You are on page 1of 2

วิศวกรรมอากาศยาน

เปนสาขาที่เกีย่ วกับหลักการทํางานและการออกแบบของอากาศยานและยานอวกาศ
รวมถึงทฤษฎีของระบบทีเ่ กีย่ วของ โดยอาศัยความรูทางดาน

- อากาศพลศาสตร (Aerodynamics) ซึ่งศึกษาการไหลของของไหล (fluid) หรืออากาศ


(air) รอบ ๆ วัตถุ เชน ปก เครื่องยนต หรือตัวอากาศยาน ซึ่งผลตอแรงยก (lift) และแรงฉุด
(drag) ของวัตถุนั้น ไมวาจะเปนการศึกษาโดย การทดลอง เชน การทดลองในอุโมงคลม และ
ทางทฤษฎี เชน การคํานวณวิเคราะห (Analytical computation) หรือ การจําลองดวย
คอมพิวเตอร (Computational simulation)

- การขับเคลื่อน (Propulsion) เปนการศึกษาเกี่ยวกับพลังงานที่ใชเคลื่อนยานพาหนะผาน


อากาศ (หรืออวกาศ) ซึ่งอาจจะโดยเครือ่ งยนตเผาไหมภายใน (internal combustion engine),
เครื่องยนตเจท (jet engine), จรวด (rocket engine) หรือ การขับเคลื่อนดวยไอออน (ion
propulsion)

- การควบคุม (Control) หรือ พลศาสตรการบิน (Flight Dynamics) เปนการศึกษาการ


ควบคุมบังคับอากาศยานเพื่อใหอยูในความตําแหนง, ความสูง, ความเร็ว, และความเรงที่
ตองการอยางมีเสถียรภาพ

- การนํารองและการควบคุม (Guidance and Control) เปนการศึกษาระบบนําทางและ


เครื่องชวยในการเดินอากาศของอากาศยานหรือยานอวกาศ ใหเคลื่อนที่หรืออยูในตําแหนงที่
ตองการ

- โครงสราง (Structure) เปนการศึกษาการออกแบบโครงสรางทางกายภาพของอากาศ


ยาน การเลือกใชวัสดุที่มีคณ
ุ สมบัติตางๆ กัน เพื่อใหสามารถทนตอแรงที่กระทําระหวางการบิน

- วัสดุศาสตร (Material) เปนการศึกษาเกีย่ วกับวัสดุสําหรับการสรางอากาศยาน

- การยืดหยุนทางอากาศ (Aeroelasticity) – ปฏิสัมพันธของแรงทางอากาศพลศาสตร กับ


ความยืดหยุนของโครงสรางอากาศยาน
- การออกแบบอากาศยาน (Aircraft Design) เปนการศึกษาการออกแบบอากาศยานโดย
อาศัยหลักความรูขางตน เพื่อสรางอากาศยานใหมีสมรรถนะ (Performance) พิสัยการบิน
(Range) ความจุ (Capacity) ความแข็งแรงของโครงสราง ตามที่กําหนด

You might also like