการทีพ่ ระองค์
ไม่ได้กลายไปเป็นภาพขาวดำ� แต่พระองค์ยง ั คงเป็นสีทส ี่ ว่างสดใส
เด่นชัดที่สุดเสมอในหัวใจ และไม่มีทางเลือนหายจากความทรงจำ�
ได้ ท รงริ เ ริ่ ม ไว้ ข ณะจะมี พ ระชนมายุ 60 พรรษา ...วั ย ที่ ค น
อยากให้พวกเราเห็นในสิ่งที่พระองค์ท่านได้ทรงพยายามทำ�ให้ ส่ ว นใหญ่ คิ ด จะเกษี ย ณและวางมื อ จากการงานอั น ลำ � บาก
พวกเรา และอยากให้พวกเราระลึกถึงพระองค์เสมอ
ทุ ก สิ่ ง ที่ พ ระองค์ ท่ า นได้ เ ริ่ ม ไว้ คื อ สิ่ ง ที่ พ วกเราต้ อ งดู แ ล
แต่ไม่ใช่สำ�หรับพระองค์ กษัตริย์ผู้ซึ่งมีความเป็นอยู่ที่ดีของ
สานต่อ และรักษาไว้ให้ได้ตลอดไป พสกนิกรชาวไทยเป็นภารกิจสำ�คัญในพระราชหฤทัยเสมอมา

วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์
อายุ 45 ปี, ชาวราชบุรี
ศิลปินศิลปาธร สาขาการออกแบบ ปี 2553,
ศิลปินเซรามิก

103

You might also like