You are on page 1of 38

หนังสือรับรอง
ผลงานทางวิชาการ
ข้ าพเจ้ า นายสงั ด หาริ กั น ผู้ อ านวยการโรงเรี ย นทรั พ ย์ อุ ด มวิ ท ยา ขอรั บ รองว่ า หนั งสื อ
อ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่มนี้ เป็นผลงานทางวิชาการของนางปิยะมิตร ไวยะ ตาแหน่ง ครู
วิ ท ยฐานะ ครู ชานาญการ โรงเรี ย นทรั พ ย์ อุ ด มวิ ท ยา ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา
เขต 20 ได้จัดทาขึ้นด้วยตนเองและได้นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจริง
จึงออกหนังสือไว้เพื่อเป็นการรับรองผลงานทางวิชาการ

(นายสงัด หาริกัน)
ครู คศ.3 รักษาการ
ผู้อานวยการโรงเรียนทรัพย์อุดมวิทยา

คานา

หนังสืออ่านเพิ่ม เติม เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และ


วั ฒ นธรรม ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 เล่ ม นี้ จั ด ท าขึ้ น ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนและครูใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียน
ให้มีคุณภาพ ตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่หลักสูตรกาหนด
รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสาคัญตามที่ต้องการทั้งด้าน การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้ทั ก ษะชีวิ ตและการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพั ฒ นานั ก เรี ย นให้มี คุณ ลั กษณะอัน พึ งประสงค์
ทาประโยชน์ ให้แก่สังคม เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมี
ความสุข
หนังสือ อ่านเพิ่มเติม เล่ม นี้ ยึดแนวคิดการจัดการเรีย นรู้ที่เน้นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ใช้หลักการ
ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจตามธรรมชาติของศาสนา และวัฒนธรรม สามารถนาความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยพัฒนานักเรียน แบบองค์รวมบน
พื้นฐานการแบบบูรณาการสู่การเรียนรู้ ที่เน้นให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยกระบวนการที่เน้นการปฏิบัติ
(Active Learning) และเรียนรู้โดย ใช้สมองเป็นฐาน ซึ่งเน้นการเรียนรู้ให้ตรงกั บรูปแบบการเรียนรู้
(Learning Styles) เน้ น ทั ก ษะที่ สร้ างเสริ ม ความเข้ า ใจที่ ค งทนของนั ก เรี ย นซึ่ งผลลั พ ธ์ ป ลายทาง
ที่ต้องการให้เกิด ตามหลักสูตร

ปิยะมิตร ไวยะ
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ

คานิยม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา


ศาสนา และวั ฒ นธรรม ชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 เล่ ม นี้ ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดตามรู ป แบบของหนั ง สื อ
อ่านเพิ่มเติมจานวน 10 เล่ม สมบูรณ์ ชัดเจน และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
อย่างยิ่ง
นางปิย ะมิตร ไวยะ เป็ นครูที่ สอนสังคมศึก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็น เวลานานรู้เห็ น
ปัญ หาอัน เกิ ดจากความไม่ สนใจในด้านการพั ฒ นานั ก เรี ย นในความรั บ ผิด ชอบจึ งได้คิด หาวิ ธี ก าร
แก้ปัญหา โดยได้จัดทาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ขึ้นและนาไปให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจนเกิด
ผลดี ต่อการเรียนรู้และการปฏิบัติ
นางปิยะมิตร ไวยะ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ผลิต คิดค้นนวัตกรรมแปลกใหม่ ทดลองใช้
ตามขั้นตอนจนเชื่อมั่นได้ว่ามีคุณภาพ และนาไปใช้ประกอบการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ได้ดี หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่มนี้ จึงเป็นตัวอย่างที่ดีสาหรับครูผู้สอน และผู้สนใจ
ทั่วไป สามารถนาแนวทางไปพัฒนาปรับปรุงใช้ป ระโยชน์ในการจัดการเรี ยนรู้ของตนได้อย่างเต็ม
ศักยภาพ

(นายสงัด หาริกัน)
ครู คศ.3 รักษาการ
ผู้อานวยการโรงเรียนทรัพย์อุดมวิทยา

คาชี้แจง
1. หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แบ่งเป็นเล่ม จานวน 10 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
เล่มที่ 2 ธรรมคุณ
เล่มที่ 3 อริยสัจ
เล่มที่ 4 อายตนะ
เล่มที่ 5 อกุศลกรรมบถ
เล่มที่ 6 อบายมุข
เล่มที่ 7 สุข
เล่มที่ 8 กัลยาณมิตร
เล่มที่ 9 ดรุณธรรม
เล่มที่ 10 พุทธศาสนสุภาษิต
2. หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แต่ละเล่มมีส่วนประกอบดังนี้
2.1 ชื่อของหนังสืออ่านเพิ่มเติม
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
2.3 เชื่อมโยงเนื้อหา
2.4 แบบฝึกย่อย
2.5 เฉลยแบบทดสอบย่อย
2.6 แบบทดสอบก่อนฝึกและหลังการฝึก
2.7 แบบเฉลยคาตอบของแบบทดสอบก่อนฝึกและหลังแบบฝึก
2.8 แบบประเมินการเรียน

3. หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่มนี้ เรื่อง พระรัตนตรัย
4. การนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม แต่ละเล่มให้ปฏิบัติ ดังนี้
4.1 ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
4.2 ศึกษารายละเอียดของลักษณะของเอกสารประกอบการเรียน-ทีละขั้นทีละหน้า
4.3 นักเรียนทาใบงานในแต่ละกิจกรรมด้วยตนเองเป็นรายบุคคล
4.4 ไม่ควรทาใบงานข้ามขั้นควรทาทีละขั้นทีละหน้า
4.5 ในระหว่างการทาใบงานในแต่ละกิจกรรมนั้นนักเรียน จะต้องมีความซื่อสัตย์
ห้ามเปิดดูแบบเฉลยคาตอบก่อนและถ้านักเรียนมีปัญหาข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจให้สอบถามคุณครูทันที
4.6 ตรวจคาตอบ
4.7 บันทึกคะแนนทันที

สารบัญ

เรื่อง หน้า

หนังสือรับรองผลงานทางวิชาการ........................................................................................... ก
คานา....................................................................................................................................... ข
คานิยม.................................................................................................................................... ค
คาชี้แจง................................................................................................................................... ง
สารบัญ.................................................................................................................................... ฉ
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้.................................................................................. ซ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด.................................................................................................. ฌ
บทบาทของนักเรียน ในการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม................................................................. ญ
บทบาทครู ในการจัดการเรียนรู้.............................................................................................. ฎ
แบบทดสอบก่อนเรียน............................................................................................................ 1
เชื่อมโยงเนื้อหา....................................................................................................................... 3
พระรัตนตรัย........................................................................................................................... 3

กิจกรรมเสริมบทเรียน
กิจกรรมที่ 1 เขียนแผนความคิด เรื่อง พระรัตนตรัย................................................. 16
กิจกรรมที่ 2 ตอบคาถามให้ถูกต้อง........................................................................... 17
แบบทดสอบหลังเรียน............................................................................................................. 19

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
และเฉลยกิจกรรมเสริมบทเรียน กิจกรรมที่ 1, 2...................................................... 21
แบบประเมินพฤติกรรมการเขียนแผนความคิด เรื่อง พระรัตนตรัย........................................ 22
แบบประเมินพฤติกรรมการตอบคาถามให้ถูกต้อง................................................................... 23
เอกสารอ้างอิง......................................................................................................................... 24
ประวัติย่อของผู้จัดทา.............................................................................................................. 25

จุดประสงค์การเรียนรู้
หนังสืออ่านเพิ่มเติม เล่มที่ 5 พระรัตนตรัย
1. ด้านความรู้
- นักเรียนสามารถบอกความหมายพระรัตนตรัยได้
- นักเรียนเข้าใจในคาว่าพระรัตนตรัยและสามารถไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
- นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติตามกิริยาท่าทางพระรัตนตรัยได้อย่างถูกต้อง
3. ด้านเจตคติ
- เห็นคุณค่าและความสาคัญในการฝึกปฏิบัติกิริยามารยาทพระรัตนตรัย
- บอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียนการฝึกปฏิบัติกิริยามารยาทพระรัตนตรัย
- นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
- นาความรู้ด้านการบูรณาการสู่การเรียนรู้ได้

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของสังฆคุณ
2. บอกถึงสังฆคุณหรือคุณพระสงฆ์
3. บอกถึงคุณความดีของพระสงฆ์

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ส 1.1 รู้แล้วเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสนา หลักธรรมพระพุทธศาสนาหรือ


ศาสนาที่ตนนับ ถือและศาสนาอื่น มี ความศรัทธาที่ถูกต้อ ง ยึด มั่น และปฏิบัติ ตามหลักธรรม ทีอ ยู่
ร่วมกันอย่างมีความสุข

ตัวชี้วัด
อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กาหนด เห็นคุณค่าและนาไปพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม

บทบาทของนักเรียน
ในการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ก่ อ นปฏิบั ติกิ จ กรรมในหนั งสื อ อ่ านเพิ่ ม เติ ม เล่ ม ที่ 1 พระรั ต นตรั ย การปฏิ บั ติ นั ก เรี ย น
ควรปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. อ่านคาชี้แจงการใช้ของหนังสืออ่านเพิ่มเติม
2. ศึกษาเนื้อหาในแต่ละเล่มของหนังสืออ่านเพิ่มเติม ให้เข้าใจ ก่อนลงมือปฏิบัติ หากสงสัย
หรือไม่เข้าใจ สามารถขอคาแนะนาจากครูผู้สอนหรือเพื่อนร่วมงาน
3. ทดสอบความรู้ความสามารถในการฝึกปฏิบัติกิริยามารยาทพระรัตนตรัย
4. ทาใบงานเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เวลา 10 นาที
5. นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจ โดยครูและนัก เรียนร่วมกันเฉลย

บทบาทครู
ในการจัดการเรียนรู้

ก่อนใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดพัฒนาการเรียน คุณธรรม จริยธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม


ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ครูควรแนะนาการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมแก่นักเรียน ดังนี้
1. ชี้แจงวิธีการศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจและพร้อมที่จะศึกษา
2. นักเรียนรับหนังสืออ่านเพิ่มเติม อ่านคาชี้แจงการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม เมื่อเข้าใจ ดีแล้ว
จึงเริ่มต้นศึกษาไปตามลาดับ
3. ศึกษาการเรียนการสอนจากหนังสืออ่านเพิ่มเติมเล่มนี้
4. หลังจากศึกษาเนื้อหาในหนังสืออ่านเพิ่มเติม จบแล้วให้นักเรียนฝึกปฏิบัติกิจกรรม
5. ลงมือปฏิบัติใบงาน เพื่อทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (หลังเรียน)
1

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับข้อ ก ข ค และข้อ ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. รัตนตรัย หมายถึงอะไร
ก. แก้วอันประเสริฐ 3 ประการ
ข. ความจริงอันประเสริฐ 3 ประการ
ค. ทางแห่งความสาเร็จ 3 ประการ
ง. ปากทางแห่งความเจริญ 3 ประการ
2. อะไร เรียกว่า “รัตนตรัย”
ก. พระวินัยปิฎก, พระสุตตันตปิฎก, พระอภิธรรมปิฎก
ข. พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์
ค. พระปัญญาธิคุณ, พระบริสุทธิคุณ, พระมหากรุณาธิคุณ
ง. ปริยัติ,ปฏิบัติ, ปฏิเวธ
3. ผู้สั่งสอนให้พุทธบริษัทประพฤติปฏิบัติตามด้วยกาย วาจาและใจเรียกว่าอะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระวินัยปิฎก
4. พระธรรมวินัย หรือคาสั่งสอน ของพระพุทธเจ้า เรียกว่าอะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระสุตตันตปิฎก
5. หมู่ชนที่ฟังคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ประพฤติปฏิบัติตาม เรียกว่า อะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระสุตตันตปิฎก
2

แบบทดสอบก่อนเรียน (ต่อ)
6. ข้อใด ไม่ใช่คุณลักษณะของพระพุทธเจ้า
ก. พระปัญญาธิคุณ ข. พระบริสุทธิคุณ
ค. พระมหากรุณาธิคุณ ง. พระมุทิตาคุณ
7. ข้อใดไม่จัดเข้าในคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์
ก. ปริยัติสัทธรรม ข. ปฏิบัติสัทธรรม
ค. ปฏิบัติสัทธรรม ง. ปฏิวัติสัทธรรม
8. ผู้ที่จะปฏิบัติตามหลักคาสอนของพระพุทธเจ้า ต้องมีลักษณะเป็นเช่นไร
ก. เป็นพระเท่านั้น ข. เป็นอุบาสก-อุบาสิกา
ค. เป็นพุทธศาสนิกชนทั่วไป ง. ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ทุกภาษา
9. นักเรียนควรบูชาพระรัตนตรัย ด้วยวิธีการใดเหมาะสมที่สุด
ก. สวดมนต์ทุกวันก่อนนอน
ข. สวดมนต์ทุกเช้า หลังเคารพธงชาติ
ค. ซื้อหนังสือธรรมะเข้าไว้ในห้องสมุด
ง. ศึกษาหลักพระรัตนตรัยแล้วนามาปฏิบัติตาม
10. บุคคลเช่นไร ไม่ได้ ชื่อว่า ปฏิบัติตามหลักคาสอนของพระพุทธเจ้า
ก. เด็กชายสุรชาติศึกษาและปฏิบัติธรรมะอย่างถ่องแท้
ข. เด็กหญิงรุ่งฤดีรักษาหนังสือธรรมะโดยการนาไปบริจาคห้องสมุดประชาชน
ค. เด็กชายสมชาย รักษาศีล 8 ทุกวันพระ
ง. เด็กหญิงรุ่งนภา นั่งสมาธิหวังเพื่อให้บรรลุนิพพาน
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3

เชื่อมโยงเนื้อหา
พระรัตนตรัย

พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยคืออะไรใครรู้ไหมหนา
ใครรู้ให้ตอบมาอย่าช้าเนิ่น
ตอบให้หมดอย่าพลาดอย่าขาดเขิน
ใครตอบได้ขอเชิญให้ตอบมา
4

ตอบไม่ได้จะไขให้รู้แจ้ง
รัตนะเหมือนแสงแห่งคุณค่า
แปลว่า “แก้วอันประเสริฐ” เลิศราคา
คือคุณธรรมล้าค่าที่ควรครอง
5

“ตรัย” หมายถึงสามงามล้าเลิศ
สิ่งประเสริฐสามประการอันผุดผ่อง
คือ พระพุทธ ธรรม สงฆ์ มั่งคงครอง
ให้เราผองศึกษาตามงามชีวา
6

พระพุทธ นั้นคือองค์พระพุทธเจ้า
ที่ทรงสอนพวกเราให้รู้ค่า
ให้รู้ชอบรู้ดีที่ผ่านมา
ให้รู้ว่าทาอย่างไรให้ได้ดี
7

ทรงเป็นศาสดาเอกของโลก
ทรงนาโชคนาชัยให้ทุกที่
ทรงประกาศศาสนาทรงพาที
ทรงเปิดเผยธรรมที่บรรลุ
8
ทรงเป็นครูผู้สอนชนให้พ้นทุกข์
ทรงปรับยุคร้อนเข็ญไม่เข่นฆ่า
ทรงนาธรรมนาไทไล่อัตตา
ทรงปราบพาลตัณหาประชาชน
9

ทรงฉุดโลกให้พ้นจากวัฏฏะ
ทรงแบกรับภาระเป็นผู้ขน
พายเรือพามนุษย์ปุถุชน
ให้ข้ามพ้นห้วงเหวเช่นเปลวเพลิง
10

จึงทรงนามบรมครูผู้ฉุดโลก
ให้หายโศกที่ปล่อยใจให้ไหลหลง
เมื่อพบธรรมกลับชื่นและรื่นเริง
เป็นบันเทิงในธรรมตามสัมมา
11

พระธรรม นั้นคือคาสั่งสอน
พุทธชินวรสอนรู้ค่า
สอนรู้ชั่วรู้ดีมีราคา
สอนให้รู้มรรคาหาทางไป
12

“แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์”
ทั้งหมดนั้นคือข้อธรรมนาขานไข
ให้ผองชนปฏิบัติขัดจิตใจ
เพื่อนาตนพ้นภัยไปนิพพาน
13

พระสงฆ์ คือสาวกของพระองค์
ที่ดารงตามพระธรรมคาสอนท่าน
นาธรรมะที่พระองค์ทรงประทาน
ภิกขาจารสอนผู้คนบนแผ่นดิน
14

สงฆ์คือเนื้อนาบุญของชาวพุทธ
ท่านช่วยฉุดจิตวิญญาณทุกฐานถิ่น
ให้คนได้รู้ธรรมนาชีวิน
รู้ทามาหากินตามครองธรรม
15

ที่กล่าวมาเรียกว่า “พระรัตนตรัย”
หรือ “พระไตรรัตน์” ก็ใช่ให้ค่าล้า
จงบูชาปฏิบัติชัดประจา
และยึดนาเป็นสรณะประจาใจ
16

กิจกรรมเสริมบทเรียน
กิจกรรมที่ 1 เขียนแผนที่ความคิด เรื่อง พระรัตนตรัย

คาชี้แจง แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อช่วยกันคิด วิเคราะห์ และเขียนแผนที่ความคิด


ตามหัวข้อ “เรื่อง พระรัตนตรัย” ส่งผลงานให้ครูตรวจ และนาเสนอหน้าชั้นเรียน

……………………………………………………… ………………………………………………………
……………………………………………………… ………………………………………………………
……………………………………………………… ………………………………………………………

เรื่อง พระรัตนตรัย

……………………………………………………… ………………………………………………………
……………………………………………………… ………………………………………………………
……………………………………………………… ………………………………………………………
สมาชิกกลุ่ม…………….
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
17

กิจกรรมเสริมบทเรียน
กิจกรรมที่ 2 ตอบคาถามให้ถูกต้อง

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามที่กาหนดให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด

1. นักเรียนคิดว่า “ถ้าเมืองไทยไม่มีศาสนา” จะเป็นอย่างไร เพราะอะไร


................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า ถ้าไม่มีพระสงฆ์จะเป็นอย่างไร เพราะอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. นักเรียนคิดว่า ถ้าไม่มีพระพุทธเจ้าจะมีพระธรรมคาสอนหรือไม่ เพราะอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. คาว่า “รัตนะ” แปลว่าอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5. คาว่า “ตรัย” แปลว่าอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
18

6. คาว่า “พระรัตนตรัย” หมายถึงอะไร


................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
7. คาว่า “พระพุทธ” หมายถึงอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
8. คาว่า “พระธรรม” หมายถึงอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
9. คาว่า “พระสงฆ์” หมายถึงอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
10. ในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธเราควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะถือว่าเป็นชาวพุทธที่ดีได้
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
19

แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับข้อ ก ข ค และข้อ ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. บุคคลเช่นไร ไม่ได้ ชื่อว่า ปฏิบัติตามหลักคาสอนของพระพุทธเจ้า


ก. เด็กชายสุรชาติศึกษาและปฏิบัติธรรมะอย่างถ่องแท้
ข. เด็กหญิงรุ่งฤดีรักษาหนังสือธรรมะโดยการนาไปบริจาคห้องสมุดประชาชน
ค. เด็กชายสมชาย รักษาศีล 8 ทุกวันพระ
ง. เด็กหญิงรุ่งนภา นั่งสมาธิหวังเพื่อให้บรรลุนิพพาน
2. นักเรียนควรบูชาพระรัตนตรัย ด้วยวิธีการใดเหมาะสมที่สุด
ก. สวดมนต์ทุกวันก่อนนอน
ข. สวดมนต์ทุกเช้า หลังเคารพธงชาติ
ค. ซื้อหนังสือธรรมะเข้าไว้ในห้องสมุด
ง. ศึกษาหลักพระรัตนตรัยแล้วนามาปฏิบัติตาม
3. ผู้ที่จะปฏิบัติตามหลักคาสอนของพระพุทธเจ้า ต้องมีลักษณะเป็นเช่นไร
ก. เป็นพระเท่านั้น ข. เป็นอุบาสก-อุบาสิกา
ค. เป็นพุทธศาสนิกชนทั่วไป ง. ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ทุกภาษา
4. ข้อใดไม่จัดเข้าในคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพระสงฆ์
ก. ปริยัติสัทธรรม ข. ปฏิบัติสัทธรรม
ค. ปฏิบัติสัทธรรม ง. ปฏิวัติสัทธรรม
5. ข้อใด ไม่ใช่คุณลักษณะของพระพุทธเจ้า
ก. พระปัญญาธิคุณ ข. พระบริสุทธิคุณ
ค. พระมหากรุณาธิคุณ ง. พระมุทิตาคุณ
20

แบบทดสอบหลังเรียน (ต่อ)
6. หมู่ชนที่ฟังคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ประพฤติปฏิบัติตาม เรียกว่า อะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระสุตตันตปิฎก
7. พระธรรมวินัย หรือคาสั่งสอน ของพระพุทธเจ้า เรียกว่าอะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระสุตตันตปิฎก
8. ผู้สั่งสอนให้พุทธบริษัทประพฤติปฏิบัติตามด้วยกาย วาจาและใจเรียกว่าอะไร
ก. พระพุทธเจ้า ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์ ง. พระวินัยปิฎก
9. อะไร เรียกว่า “รัตนตรัย”
ก. พระวินัยปิฎก, พระสุตตันตปิฎก, พระอภิธรรมปิฎก
ข. พระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ์
ค. พระปัญญาธิคุณ, พระบริสุทธิคุณ, พระมหากรุณาธิคุณ
ง. ปริยัติ,ปฏิบัติ, ปฏิเวธ
10. รัตนตรัย หมายถึงอะไร
ก. แก้วอันประเสริฐ 3 ประการ
ข. ความจริงอันประเสริฐ 3 ประการ
ค. ทางแห่งความสาเร็จ 3 ประการ
ง. ปากทางแห่งความเจริญ 3 ประการ

ชื่อ...................................................นามสกุล.......................................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
21

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
เฉลยกิจกรรมเสริมบทเรียน กิจกรรมที่ 1, 2
ก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อ ตอบ ข้อ ตอบ
1 ก 1 ง
2 ข 2 ง
3 ก 3 ค
4 ข 4 ง
5 ค 5 ง
6 ง 6 ค
7 ง 7 ข
8 ค 8 ก
9 ง 9 ข
10 ง 10 ก

เฉลยกิจกรรมเสริมบทเรียน
กิจกรรมที่ 1, 2 อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
22

แบบประเมินพฤติกรรมการเขียนแผนความคิด เรื่อง พระรัตนตรัย

คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมผู้เรียนในการเขียนแผนที่ความคิด เรื่อง พระรัตนตรัย


โดยให้คะแนนตามเกณฑ์ จากรายการประเมินโดยกาเครื่องหมาย X ลงในช่อง
แบบประเมินดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก 4 คะแนน ดี 3 คะแนน พอใช้ 2 คะแนน ปรับปรุง 1 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน ผ่านการประเมินระดับคุณภาพทุกรายการต้องได้ระดับ 2 ขึ้นไป
ถ้าได้ระดับ 1 ครูผู้สอนต้องสอนซ่อมเสริม

ข้อ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ


4 3 2 1
1 แสดงความคิดและเขียนแผนที่ความคิดด้วยความตั้งใจ
2 มุ่งมั่นที่จะเขียนแผนที่ความคิดอย่างสร้างสรรค์
3 ผลงานมีเหตุผลอย่างน่าเชื่อถือ และเป็นตัวอย่างได้
4 มีมารยาทในการคิด อ่าน และเขียนแผนที่ความคิด
5 นาความรู้ที่ได้รับสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมคะแนน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้ประเมิน
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ปิยะมิตร ไวยะ
ผู้ประเมิน
23

แบบประเมินพฤติกรรมการตอบคาถามให้ถูกต้อง

คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมผู้เรียนในการตอบคาถามให้ถูกต้อง โดยให้คะแนนตามเกณฑ์


จากรายการประเมินโดยกาเครื่องหมาย X ลงในช่องแบบประเมินดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก 4 คะแนน ดี 3 คะแนน พอใช้ 2 คะแนน ปรับปรุง 1 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน ผ่านการประเมินระดับคุณภาพทุกรายการต้องได้ระดับ 2 ขึ้นไป
ถ้าได้ระดับ 1 ครูผู้สอนต้องสอนซ่อมเสริม

ข้อ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ


4 3 2 1
1 ตอบคาถามได้ถูกต้อง
2 ตอบคาถามได้ใจความที่สมบูรณ์
3 กระตือรือร้นที่จะตอบคาถาม
4 มีการคิด วิเคราะห์ วางแผนก่อนตอบคาถาม
5 ตอบคาถามด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจ
รวมคะแนน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของผู้ประเมิน
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
ปิยะมิตร ไวยะ
ผูป้ ระเมิน
24

เอกสารอ้างอิง
จรัส พยัคฆราชศักดิ์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2551.
.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วัฒนาพานิช, 2550.
โชติ จินตแสวง. 38 มงคล. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์
ราชวิทยาลัย, 2553.
ดนัย ไชยโยธา. ศัพทานุกรมพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2545.
นพดล ขวัญชนะภักดี. หนังสือพระพุทธศาสนา ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
สานักพิมพ์ประสานมิตร, 2550.
พระธรรมโกศาจารย์. มงคลชีวิต หลักปฏิบัติมงคล 38 ประการของคนดี. กรุงเทพฯ :
ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, 2552.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2550.
วิโรจน์ พิศเพ็ง. เล่าเรื่องชาดก 50 เรื่อง. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ดวงแก้ว, 2551.
วิทย์ วิศทเวทย์และเสถียรพงษ์ วรรณปก. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พระพุทธศาสนา ม. 1. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์, 2551.
25

ประวัติย่อของผู้จัดทำ

ชื่อ – นำมสกุล นางปิยะมิตร ไวยะ


เกิดเมื่อวันที่ 10 เดือน กันยายน พ.ศ. 2515
สถำนที่อยู่ 2/2 หมู่ 17 ต.บ้านจันทร์ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี 41190
ตำแหน่งหน้ำที่กำรงำน ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
สถำนที่ทำงำนปัจจุบัน โรงเรียนทรัพย์อุดมวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี 41190
โทรศัพท์ 098-7968495
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3

ประวัติกำรศึกษำ
พ.ศ. 2530 มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี
พ.ศ. 2533 มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี
พ.ศ. 2539 ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกสังคมศึกษา สถาบันราชภัฎเลย อ.เมือง จ.เลย
พ.ศ. 2555 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
กรุงเทพฯ

You might also like