You are on page 1of 4

ระบบการกํากับดูแลกิจการขนสงทางอากาศ

คงจะมีหลายคนที่สงสัยวา ทําไมเครื่องบินที่บินอยูบนทองฟาทั้งที่เปนเครื่องบินขนาดใหญและขนาดเล็ก
จึงสามารถบินอยูไดอยางปลอดภัยโดยไมเกิดอุบัติเหตุชนกัน เครื่องบินบางลํามีขนาดใหญมากสามารถบรรทุก
ผูโดยสารไดมากกวา 500 คน ในขณะที่บางลํามีขนาดเล็กมากสามารถบรรทุกผูโดยสารไดเพียง 2 – 3 คน เทานั้น
เครื่องบินบางลําบินไดเร็วมาก กลาวไดวาเปน 2 เทาของความเร็วของเสียง ในขณะทีบ่ างลําบินไดไมเร็วนักเพียง 2
เทาของความเร็วรถยนตเทานั้น นอกจากนีย้ ังมีคําถามอีกวา ทําไมสายการบินจึงบินไดเฉพาะในประเทศ ในขณะที่
สาบการบินอื่นๆ สามารถทําการบินระหวางประเทศได ใครเปนผูดูแลรับผิดชอบการทําการบินของเครื่องบิน
เหลานี้ สิ่งที่กลาวมาเหลานี้เปนเพียงตัวอยางเล็กนอยของคําถามที่เกิดขึ้น
โดยแทจริงแลวกอนสงครามโลกครั้งที่ 1 ไมมีระบบกํากับดูแลระบบหนึ่งระบบใดทีน่ ํามาใชอยางชัดแจง
อาจเปนเพราะในชวงเวลานัน้ มีเครื่องบินบินอยูไมมากนัก ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 ทุกๆ ประเทศโดยเฉพาะ
ประเทศมหาอํานาจพยายามอยางยิ่งในการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องบิน มีการนําทรัพยากรทั้งทรัพยากร
บุคคล วัตถุดิบ และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เขามาใชเปนจํานวนมาก จนอาจกลาวไดวาในระหวางสงครามโลกนั้น
ประเทศมหาอํานาจทั้งหลาย มีการจางงานอยางเต็มที่ ภายหลังสงครามโลกเมื่อสถานการณกลับคืนสูปกติจึงเปน
การยากที่รัฐบาลจะธํารงการจางงานอยางเต็มที่นั้นไว สิ่งที่รัฐบาลจะทําไดอยางงายทีส่ ุด คือ ไมปดโรงงานประกอบ
เครื่องบิน แตะดัดแปลงเปนโรงงานผลิตเครื่องบินพลเรือนแทน จึงทําใหภายหลังสงครามโลกมีจํานวนเครื่องบิน
เพิ่มขึ้นอยางมากมาย ทําการบินทั้งภายในและระหวางประเทศ กอใหเกิดปญหาในโลกการบินที่สําคัญ คือ ปญหา
ดานความปลอดภัยและความมั่นคง โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยนั้นเครื่องชวยการเดินอากาศยังมิไดรับการพัฒนา
อยางจริงจัง

วงจรการกํากับดูแล
กระบวนการกํากับดูแลจะเริม่ ตนจากการอนุญาต และดําเนินตอไปนี้
- การอนุญาตพรอมเงื่อนไข
- การกํากับดูแลใหมีการดําเนินการตามการอนุญาตพรอมเงื่อนไข
- การตรวจสอบการปฏิบัติการบินเพื่อใหเปนไปตามการอนุญาตพรอมเงื่อนไข
- การปรับปรุงเงื่อนไขแนบในรอบตอๆ ไป

สํานักกํากับกิจการขนสงทางอากาศไดใชแนวทางดังกลาวขางตน ซึ่งมีลักษณะเปนกระบวนการในการ
กํากับดูแลการขนสงทางาอากาศของประเทศ เพื่อที่จะทําหนาที่รับผิดชอบดานการกํากับดูแลการขนสงทางอากาศ
ไดอยางเต็มที่ สํานักฯจึงไดแบงสวนงานภายในออกเปน 5 สวนดังรายชื่อตอไปนี้
1. สวนการเดินอากาศภายในประเทศ มีหนาที่รับผิดชอบในดานการออกใบอนุญาตประกอบกิจการคาขาย
ในการเดินอากาศใหแกผูประกอบการของไทย รวมถึงใบอนุญาตดําเนินการดวยการเรียกเก็บอัตราคาโดยสารและ
คาระวางสินคาจะไดรับการพิจารณาศึกษาวิเคราะหจากสวนงานนี้กอนนําเสนอพรอมขอคิดเห็นไปยังคณะกรรมการ
การบินพลเรือนเพื่ออนุมัติ สวนงานนี้จะกํากับดูแลผูประกอบการของไทยใหสอดคลองกับขอกฎหมายและเงื่อนไข
ที่แนบ
2. สวนความตกลงและเจรจาสิทธิการบิน มีหนาที่รับผิดชอบดานการศึกษาวิเคราะหและจักเตรียมการใน
เรื่องตางๆ เกี่ยวกับการเจรจาระดับเจาหนาที่การเดินอากาศกับรัฐบาลตางประเทศ เพือ่ ใหบรรลุการจัดทําความตกลง
ทวิภาคีวาดวยการบริการเดินอากาศ หรือการแกไขปรับปรุงความตกลงฯ ทั้งนี้เพื่อใหสายการบินของแตละฝาย
สามารถทําการบินระหวางประเทศไดภายใตสิทธิการบินหรือกรอบการอนุญาตที่ไดมกี ารตกลงไวลว งหนาแลว
โดยปกติหรือเจาหนาทีห่ รือผูแทนจากสวนงานนี้จะทําหนาที่เปนเสมือนฝายเลขานุการของคณะเจรจาดานการบิน
3. สวนการจัดสรรเสนทางบินและสิทธิการบิน มีหนาทีร่ ับผิดชอบดานการจัดสรรเสนทางบินทั้งภายใน
และระหวางประเทศ รวมถึงสิทธิการบิน (ความถี่/ความจุ) ใหแกผูประกอบการของไทย
4. สวนการเดินอากาศระหวางประเทศ มีหนาที่รับผิดชอบดานการอนุญาตดานการทําการบินพรอม
เงื่อนไขแนบใหแกบริษัท / สายการบินตางประเทศที่ทําการบินมายังประเทศไทย สวนงานนี้กาํ กับดูแล
ผูประกอบการตางประเทศใหสอดคลองกับความตกลงระหวางประเทศทั้งสองและกฎหมายภายในของไทย
5. สวนตรวจการขนสงทางอากาศ มีหนาทีร่ ับผิดชอบดานการตรวจสอบการปฏิบัติของผูประกอบการทั้ง
ของไทยและตางประเทศวาไดปฏิบัติการบินเปนไปตามขอกฎหมาย ความตกลงระเบียบขอบังคับ รวมทั้งการ
อนุญาตพรอมเงื่อนไขที่แนบ ซึ่งกําหนดขึน้ โดยสวนงานอืน่ ๆ ที่กลาวมาขางตน
นอกจากนี้ สํานักยังมีหนาทีป่ ระสานการกํากับดูแลกับหนวยงานที่เกี่ยวของหนวยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชน เพื่อใหวงจรการกํากับดูแลสมบูรณ กลาวคือ สํานักจะประสานงานและรวมมือกับบริษัท ทาอากาศยานไทย
จํากัด (มหาชน) , บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด และกองทัพอากาศ และผูอํานวยการสํานักตองทํา
หนาที่ผูชวยเลขานุการของคณะกรรมการการบินพลเรือนดวย

แนวทางการกํากับดูแลการขนสงทางอากาศในอนาคต
นโยบายเปดนานฟาเสรี นโยบายเนนเปดเสรีตามภูมิภาค ความตกลงลักษณะ Plurilateral หรือแมแต
กระทั่งความตกลงแบบทวิภาคี ก็เปนสิ่งทีจ่ ะถูกนํามาใชในระบบการกํากับดูแลของศตวรรษที่ 21 แตเมื่อใดก็ตามที่
มีการเลือกรูปแบบการเปดเสรีแลว การขนสงทางอากาศจะตองถือปฏิบัติเชนเดียวกันทั่วโลก เพราะอุตสาหกรรมนี้
มีผลกระทบไปทั่วโลก
ในปจจุบนั รัฐบาลอีกหลายประเทศทั่วโลกไมปรารถนาจะเปนเจาของหรือเปนผูจัดการสายการบินอีก
ตอไป จึงดําเนินโครงการใหเอกชนเขามาถือหุน ลํายายามดําเนินการใหสายการบินเปนองคกรธุรกิจที่แทจริง
เครื่องมือทางการตลาดตางๆ เชน Code Sharing (วิธีการดานการตลาดที่จะขยายการใหบริการของสายการ
บินในตลาดใหมๆ โดยไมตอ งดําเนินการเอง) พันธมิตร (วิธีที่จะทําใหขอบขายการใหบริการเปนไปอยางตอเนื่อง
ไมสิ้นสุด) เปนตน ไดถูกนํามาใชอยางแพรหลายในอุตสาหกรรมการบิน จนถึงขั้นทีว่ า ผูโดยสารสามารถซื้อบัตร
โดยสารที่ระบุการเดนทางหลายจุดในสายการบินหลายสายไดโดยการซื้อครั้งเดียว และชําระเงินโดยใชเงินสกุล
เดียว
การเปดเสรีซึ่งเปนที่นิยมกันทั่วโลก นาจะนํามาซึ่งระเบียบกฎเกณฑตา งๆ ในการกํากับดูแลที่ลดนอยลง แต
ในความเปนจริงตองปรากฏวาตองเพิ่มกระบวนการทางกฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับดานการ
แขงขันอยางเปนธรรม การปกปองประโยชนผูบริโภค และดานสิ่งแวดลอมที่บรรดาสายการบินตองปฏิบัติตาม
กฏเกณฑเงื่อนไขทางกฎหมาย และนโยบายที่ตางกันไปในแตละประเทศ จะนําไปสูการปฏิบัติที่ไมสอดคลองกัน
ความไมแนนอน และการเพิม่ ขึ้นอยางมากมายของคาใชจายของสายการบิน และเพราะลักษณะสากลของ
อุตสาหกรรมนี้ที่ตองปฏิบัติใหเหมือนกันทั่วโลกทําใหภาระทางกฎหมายและระเบียบตางๆ ของสมาชิกใน
อุตสาหกรรมการขนสงทางอากาศเพิ่มขึ้นอยางไมมีที่สนิ้ สุด
ประเด็นความแตกตางในดานกฎหมายและระเบียบตางๆ ยังสงผละกระทบตอสภาพแวดลอมทางดานความ
ปลอดภัยและความมั่นคง และสงผลถึงกระบวนการพิทกั ษประโยชนผูบริโภคดวย ดวยลักษณะพิเศษของ
อุตสาหกรรม เชน เปนการขนสงที่เกี่ยวของกับคนจํานวนมาก เทคโนโลยีและระดับการลงทุนตองสูง เปน
อุตสาหกรรมขามชาติ และยังเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเมือง ทําใหอุตสาหกรรมนี้มักจะถูกจับตามองอยาง
ใกลชิด และโดดเดนกวาการขนสงประเภทอื่นๆ และดวยลักษณะพิเศษดังกลาวมา จึงไมสามารถทําใหกระบวนการ
ตางๆ ดานกฎหมายของแตละสมาชิกในอุตสาหกรรมเหมือนกันได อยางไรก็ดี แมวาจะทําใหเหมือนกันไมได ก็
อาจจะทําใหสอดคลองกันได
ในอนาคตลักษณะเดนของการเปดเสรีทปี่ ระเทศสวนใหญจะแสวงหา คือ การผอนคลายขอจํากัดในดาน
การเปนเจาของและการควบคุม เพื่อใหสายการบินมีผูถอื หุนเปนชาวตางประเทศมากขึ้นในศตวรรษที่ 21 นี้ หาก
บรรดาสมาชิกของอุตสาหกรรมการบินตองการบรรลุการเจริญเติบโตแบบยั่งยืนแลว สมควรจะดําเนินการ
ดังตอไปนี้
- กํากับดูแลดานความปลอดภัย และความมั่นคงอยางสม่ําเสมอ
- ตองจัดหาใหมีสนามบินและเครื่องอํานวยความสะดวกตางๆ อยางพอเพียงแกสายการบินในลักษณะที่ไม
เลือกปฏิบัติ
- ยังคงมุงแสวงหาถึงความรวมมือในระหวางสายการบินรวมกัน
- ตองมีกลไกในการวัดความมีประสิทธิภาพของหนวยงานตางๆ ในอุตสาหกรรม
- ตองเปดตลาดใหผูที่ตองการมีรวมเขามาอยางยุติธรรม เพื่อความเจริญเติบโตที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรม
ดังที่ไดกลาวมาในเบื้องตนแลววาอุตสาหกรรมการขนสงทางอากาศเปนองคประกอบสําคัญของระบบ
เศรษฐกิจ ในทางทฤษฏีกิจกรรมการขนสงทางอากาศเปนกิจกรรมสืบเนื่องซึ่งขึ้นอยูก ับภาวะเศรษฐกิจโลก
โดยทั่วไป ดังนั้น อุตสาหกรรมการขนสงทางอากาศจึงเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจโลก การกํากับ
ดูแลการขนสงทางอากาศก็เชนกัน จะตองกาวเดินไปตามกระบวนการและปรัชญาการกํากับดูแลอุตสาหกรรมอื่นๆ
ในโลกอยางหลีกเลี่ยงไมได

You might also like