You are on page 1of 2

บทที่ 1

1.1 ที่มาและความสาคัญ
การแสดงดนตรี ต่อหน้าสาธารณะชน เป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดสาหรับการประกอบอาชีพนักดนตรี ในทาง
ศิลปะด้านโสตนั้น แน่ นอนว่าความสาคัญของการแสดงคือ เสี ยงดนตรี ที่ถูกบรรเลงออกมาผ่านเครื่ อ งดนตรี
ดนตรี ในโลกนี้มีความหลากหลายมีความแตกต่างกัน และมีความเฉพาะตัวดังนั้นการศึกษาดนตรี ในแต่ละแนว
นั้นต้องศึกษาอย่างจริ งจัง เพือ่ ให้สามารถแสดงดนตรี ออกมาได้สมบูรณ์ และตรงตามแนวทางของดนตรี น้ นั ๆ
ในบรรดาดนตรี แต่ละแนวนั้น ดนตรี แจ๊ส เป็ นดนตรี ที่มีความน่ าสนใจเป็ นอันดับต้นๆ เนื่ อ งจากมี
ความเป็ นมาอันยาวนาน และผูแ้ สดงดนตรี แนวนี้ จะต้องมีความรู ้ มีทกั ษะ มีความสามารถสูงมากจึงจะบรรเลง
ดนตรี แจ๊สออกมาให้ผชู ้ ม ผูฟ้ ั งได้รับรู ้ถึงสุ นทรี ยศาสตร์ของดนตรี แจ๊สอย่างเต็มที่ ดนตรี แจ๊ส เป็ นดนตรี ที่ผู ้
บรรเลงแต่ละคน จะมีช่วงที่ตอ้ งแสดงทักษะในการบรรเลงนัน่ ก็คือช่วงของการด้นสด (Improvisation) ซึ่งเป็ น
เอกลักษณ์ของดนตรี แจ๊สที่ผคู ้ นหลงใหลมาอย่างยาวนาน เพราะการบรรเลงด้วยวิธีน้ ี ทาให้ศิลปิ นแต่ละบุคคลมี
คุ ณลักษณะเฉพาะเป็ นของตัวเอง เนื่ อ งจากจะต้อ งมี การด้นสด ดังกล่ าวทาให้ศิล ปิ นผูบ้ รรเลงเพลงแจ๊สนั้น
จะต้องมีความรู ้ครอบคลุมในส่วนของทฤษฎีดนตรี แจ๊ส จะต้องรู ้ว่าในทางเดินคอร์ดที่ดาเนิ นอยูน่ ้ นั จะสามารถ
ใช้โน้ตตัวไหนเข้ามาบรรเลงได้ แล้วอารมณ์ของเพลงนั้นจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร จะต้องรู ้วา่ เมื่อมีการเรี ยบ
เรี ยงเสียงประสานใหม่ (Reharmonization) แล้วจะต้องเล่นโน้ตตัวไหน อย่างไร ให้ตรงกับอารมณ์ ความรู ้สึกที่
ต้องการสื่อสารให้ผฟู ้ ัง
ในดนตรี แจ๊ส มีเครื่ องดนตรี อยูช่ นิ ดหนึ่ งที่มีความน่ าสนใจ เพราะเป็ นเครื่ องดนตรี ที่สามารถเล่นทั้ง
ท่วงทานอง(Melody) และประสานเสียง(Harmony) นัน่ คือเปี ยโน(Piano) เปี ยโนเป็ นเครื่ องดนตรี ที่ถูกพัฒนามา
จาก ฮาร์พซิ คอร์ด โดย บาร์โธโลมิโอ คริ สโตโฟรี (Bartolomeo Cristofori) ในเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี
เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภทลิ่มนิ้ว มีกลไกในการใช้คอ้ นเคาะลงบนสายโลหะ เพือ่ ให้เกิดเสียง เปี ยโนแตกต่างจาก
เครื่ องดนตรี ในตระกูลเดียวกันตรงที่สามารถเล่นในความเข้มเสียง (Dynamic) ที่แตกต่างกันได้ โดนจะขึ้นอยูก่ บั
น้ าหนักการกดลงไปบนลิ่มเปี ยโน
เปี ยโนถู ก น าเข้า มาใช้ใ นวงดนตรี แ จ๊ ส ครั้ งแรกถู ก น ามาเล่ น ในดนตรี แ ร๊ ก ไทม์ (Ragtime) โดย
สก๊อต จ๊อบปลิ้น (Scott Joplin) ซึ่งดนตรี แร๊กไทม์น้ ี เองที่เป็ นต้นกาเนิดของดนตรี แจ๊สที่จะถูกพัฒนาต่อไป ใน
ยุคต่อมามีนักเปี ยโนแจ๊สอีกหลายคน โดยผูศ้ ึกษาได้เลือกที่จะทาการศึกษาคีตปฏิภาณของ เฮอร์บ้ ี แฮนคอร์ค
(Herbie Handcock) ในยุค Fusion Jazz รวมไปถึ งศึกษาสังคีต ปฏิ ภาณของนักดนตรี ที่ เล่ น เครื่ อ งเป่ าอย่า ง ชาร์ ลี
ปาร์ ค เกอร์ (Chalie Parker) ในยุ ค Bebop ในบทเพลง There will never be another you by Harry Warren,
Yardbird by Charie Parker, Cantaloupe Island by Herbie Hancock, Watermelon Man by Herbie Handcocrk
ผูจ้ ดั ทา เกิดความสนใจที่จะศึกษาการบรรเลงเปี ยโนแจ๊ส จากศิลปิ นที่มีชื่อเสียง เพือ่ เป็ นการเสริ มสร้าง
ความเป็ นศิลปิ น และการนักดนตรี อาชี พ โดยที่ผจู ้ ดั ทาจะศึกษาโดยมี จุดประสงค์ที่จะค้นหาแนวทาง และ
วิธีการที่มีประสิ ทธิภาพในการที่จะศึกษา และเตรี ยมตัวแสดงดนตรี แจ๊ส เพื่อสร้างความสุ นทรี ยใ์ ห้กับ ผูฟ้ ั ง
ได้รับรู ้อย่างดีที่สุด
1.2 จุดประสงค์ของการทาบัณฑิตนิพนธ์
1.2.1 เพือ่ ศึกษาแนวทางการบรรเลงดนตรี ไว้เป็ นประสบการณ์ในการประกอบอาชีพนักดนตรี อาชีพ
1.2.2 เพือ่ ค้นหาแนวทาง วิธีการเตรี ยมตัว ฝึ กซ้อม ก่อนทาการแสดงดนตรี แจ๊ส ต่อหน้าสารธารณชน
1.3 ตัวแปร
ตัวแประต้น แนวทางการเตรี ยมตัว ฝึ กซ้อม ก่อนทาการแสดงดนตรี แจ๊ส
ตัวแปรตาม ผลตอบรับจากผูช้ ม ที่เข้าร่ วมชมการแสดงดนตรี แจ๊ส
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 แนวทางการเตรี ยมตัว ฝึ กซ้อม ก่อนทาการแสดงดนตรี แจ๊ส ทาให้สามารถทาการแสดงดนตรี
แจ๊สได้
1.4.2 แนวทางการเตรี ยมตัว ฝึ กซ้อม ก่อนทาการแสดงดนตรี แจ๊ส ได้รับผลตอบรับที่ดีจากผูช้ ม ที่เข้า
ร่ วมชมการแสดงดนตรี แจ๊ส

You might also like