You are on page 1of 6

Quality Tips

การบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน


1
ตอนที่

>>> กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์


kitroj@yahoo.com

นอกจากแนวทางต่าง ๆ ที่ได้กล่าวไปแล้วนั้น

ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารพั ฒ นาแนวทางการบริ ห ารความ


เสี่ยงออกมาเป็นมาตรฐานสากลระดับนานาชาติ
International Organization of Standard: ISO
โดยกำหนดให้เป็นมาตรฐาน ISO 31000 ซึ่งล่าสุด
อยู่ในขั้นตอนของฉบับร่าง (draft) โดยคาดว่ามาตร-
ฐานฉบับสากล (international version) จะมีการ
ประกาศใช้อย่างเป็นทางการประมาณปี พ.ศ.2552
มาตรฐาน ISO 31000 จะเป็นมาตรฐานใน
ลักษณะของแนวปฏิบัติ (guideline) สำหรับการ
บริหารความเสี่ยง ไม่ใช่ข้อกำหนด (specification)
โดยมีชื่อเต็มว่า Risk Management – Guidelines
on principles and implementation of risk ma-
nagement ซึ่งเนื้อหาของมาตรฐานนี้ จะเป็นการ
พัฒนาขึ้นมาจากแนวทางการบริหารความเสี่ยง
ตามมาตรฐาน AS/NZS 4360:2004
เนื้อหาของมาตรฐาน ISO 31000 (ฉบับร่าง)
ในปัจจุบัน แนวคิดทางด้านการบริหารความเสี่ยง ได้รับ จะแบ่งแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ออกเป็น
การนำไปประยุกต์ใช้ในองค์การต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง โดยมี 3 ส่วนหลัก ๆ ประกอบด้วย
การนำแนวทาง หรือมาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารความ 1. หลักการพื้นฐานในการบริหารความเสี่ยง
เสี่ยงที่กำหนดขึ้นโดยองค์การต่าง ๆ มาปรับใช้ ไม่ว่าจะเป็นแนว- 2. กรอบการบริหารความเสี่ยง
ทางการบริหารความเสี่ยงองค์การตามรูปแบบของ Committee 3. กระบวนการในการบริหารความเสี่ยง
of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission: จากรูปที่ 1 แสดงถึงความสัมพันธ์ขององค์-
COSO หรื อ ตามมาตรฐาน AS/NZS 4360:2004 ซึ่ ง เป็ น ประกอบต่าง ๆ และข้อกำหนดในมาตรฐานการ
มาตรฐานสากลของ Australia และ New Zealand เกี่ยวกับการ บริหารความเสี่ยง
บริหารความเสี่ยง

116 For Quality Vol.15 No.136


Quality T ips

กระบวนการบริหารความเสี่ยง รับผิดชอบของฝ่ายบริหาร และเป็นส่วนที่สำคัญ


กรอบการบริหารความเสี่ยง
ของกระบวนการในองค์การ เช่นเดียวกับโครงการ
การควบคุม
และความมุ่งมั่น และกระบวนการบริ ห ารการเปลี่ ย นแปลง การ
บริหารความเสี่ยงจะไม่ใช่กิจกรรมที่เป็นอิสระ หรือ
หลักการ การออกแบบ กระบวน
พื้นฐาน กรอบสำหรับการ
บริหารความเสี่ยง การบริหาร ถูกแยกออกมาจากกิจกรรมและกระบวนการหลัก
การบริหาร
ความเสี่ยง การปรับปรุง การดำเนินการ
ความเสี่ยง ขององค์การ
กรอบการบริหาร บริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง 3. การบริหารความเสี่ยงจะเป็นส่วนหนึ่ง
การเฝ้าติดตาม ของกระบวนการตัดสินใจ การบริหารความเสี่ยง
และทบทวน
กรอบการบริหาร
ความเสี่ยง
สามารถช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของการ
ดำเนินการ และช่วยในการแยกแยะความแตกต่าง
▲ รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของการบริหารความเสี่ยง ของทางเลือกต่าง ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการตัดสินใจ
นอกจากนั้นการบริหารความเสี่ยงยังช่วยในการ
หลักการพื้นฐานในการบริหารความเสี่ยง ตัดสินใจ ไม่ว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจะไม่สามารถ
ในการบริหารความเสี่ยงจะประกอบด้วยหลักการพื้นฐาน ยอมรั บ ได้ หรื อ การจั ด การความเสี่ ย งจะมี อ ย่ า ง
ที่สำคัญทั้งหมด 11 หลักการ ประกอบด้วย เพียงพอหรือมีประสิทธิผลก็ตาม
1. การบริหารความเสี่ยงจะต้องสร้างให้เกิดคุณค่ากับ 4. การบริหารความเสี่ยงจะแสดงถึงความ
องค์การ การบริหารความเสี่ยงจะต้องมีส่วนในการสร้างความ ไม่แน่นอนได้อย่างชัดเจน การบริหารความเสี่ยง
สำเร็จให้กับวัตถุประสงค์ขององค์การ เช่น ความมีประสิทธิภาพ จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การตั ด สิ น ใจในความไม่ แ น่ น อน
ในการปฏิบัติงาน การปกป้องสิ่งแวดล้อม ผลประกอบการด้าน สภาพของความไม่แน่นอน และแนวทางในการ
การเงิน การดำเนินการตามหลักธรรมาภิบาล ความปลอดภัยและ จัดการกับความไม่แน่นอนนั้น ๆ
สุขอนามัยส่วนบุคคล คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ความสอดคล้อง 5. การบริหารความเสี่ยงจะต้องดำเนิน-
ตามข้อกฎหมาย และระเบียบบังคับ การยอมรับจากสาธารณะ การอย่างเป็นระบบ มีโครงสร้างและทันเวลา การ
และชื่อเสียงขององค์การ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ ทันเวลา และมีโครง-
2. การบริ ห ารความเสี่ ย งจะเป็ น ส่ ว นที่ ส ำคั ญ ของ สร้างที่ชัดเจน สำหรับการบริหารความเสี่ยงจะช่วย
กระบวนการในองค์การ การบริหารความเสี่ยงจะต้องเป็นความ ให้เกิดการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ มีความ
สอดคล้องกัน สามารถเปรียบเทียบได้ และมีความ
น่าเชื่อถือ
6. การบริหารความเสี่ยงจะดำเนินการบน
ข้อมูลที่ดีที่สุด สิ่งที่นำมาใช้ในกระบวนการบริหาร
ความเสี่ยง จะนำมาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น
จากประสบการณ์ ข้อมูลป้อนกลับ การสังเกตการณ์
การพยากรณ์ และมุมมองจากผู้เชี่ยวชาญ อย่างไร-
ก็ตาม ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจจะต้องได้รับทราบ และ
คำนึงถึงข้อจำกัดของข้อมูลแบบจำลองการตัดสิน-
ใจที่นำมาใช้ รวมถึงความแตกต่างที่อาจเกิดขึ้น

For Quality February 2009 117


Quality T ips

จากมุมมองของผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ต่อเนื่อง
7. การบริหารความเสี่ยงจะต้องปรับให้
เหมาะสมกับองค์การ การบริหารความเสี่ยง จะ กรอบการบริหารความเสี่ยง
ต้ อ งมี ค วามสอดคล้ อ งไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ ในส่วนของกรอบการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานจะ
สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกขององค์- แบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยขับเคลื่อนผ่านวงจร PDCA ซึ่งประกอบ-
การ รวมถึงโครงร่างของความเสี่ยง (risk profile) ด้ ว ย การวางแผน (plan) การลงมื อ ทำ (do) การตรวจสอบ
8. การบริหารความเสี่ยงจะต้องคำนึงถึง (check) และการปรับปรุงแก้ไข (act) ดังแสดงในรูปที่ 2
ปัจจัยด้านมนุษย์และวัฒนธรรมด้วย การบริหาร
ความเสี่ ย งขององค์ ก ารจะต้ อ งรั บ รู้ ถึ ง ขี ด ความ กรอบการบริหารความเสี่ยง

สามารถ การยอมรับ และความตั้งใจของบุคลากรทั้ง การควบคุม


และความมุ่งมั่น
ภายใน และภายนอก ซึ่งอาจจะมีส่วนช่วย หรือขัด-
ขวางต่อความสำเร็จของวัตถุประสงค์ขององค์การ การออกแบบ
กรอบสำหรับการ
9. การบริ ห ารความเสี่ ย งจะต้ อ งมี ค วาม บริหารความเสี่ยง
โปร่งใส และครอบคลุม การมีส่วนร่วมอย่างเหมาะ-
การปรับปรุงกรอบการ การดำเนินการ
สมของผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ บริหารความเสี่ยง บริหารความเสี่ยง
ในทุก ๆ ระดับขององค์การ จะช่วยสร้างความมั่น-
การเฝ้าติดตามและ
ใจได้ว่า การบริหารความเสี่ยงจะยังมีความเกี่ยวข้อง ทบทวนกรอบการ
และทันสมัย นอกจากนั้นการมีส่วนร่วมยังรวมไป- บริหารความเสี่ยง
ถึ ง การยอมให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ได้ รั บ ข้ อ มู ล อย่ า ง

เหมาะสม รวมถึงมุมมองและความคิดเห็นต่าง ๆ ▲ รูปที่ 2 กรอบการบริหารความเสี่ยง


ได้รับการนำมาพิจารณาในการกำหนดเกณฑ์ความ
เสี่ยง ในการบริหารความเสี่ยงให้ประสบความสำเร็จจะต้อง
10. การบริหารความเสี่ยงจะต้องเป็นพลวัต สร้างให้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ และได้รับการสนับสนุนเป็น
สามารถทำซ้ำ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง อย่างดีจากฝ่ายบริหาร ทั้งนี้กรอบการบริหารความเสี่ยงจะช่วย
ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ขึ้นทั้งภายในและภายนอก องค์การในการจัดการกับความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผล จาก
หรือมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมหรือองค์- การใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยงในระดับต่าง ๆ และภายใต้
ความรู้ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเฝ้าติดตามหรือการ สภาพแวดล้อมขององค์การ เช่นเดียวกัน กรอบการบริหารยังช่วย
ทบทวน หรือมีความเสี่ยงใหม่ๆ เกิดขึ้นหรือลดลง สร้ า งความมั่ น ใจได้ ว่ า ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความเสี่ ย งที่ ไ ด้ จ าก
องค์การจะต้องมั่นใจได้ว่าการบริหารความเสี่ยง กระบวนการต่าง ๆ จะมีอย่างเพียงพอ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานสำหรับ
สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้ การตัดสินใจในระดับต่าง ๆ ขององค์การด้วย
อย่างต่อเนื่อง กรอบการบริหารนี้ไม่ได้อธิบายถึงระบบการบริหารงาน แต่
11. การบริหารความเสี่ยงจะต้องสามารถ จะช่วยให้องค์การในการเชื่อมโยงการบริหารความเสี่ยงเข้ากับ
ปรับปรุง และทำให้ดีขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง องค์การ ระบบการบริหารงานโดยรวมขององค์การ ทั้งนี้ องค์การขนาดใหญ่
จะต้องมีการพัฒนา และดำเนินการกลยุทธ์ในการ จำนวนมากต่างก็ได้นำองค์ประกอบของการบริหารความเสี่ยงรวม-
ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงในทุก ๆ ด้านอย่าง เข้ากับแนวปฏิบัติ และกระบวนการในการบริหารงานอยู่แล้ว

118 For Quality Vol.15 No.136


Quality T ips

การควบคุมและความมุ่งมั่น  การรั บ รู้ การให้ ค วามสำคั ญ และ


ในการบริหารความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิผลจะต้องการ วัฒนธรรมขององค์การ
ความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอย่างดีจากผู้บริหารระดับสูงของ  มาตรฐาน หรือรูปแบบที่ใช้ในการอ้างอิง
องค์การ โดยฝ่ายบริหารจะต้อง  โครงสร้ า ง เช่ น การควบคุ ม บทบาท
 ประกาศ และให้ ก ารรั บ รองต่ อ นโยบายการบริ ห าร หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ความเสี่ยง ส่วนสภาพแวดล้อมภายนอกขององค์การที่
 สื่อสารถึงประโยชน์ที่จะได้จากการบริหารความเสี่ยง จะต้องได้รับการพิจารณา จะประกอบด้วย
ไปยังผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด  วัฒนธรรม การเมือง กฎหมาย ข้อบัง-
 กำหนดดัชนีวัดผลการดำเนินงานบริหารความเสี่ยง ที่ คับ การเงิน เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมในการ
สอดคล้องกันกับผลการดำเนินงานขององค์การ แข่งขันทั้งในระดับประเทศ และระดับภูมิภาค
 ดูแลให้วัตถุประสงค์การบริหารความเสี่ยงสอดคล้อง  ตั ว ขั บ เคลื่ อ นที่ ส ำคั ญ และแนวโน้ ม ที่

กันกับวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ขององค์การ ส่งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ขององค์การ
 ดู แ ลความสอดคล้ อ งตามข้ อ กฎหมาย และระเบี ย บ
 การรับรู้ และการให้ความสำคัญของผู้มี
ข้อบังคับ ส่วนได้เสียภายนอกองค์การ
 มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบที่เหมาะสมภายใน
องค์การ นโยบายการบริหารความเสี่ยง
 ดูแลทรัพยากรที่จำเป็น ได้รับการจัดสรรเพื่อการบริหาร จากนั้นผู้บริหารระดับสูงขององค์การจะต้อง
ความเสี่ยงอย่างเพียงพอ กำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง (risk ma-
 ดู แ ลถึ ง ความเหมาะสมของกรอบการบริ ห ารความ nagement policy) โดยนโยบายในการบริ ห าร
เสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ความเสี่ยงจะต้องมีความชัดเจนในวัตถุประสงค์
ขององค์ ก าร และแสดงถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ต่ อ การ
การออกแบบกรอบเพื่อการบริหารความเสี่ยง (plan) บริหารความเสี่ยง
การทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมองค์การ ในขั้นตอน
ของการวางแผน หรือการออกแบบกรอบในการบริหารความเสี่ยง
ขององค์การจะเริ่มต้นจากการทำความเข้าใจในสภาพแวดล้อม
ทั้งภายในและภายนอกขององค์การเสียก่อน โดยสภาพแวดล้อม
ภายในองค์การ จะประกอบด้วย
 ขี ด ความสามารถ ความเข้ า ใจในรู ป ของทรั พ ยากร
และความรู้ เช่น เงินทุน บุคลากร ความสามารถ กระบวนการ
ระบบ และเทคโนโลยี
 การไหลของข้อมูล และกระบวนการตัดสินใจ
 ผู้มีส่วนได้เสียภายในองค์การ
 นโยบาย วั ต ถุ ป ระสงค์ และกลยุ ท ธ์ เพื่ อ ให้ ป ระสบ
ความสำเร็จ

For Quality February 2009 119


Quality T ips

ทั้งนี้นโยบายจะต้องระบุถึงหน้าที่ ความรับ- ทรัพยากร


ผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงของส่วนต่าง ๆ ใน องค์การจะต้องจัดทำแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรที่
องค์การ แนวทางในการจัดการกับความขัดแย้งที่ เหมาะสม สำหรับการบริหารความเสี่ยง โดยจะต้องพิจารณาถึง
อาจเกิดขึ้น มีการดำเนินการทบทวนเป็นระยะ ๆ  เอกสารวิธีการปฏิบัติงาน และกระบวนการ
และทวนสอบถึ ง ความถู ก ต้ อ งของนโยบายการ  ระบบการจัดการสารสนเทศ และความรู้
บริหารความเสี่ยง รวมถึงนโยบายจะต้องเชื่อมโยง  บุคลากร ทักษะ ประสบการณ์ และความสามารถ
เข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การด้วย  ทรัพยากรที่จำเป็นในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ
บริหารความเสี่ยง
การบูรณาการเข้ากับกระบวนการ
ขององค์การ การกำหนดกลไกในการสื่อสาร
การบริหารความเสี่ยงจะต้องนำมาเป็นส่วน และการรายงานภายในองค์การ
หนึ่งของแนวปฏิบัติหลัก และกระบวนการทางธุรกิจ องค์การจะต้องจัดทำกลไกในการสื่อสารและการรายงาน
ขององค์การ ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง มีประสิทธิภาพ ภายในองค์การ เพื่อให้
ประสิทธิผล และสร้างให้เกิดความสำเร็จอย่างยั่ง-  องค์ประกอบของกรอบการบริหารความเสี่ยง และการ
ยืนให้กับองค์การ โดยเฉพาะการบริหารความเสี่ยง เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้รับการสื่อสารอย่างเหมาะสม
จะต้องผสมผสานเข้ากับการถ่ายทอดนโยบาย การ  มีการรายงานภายในเกี่ยวกับกรอบการบริหารความ
วางแผนธุรกิจและกลยุทธ์ และกระบวนการบริหาร เสี่ยง ความมีประสิทธิผล และผลลัพธ์ที่ได้
การเปลี่ยนแปลง  มี ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ ไ ด้ จ ากการบริ ห ารความเสี่ ย ง
พร้อมสำหรับใช้งานในระดับและเวลาที่เหมาะสม
ความรับผิดชอบ (accountability)  มีกระบวนการในการให้คำปรึกษากับผู้มีส่วนได้เสีย
องค์ ก ารจะต้ อ งกำหนดความรั บ ผิ ด ชอบ ภายในองค์การ
และอำนาจหน้าที่ในการจัดการความเสี่ยง รวมถึง กลไกดังกล่าวจะประกอบด้วยกระบวนการในการรวบรวม
การดำเนินการกระบวนการบริหารความเสี่ยง และ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมจากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ
การดูแลความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของ ภายในองค์การ โดยคำนึงถึงความอ่อนไหวของข้อมูลนั้น ๆ
การควบคุมความเสี่ยง โดยการ
 กำหนดผู้รับผิดชอบในการพัฒนา การ การกำหนดกลไกในการสื่อสาร
นำไปปฏิบัติ และการดูแลรักษากรอบการบริหาร และการรายงานภายนอกองค์การ
ความเสี่ยง องค์การจะต้องจัดทำ และดำเนินการตามแผนการสื่อสาร
 กำหนดเจ้าของความเสี่ยง (risk owner) กับผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์การ โดยจะต้อง
ในการดำเนินการจัดการความเสี่ยง การควบคุม  สื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียถึงเหตุวิกฤต หรือเหตุฉุกเฉิน
ความเสี่ยง และการรายงานข้อมูลความเสี่ยงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
 กำหนดการวัดผลการดำเนินงาน และ  สร้างการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสมกับผู้มีส่วนได้เสีย
การจัดทำรายงานทั้งภายในและภายนอกองค์การ จากภายนอกองค์การ และเกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
 การดูแลระดับที่เหมาะสมของการยอม- อย่างมีประสิทธิผล
รับ การให้รางวัล การอนุมัติ และการเข้าแทรกแซง  รายงานให้ กั บ ภายนอกองค์ ก ารตามข้ อ กฎหมาย

120 For Quality Vol.15 No.136


Quality T ips

การเฝ้าติดตามและการทบทวน
กรอบการบริหารงาน (check)
ในการดูแลรักษาความสำเร็จอย่างยั่งยืน
ของระบบบริหารความเสี่ยงขององค์การให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิผลต่อเนื่อง องค์การจะต้อง
 กำหนดการวัดผลการดำเนินงาน
 ทำการวัดความก้าวหน้าเทียบกับแผน-
การบริหารความเสี่ยงเป็นระยะ ๆ
ระเบียบบังคับ และหลักธรรมาภิบาล  ทำการทบทวนถึ ง กรอบการบริ ห าร
 เปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ตามที่กำหนดในข้อกฎหมาย ความเสี่ยง นโยบาย และแผนงานอย่างสม่ำเสมอ
 รับรู้ข้อมูลป้อนกลับและการรายงานจากการสื่อสาร  จัดทำรายงานถึงความเสี่ยง ความก้าว-
และการให้คำปรึกษา หน้าของแผนการบริหารความเสี่ยง และการดำเนิน-
 ใช้กระบวนการสื่อสารในการสร้างความโปร่งใส และ การสอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยง
ความเชื่อมั่นให้กับองค์การ  ทบทวนถึ ง ความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของ
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
การดำเนินการบริหารความเสี่ยง (do)
ในการดำเนินการตามกรอบการบริหารความเสี่ยง องค์- การปรับปรุงกรอบการบริหารงาน
การจะต้อง อย่างต่อเนื่อง (act)
 กำหนดช่วงเวลาและกลยุทธ์ที่เหมาะสมสำหรับการ เมื่อองค์การได้ทำการทบทวนระบบแล้ว ผล
ดำเนินการตามกรอบการบริหารความเสี่ยง ของการทบทวนจะนำไปสู่การตัดสินใจถึงแนวทาง
 การนำนโยบายและกระบวนการบริหารความเสี่ยงมา ในการปรับปรุงกรอบการบริหารความเสี่ยง นโยบาย
ใช้กับกระบวนการต่าง ๆ ในองค์การ และแผนงาน ซึ่งการตัดสินใจนี้จะช่วยในการปรับ-
 ดำเนินการให้สอดคล้องกับข้อกฎหมาย และระเบียบ ปรุงการบริหารความเสี่ยง และวัฒนธรรมการบริหาร
ข้อบังคับต่าง ๆ งานขององค์การ รวมถึงจะช่วยการปรับปรุงความ
 จัดทำเอกสารอธิบายถึงการตัดสินใจ รวมถึงการจัด- คล่องตัว การควบคุม และความรับผิดชอบที่มีต่อ
ทำวัตถุประสงค์ เป้าหมายขององค์การด้วย
 จัดให้มีข้อมูลสารสนเทศ และการฝึกอบรม
 สื่ อ สารและให้ ค ำปรึ ก ษากั บ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เพื่ อ ให้ อ่านต่อ
มั่นใจได้ถึงความเหมาะสมของกรอบการบริหารความเสี่ยง ฉบับหน้า
การบริหารความเสี่ยงจะถูกดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่า
กระบวนการบริหารความเสี่ยงต่าง ๆ ได้รับการนำไปปฏิบัติในทุก
ระดับและหน้าที่งานที่เกี่ยวข้องในองค์การ โดยเป็นส่วนหนึ่งของ
การปฏิบัติงานขององค์การ และกระบวนการทางธุรกิจ

For Quality February 2009 121

You might also like