You are on page 1of 11

2301113 บทที่ 9 145

บทที่ 9
เทคนิคการอินทิเกรต
เนื่องจากการอินทิเกรตมักจะทํากันโดยการหาปฏิยานุพันธเสียกอน แลวใชทฤษฎีบท
หลักมูลของแคลคูลัสบทที่สอง การหาปฏิยานุพันธจึงเปนสวนหนึ่งของการอินทิเกรต บางที
เราก็เรียกการหาปฏิยานุพันธวา การอินทิเกรต ดวยเหตุนี้เราจึงยืมเครื่องหมายอินทิกรัลมาใช
ในการเขียนแสดงปฏิยานุพันธ ในบทนี้ เราจะไดเรียนรูวิธีการเบื้องตนบางประการเกี่ยวกับการ
หาปฏิยานุพันธ และการอินทิเกรต วิธีการเหลานี้ ไดแก
1. วิธีการแทนคา
2. วิธีแยกเศษสวนยอย
3. วิธีอินทิเกรตทีละสวน

9.1 วิธีอินทิเกรตโดยการแทนคา
ให F ′(x ) = f (x ) หากนํากฎลูกโซมาเขียนในรูปของดิฟเฟอเรนเชียล จะได
dF (u(x )) = f (u(x ))du(x ) = f (u(x ))u ′(x )dx

หากอานสมการที่สองถอยหลัง จะไดวา
f (u(x ))u ′(x )dx = f (u(x ))du(x )
= f (u )du

เราจึงไดวา
∫ f (u(x ))u ′(x )dx = ∫ f (u)du
สูตร
∫ f (u(x ))u ′(x )dx = ∫ f (u)du
เปนสูตรที่จะชวยเราแปลงดิฟเฟอเรนเชียลที่ยุงยาก คือ
f (u(x ))u ′(x )dx

ใหเปนดิฟเฟอเรนเชียล f (u )du ที่งายขึ้น ซึ่งก็จะชวยใหการหาปฏิยานุพันธทําไดงายขึ้นดวย


ดังตัวอยางตอไปนี้
2301113 บทที่ 9 146

ตัวอยาง 9.1
จงอินทิเกรต ∫ 6x 2 + x 2 dx

วิธีทํา ให u = 2 + x 2 ดังนั้น du = 2xdx จึงไดวา


∫ 6x 2 + x 2 dx = 3 ∫ 2 + x 2 (2xdx ) = 3∫ u du
⎛ 3⎞
⎜⎜ 2 2 ⎟⎟
3
2 2

= 3 ⎜ u ⎟ + C = 2(2 + x ) + C
⎜⎝ 3 ⎠⎟⎟

ตัวอยาง 9.2
xdx
จงอินทิเกรต ∫
4x 2 + 9

วิธีทํา ให u = 4x 2 + 9 ดังนั้น du = 8xdx จึงไดวา


1
du 1
xdx 8 1 −
∫ 4x 2 + 9
= ∫ u
= ∫ u du
8
2


1 ⎛⎜
1⎞
⎟ 1
= ⎜⎜2u 2 ⎟⎟ + C = 4x 2 + 9 + C

8 ⎜⎝ ⎠⎟ 4

ตัวอยาง 9.3
2x
จงอินทิเกรต ∫ ex dx
e +1

วิธีทํา ให u = e x + 1 ดังนั้น du = e xdx จึงไดวา


e 2x dx e x (e x dx ) (u − 1)
∫ ex + 1
= ∫ x
e +1
=∫
u
du

⎛ 1⎞
= ∫ ⎜1 − ⎟⎟du = u − ln u + C
⎜⎝
u⎠
= e x + 1 − ln e x + 1 + C
2301113 บทที่ 9 147

ตัวอยาง 9.4 (แสดงในหองเรียน)


จงอินทิเกรต
(3 + 2x )dx
1. ∫ 5 + 3x
2x 3dx
2. ∫ 4 + x2
dx
3. ∫ x ln(x )
x2
4. ∫ xe dx

∫ 2x 5 + x 2 dx
3
5.

ในการอินทิเกรต (การคํานวณอินทิกรัลจํากัดเขต) หากเราหาปฏิยานุพันธโดยการแทน


คา เราตองแทนคากลับไปเปนตัวแปรคาเดิมเสียกอน จึงคอยใชทฤษฎีบทหลักมูลบทที่สอง
ตัวอยางเชน ในการอินทิเกรต
4
∫0 2x x 2 + 9 dx

เราหาปฏิยานุพันธไดโดยการแทนคา u = x 2 + 9 ซึ่งจะไดปฏิยานุพันธในพจนของ u เรา


ตองแปลงกลับไปเปน x แลวจึงคอยใชทฤษฎีบทหลักมูล มีอีกวิธีที่เราไมตองแปลงกลับไปเปน
ตัวแปรเดิม หากแตเปลีย่ นชวงของการอินทิเกรตใหเปนชวงของตัวแปรใหม เชนในกรณีที่ยก
มาเปนตัวอยางนี้ จะเห็นวา เมื่อ x = 0 ได u = 9 และเมื่อ x = 4 ได u = 25
ดังนั้น
4 25
∫0 2x x 2 + 9 dx = ∫9 (..?...)du

เราเรียกวิธีนี้วา การเปลี่ยนตัวแปรของการอินทิเกรต
ความถูกตองของวิธีเปลี่ยนตัวแปรของการอินทิเกรตนัน้ รับรองโดยทฤษฎีบทตอไปนี้

ทฤษฎีบทที่ 9.1
ให g เปนฟงกชันที่มีอนุพันธ g ′ เปนฟงกชันที่ตอเนื่องบนชวง [c, d ] ให f เปน
ฟงกชันที่มีความตอเนื่องที่ทุกจุดในพิสัยของ g จะไดวา
d g (d )
∫c f (g(x ))g ′(x )dx = ∫g(c) f (u )du
2301113 บทที่ 9 148

ตัวอยาง 9.5 (แสดงในหองเรียน)


2
เมื่อใชการเปลี่ยนตัวแปร u = 2 + 3x อินทิกรัล ∫1 x 2 2 + 3x dx จะกลายเปนอินทิกรัลใด
(ไมตองอินทิเกรตหาคําตอบ)

ตัวอยาง 9.6
4
จงอินทิเกรต ∫0 2x x 2 + 9 dx

วิธีทํา
วิธีที่ 1 ให u = x 2 + 9 ดังนั้น du = 2xdx จึงไดวา
3 25
4 25 2 2 ⎤⎥
∫0 2x x + 9 dx = ∫9 u du = 3 u ⎥⎥
2

⎦9
250 54 196
= − =
3 3 3
วิธีที่ 2 ให u = x + 9 ดังนั้น du = 2xdx จึงไดวา
2

3 3
2 2 2
∫ 2x x + 9 dx = ∫ u du = 3 u 2 + C = 3 (x + 9)2 + C
2

3 ⎤4
4 2 2 250 54 196
ดังนั้น ∫0 2x x + 9 dx = 3 (x + 9)2 ⎥⎥⎥ = 3 − 3 = 3
2

⎦0

ตัวอยาง 9.7 (แสดงในหองเรียน)


จงหาคาอินทิกรัลตอไปนี้
3
1. ∫0 x x 2 + 16 dx

e2 dx
2. ∫e x ln(x )
1
x2
3. ∫0 xe dx

12 2x 3dx
4. ∫0 25 + x 2
2301113 บทที่ 9 149

แบบฝกหัด 9.1
จงหาคาอินทิกรัลตอไปนี้
7x 2 x3
1. ∫ x 2 − 4 dx 2. ∫xe dx

x2 + 2 ln2 x
3. ∫ x 3 + 6x
dx 4. ∫ x
dx

sinh x
5. ∫x
2
x 3 + 1 dx 6. ∫ x
dx

5 3
7. ∫ (1 − 2x )3 dx 8. ∫ x cosh(1 + x )dx
2

1 + 3x
9. ∫ 1 + 2x + 3x 2
dx 10. ∫
3
x 3 + 1 x 5 dx

ex x
11. ∫ ex + 1
dx 12. ∫ 4 x +2
dx

t2 t2
13. ∫ 3
1 + t3
dt 14. ∫ 1−t
dt

2 2
∫0 (x − 1) ∫1 x
25
15. dx 16. x − 1 dx

2 dx 13 dx
17. ∫0 (2x − 3)2
18. ∫0 3 (1 + 2x )2

4 x e2 1
19. ∫0 1 + 2x
dx 20. ∫e x ln x
dx
2301113 บทที่ 9 150

9.2 วิธีอินทิเกรตโดยการแยกเปนเศษสวนยอย
ฟงกชันตรรกยะไดแกฟงกชันใดๆ ที่เขียนไดเปนเศษสวนของฟงกชนั พหุนาม เชน
x 3 − 2x + 3
f (x ) =
(x − 3)2 (x + 1)(x 2 + 4)

ถาดีกรีของเศษนอยกวาดีกรีของสวน ฟงกชันเชนนี้ เราสามารถแยกเปนผลบวกของเศษสวน


ยอยในรูปตอไปนี้
x 3 − 2x + 3
f (x ) =
(x − 3)2 (x + 1)(x 2 + 4)
A B C Dx + E
= 2 + + + 2
(x − 3) (x − 3) (x + 1) (x + 4)

โดยที่ A B C D E เปนคาคงตัวที่เราสามารถหาคาได จะเห็นไดวา เมื่อเราแยก f ออกเปน


ผลบวกของเศษสวนยอยไดแลว การอินทิเกรต f ก็ทําไดโดยการอินทิเกรตแตละพจน แลว
รวมกันเปนคําตอบพจนตางๆ ที่ไดจากการแยกเศษสวนยอยอาจมีรูปแบบใดแบบหนึ่งในสองรูป
ตอไปนี้
A Dx + E
(i ) (ii )
(ax + b)k (ax + bx + c)k
2

โดยที่ k เปนจํานวนเต็มบวก
ในรูปแบบ (ii) นั้นจะเปนกรณีที่พจนที่เปนสวนนั้น แยกแฟคเตอรไมได แตจะแปลงได
เปน ax 2 + bx + c = v 2 + constant2

ตัวอยางเชน
4x 2 + 12x + 13 = (2x + 3)2 + 22

ในการอินทิเกรตพจนในรูป (ii) เราจําเปนตองมีปฏิยานุพันธของ


1
f (x ) = 2
x +1
เพื่อการนี้ เรานิยามฟงกชัน atn(x ) ดังนี้
x 1
atn(x ) = ∫0 t +12dt

โดยทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส เราเห็นไดวา atn(x ) เปนปฏิยานุพันธของ f


2301113 บทที่ 9 151

หมายเหตุ
ในที่นี้ ฟงกชนั atn เปนฟงกชนั ที่นิยามโดยอินทิกรัลไมจํากัดเขต เชนเดียวกับฟงกชนั
ln เราอาจประมาณคาของมันไดโดยอาศัยเกณฑของซิมปสัน หากคํานวณดูจะพบวาคาของ
atn(x ) เทากับคาของ arctan(x ) ในรายวิชา 2301114 เราจะไดเรียนเกี่ยวกับฟงกชัน
ตรีโกณ และจะไดเห็นวา atn นี้ ก็คือ arctan นั่นเอง แตในรายวิชานี้เราจะเรียกวา atn ไป
พลางกอน
เราอาจแสดงไดวา
1 1 v
∫ v 2 + a 2 dv = a atn(a ) + C
และจะถือวานีเ่ ปนสูตรๆ หนึ่ง
เมื่อเราทราบวา atn คือ arctan แลว สูตรก็จะเปน
1 1 v
∫ v 2 + a 2 dv = a arctan(a ) + C

ตัวอยาง 9.8
3
x − 2x + 3
จงอินทิเกรต ∫ dx
(x − 3)2 (x + 1)(x 2 + 4)

แนววิธีทํา
x 3 − 2x + 3 A B C Dx + E
2 2 = 2 + + + 2
(x − 3) (x + 1)(x + 4) (x − 3) (x − 3) (x + 1) (x + 4)
(แสดงการหาคา A B C D E และการอินทิเกรตในหองเรียน)

ตัวอยาง 9.9
x +2
จงอินทิเกรต ∫ dx
(x − 3)(x + 1)

วิธีทํา
x +2 A B
= +
(x − 3)(x + 1) x − 3 x + 1
x + 2 = A(x + 1) + B(x − 3)
1
เมื่อ x = −1 จะไดวา 1 = B(−4) นั่นคือ B = −
4
5
เมื่อ x = 3 จะไดวา 5 = A(4) นั่นคือ A =
4
2301113 บทที่ 9 152

ดังนั้น

x +2 5 1
∫ (x − 3)(x + 1) dx = ∫ 4(x − 3)
dx − ∫
4(x + 1)
dx

5 1
= ln x − 3 − ln x + 1 + C
4 4

ตัวอยาง 9.10 (แสดงในหองเรียน)


จงอินทิเกรต
x2 + x
1. ∫ (x − 1)2 (x + 2)
dx

2x − 1
2. ∫ (x + 1)(x 2 + 4) dx

แบบฝกหัด 9.2
จงหาอินทิกรัลตอไปนี้
x +5 x 3 + x 2 + 2x + 1
1. ∫ 2
x +x −2
dx 2. ∫ (x 2 + 1)(x 2 + 2)
dx

x x +4
3. ∫ x − 5 dx 4. ∫ x 2 + 2x + 5 dx
3x − 1 1
5. ∫ (x + 1)2 dx 6. ∫ x 3 − 1 dx
4y 2 − 7y − 12 10
7. ∫ y(y + 2)(y − 3)
dy 8. ∫ (t − 1)(t 2 + 9) dt
1 5 x 2 + 2x
9. ∫ (x + 5)2 (x − 1)
dx 10. ∫2 x 3 + 3x 2 + 4
dx

x2 x −3
11. ∫ (x + 1)3
dx 12. ∫ (x 2 + 2x + 4)2 dx
2301113 บทที่ 9 153

9.3 วิธีอินทิเกรตทีละสวน
หากนําสูตรดิฟเฟอเรนชิเอตผลคูณมาเขียนในรูปของดิฟเฟอเรนเชียลจะได
d (uv ) = u dv + v du

ซึ่ง อาจเขียนเสียใหมเปน
u dv = d (uv ) − v du

เมื่อหาปฏิยานุพันธ จะไดวา
∫ u dv = uv − ∫ v du
สูตร ∫ u dv = uv − ∫ v du เปนสูตรที่จะชวยเราอินทิเกรต u dv ทีละสวน คือ ได
uv มาสวนหนึ่ง แตยังคาง ∫ v du อยูอีกสวนหนึ่ง ตอไปนี้เปนตัวอยางแสดงการอินทิเกรตที
ละสวน

ตัวอยาง 9.11
จงอินทิเกรต ∫ xe 2x dx

แนววิธีทํา
ลําดับแรก เราจะตองพิจารณา xe 2xdx วาเปน u dv ปญหาก็คือ จะใหอะไรเปน u และอะไร
เปน dv เรามีไมกี่ทางเลือก ทดลองดูทีละทางเลือก u = x, u = xe 2x , u = e 2x
โดยให dv เปนสวนที่เหลือ

วิธีทํา ให u = x dv = e 2x dx
e 2x
อินทิเกรต dv ได v= +C แทนในสูตร ∫ u dv = uv − ∫ v du
2
จะไดวา
e 2x e 2x
∫ xe 2x dx = (x )(
2
+C ) − ∫ (
2
+ C )d (x )

e 2x e 2x
=x −∫ dx
2 2
e 2x e 2 x
=x − +C '
2 4
2301113 บทที่ 9 154

หมายเหตุ
คา C ในปฏิยานุพันธ ของ dv นั้นจะตัดทอนกันเองเสมอไป เราใชปฏิยานุพันธใดปฏิ
ยานุพันธหนึ่งของ dv ก็ได

ตัวอยาง 9.12 (แสดงในหองเรียน)


จงอินทิเกรต
2 −3x
1. ∫xe dx

∫ x2
x
2. dx

3. ∫ ln(x )dx
4. ∫ x ln(x )dx
5. ∫ ln(x + 2)dx
ในบางกรณีเราตองทําการอินทิเกรตทีละสวนในรูปแบบเดียวกันซ้ําแลวซ้ําอีกหลายๆ ครั้ง
เชนถาเราจะอินทิเกรต
10 −5x
∫x e dx

เราคงตองทําการอินทิเกรต ∫ x ne−5x dx
ในกรณี n = 10, 9, 8, …,2,1, 0 เราควรที่จะหาสูตรลดคา n ลง ดังตอไปนี้
eax eax
∫ x neax dx = x n ( ) − ∫ ( )nx n −1 dx
a a
1 n ax n
= x e − ∫ x n −1eax dx
a a
เราเรียกสูตรเชนนี้วา สูตรลดทอน เมื่อไดสูตรลดทอนขางบนนี้แลว เราก็จะหาคําตอบ
ของ ∫ x 10e−5x dx ไดไมยาก
การหาสูตรลดทอนในกรณีทกี่ ลาวมานั้นเราทําไดอยางตรงไปตรงมา บางกรณีตองมีการ
พลิกแพลง เชนในการหาสูตร ตอไปนี้
1 x
∫ (x 2 + a 2 )n +1 dx = 2na 2 (x 2 + a 2 )n
2n − 1 1
+ 2 ∫ dx
2na (x + a 2 )n
2
2301113 บทที่ 9 155

ตัวอยาง 9.13 (แสดงในหองเรียน)


โดยใชสูตรลดทอนที่มีอยูแลว หรือสรางสูตรลดทอนขึ้นใชเอง จงอินทิเกรต
1. ∫ x 3e −x dx 2. ∫ x 3 5x dx

1 1
3. ∫ dx 4. ∫ dx
(x + 4)3
2
(x − 9)3
2

แบบฝกหัด 9.3
จงหาอินทิกรัลตอไปนี้
−x
∫ xe ∫ (ln x )
2
1. dx 2. dx

r 2 ln x
3. ∫ re 2 dr 4. ∫1 x2
dx

1 y
5. ∫ ln(2x + 1)dx 6. ∫0 e2y dy

∫ x5 ∫x
x 4
7. dx 8. (ln x )2 dx

แบบฝกหัดระคน
จงหาอินทิกรัลตอไปนี้
5 x2 1
1. ∫xe dx 2. ∫ x− x +2
dx

1 1
3. ∫x x +1
dx 4. ∫ x −3x
dx

e 2x
5. ∫ ln(x 2 − x + 2)dx 6. ∫ e 2x + 3e x + 2
dx

4 1 1
7. ∫1 e x
dx 8. ∫0 1 + 3 x dx
16 x 3 x
9. ∫9 x −4
dx 10. ∫1 2
x +x
dx
3

You might also like