You are on page 1of 47

IS102

พืนฐานการลงทุนในหุ้น

นําร่อง
1. ลงทุนในหุ้นไม่ว่นุ อย่างทีคิด

IS102 2. รู้จกั หุ้นสักนิด ก่อนคิดเทรด


พืน ฐานการลงทุนในหุ้น
 ต้องวิเคราะห์
3. เทรดหุ้นอย่างมันใจ
ปัจจัยพืน- ฐานและปัจจัยเทคนิค
4. รู้จกั ช่องทางการลงทุน
5. ลงทุนหุ้นออนไลน์ ... ง่ายแค่คลิก
6. รอบรู้เรืองสิทธิและหน้ าทีของผู้ลงทุน
1 ลงทุนในหุ้นไม่ว่นุ อย่างทีคิด
ก่อนเริมลงทุน ต้องรู้จกั ตลาด

ตลาดการเงิน

ผูม้ ีเงินทุนส่วนเกิน ผูข้ าดแคลนเงินทุน


สถาบันการเงิน
การระดมทุนโดยตรงภายในกิจการ
3

รู้จกั ตลาดการเงิน
ตลาดเงิน (Money Market)
เป็ นแหล่งระดมเงินทุนระยะสัน (ไม่เกิน 1 ปี )
ตลาดทุน (Capital Market)
เป็ นแหล่งระดมเงินทุนระยะยาว (มากกว่า 1 ปี ขึน ไป) สําหรับ
หน่วยงานซึง$ ต้องการเงินทุนระยะยาวนําไปใช้ในวัตถุประสงค์
ต่างๆ เช่น การขยายธุรกิจของผูป้ ระกอบกิจการเอกชน หรือ
การลงทุนด้านสาธารณูปโภคของภาครัฐบาล เป็ นต้น

4
รู้จกั ตลาดแรกและตลาดรอง
ตลาดแรก คือ ตลาดทีซ$ อื ขายหลักทรัพย์ทอ$ี อกใหม่ (Initial Public Offering) ซึง$
ถือเป็ นการซือ ขายหลักทรัพย์ทบ$ี ริษทั ผูอ้ อกหลักทรัพย์ได้รบั เงินทุนจากผูซ้ อื
หลักทรัพย์ใหม่เพือ$ ใช้ในการลงทุน

บริ ษทั ผูอ้ อกหลักทรัพย์ ผูม้ ีเงิ นออม

ตลาดรอง คือตลาดทีซ$ อื ขายหลักทรัพย์มอื สองทีม$ กี ารซือ ขายครัง แรกในตลาดแรกแล้ว

ขายหลักทรัพย์ ซือ หลักทรัพย์

นายมีห้นุ ได้รบั เงิน SET ชําระเงิน


น.ส. มีเงิ น
5

รู้จกั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สถานภาพ  มีสถานะเป็ นนิติบคุ คล


ทางกฎหมาย  จัดตัง- ขึน- ตาม พ.ร.บ. ตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517
 เปิดดําเนินงานวันที 30 เมษายน 2518
 ปัจจุบนั อยู่ภายใต้ พ.ร.บ. หลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

6
องค์ประกอบของตลาดหลักทรัพย์ฯ

1. สินค้า  หลักทรัพย์จดทะเบียน
2. ผูซ
้ ื-อขาย  ผูล้ งทุน
3. นายหน้ าผูซ
้ ื-อขาย  บริษทั หลักทรัพย์

SET
7

ดัชนี SET Index


 เป็ นดัชนีราคาหุน้ ทีค$ าํ นวณ
ถัวเฉลีย$ ราคาหุน้ สามัญแบบถ่วงนําหนักด้วยจํานวนหุน้ จดทะเบียน
 ใช้สาํ หรับเปรียบเทียบตลาดหุน้ เมือ$ วานกับวันนี โดยจะเทียบกับ
ดัชนีราคาหุน้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันเปิ ดซือ ขายวันแรก คือ
วันที$ 30 เมษายน 2518 เท่ากับ 100 จุด
SET Index = มูลค่าตลาดรวมของวันนัน- * 100
มูลค่าตลาดรวมของวันฐาน
8
ความเคลือนไหวของดัชนี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีการพัฒนาไปตามสภาวการณ์
ทัง- ในและนอกประเทศ
วิกฤติสถาบันการเงิน
Morgan Stanley ปรับคําแนะนําการ
ดัชนี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ สิ- นเดือน ในเอเชีย (2540)
คลัง-ธปท. ประกาศ
เกิดรัฐประหาร
(ก.ย. 2549)
ลงทุนในไทยเป็ น overweight
(มี.ค. 2553)
ค่าเงินบาทลอยตัว
หน่ วย: จุด (ก.ค. 2540) มาตรการ
กันสํารอง 30% ประกาศ พ.ร.ก. ฉุ กเฉิน จาก
การได้รบั ความช่วยเหลือ (ธ.ค. 2549) สถานการณ์ฉุกเฉินใน กทม.
ดัชนี ตาํ สุดในปี 2519 ทีระดับ 76.43 จุดเมือวันที 17 มี.ค. 2519 จาก IMF (ส.ค. 2540)
วิกฤตเวิลด์คอม
(เม.ย. 2553)
ดัชนี สงู สุดในปี 2537 ทีระดับ 1,753.73 จุดเมือวันที 4 ม.ค. 2537 การปิ ดสถาบันการเงิน (มิ.ย. 2545) ประกาศยกเลิก
(ธ.ค. 2540) สงครามสหรัฐฯ กับอิรกั มาตรการกั น ธนาคารฯ ในยุโรปส่วนใหญ่ผา่ นการ
สํารอง 30% ทดสอบ stress test (ก.ค. 2553)
(ก.ค. 45-เม.ย. 46) (ก.พ. 2551)
วิกฤติคา่ เงินเปโซของ มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ เหตุการณ์ความไม่สงบใน
เม็กซิโก (ม.ค. 2538) (มี.ค. 2542) การแพร่ ระบาดของ อียปิ ต์ทวีความรุนแรงขึน
โรค SARS กลุ่มพันธมิตร
(ก.พ. 2554)
แบริง) ซิเคียวริตสี ใ์ น มาตรการกระตุน้ การใช้จ่าย (มี.ค. 46) ประชาชนเพื)อ
สิงคโปร์ขาดทุนจาก ภาคเอกชน (ส.ค. 2542) การฟื นตัวของ ประชาธิปไตย
การค้าตราสาร เศรษฐกิจประเทศ ปิ ดล้
อ ม ญี)ป่ ุนเกิดภัยสึนามิ
อนุ พนั ธ์ (ก.พ. 2538) มาตรการฟื นฟูสถาบันการเงิน (ม.ค.-ธ.ค. 46) สนามบิน (มี.ค. 2554)
เหตุการณ์จลาจล (14 ส.ค. 2542) (พ.ย. 2551)
ขัน รุนแรงจากการ การเลือกตัง รัฐบาลใหม่ การแพร่ ระบาดของ การจัดตัง รัฐบาลได้เร็วของ
ประท้วงพฤษภา (ม.ค. 2544) โรคไข้หวัดนก ศาลปกครองระงับ 76
1800
การเก็งกําไรจากการ ทมิฬ(พ.ค. 2535) (ม.ค.-ก.พ. 47) โครงการลงทุนในมาบ ไทยทําให้นักลงทุน
การลดนําหนักการ ตาพุด ต่างประเทศเชื)อมันใน)
1600 เพิม) ขึน ของราคา ความไม่สงบใน (ก.ย. 2552) เสถียรภาพของรัฐบาล
อสังหาริมทรัพย์ (2532) ลงทุนของMSCI (พ.ค. พืน ที) 3 จังหวัด
2544) ชายแดนภาคใต้ รัฐบาลดูไบขอเลื)อน (ก.ค. 2554)
คณะ รสช. ปฏิวตั ิ
1400
Mini Black (ก.พ. 2534) การก่อวินาศกรรมใน (ก.พ.- เม.ย. 47) ชําระหนีของบริษทั
เกิดรัฐประหาร สหรัฐฯ (11 ก.ย. 2544) การต่อต้านการ ดูไบ เวิลด์ ไทยเกิดอุทกภัยครัง ใหญ่
Monday
1200 (เม.ย. 2524) (ต.ค. 2532) สงคราม อ่าวเปอร์เซีย แปรรูป กฟผ. (พ.ย. 2552) (ต.ค. – ธ.ค. 2554)
เงินตึง และอัตรา (ส.ค. 2533) (ก.พ. - มี.ค. 47)
1000 ดอกเบีย สูงทัวโลก
) Black Monday แนวโน้มราคานํามันและ
(2524) (ต.ค. 2530) อัตราดอกเบีย เพิม) ขึน
800 (พ.ค. – ก.ค. 47)
วิกฤตการณ์นํามัน ยุบสภา
600
และปั ญหาบริษทั (พ.ค. 2529)
ราชาเงินทุน (2522) เกิดรัฐประหาร
400
(ก.ย. 2528)
200

0
2518

2519

2520

2521

2522

2523

2524

2525

2526

2527

2528

2529

2530

2531

2532

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554
ทีมา: SETSMART ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

จะเริมลงทุนในหุ้นต้องทําอย่างไร ใครช่วยบอกที..??
ขัน- ตอนการลงทุนในหุ้นสามัญ
1 2
กําหนด วิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน
วัตถุประสงค์
และระยะเวลา วิเคราะห์ วิเคราะห์
การลงทุน เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม วิเคราะห์บริษทั

เพือกําหนด เพือประเมิ นสถานการณ์ เพือเลือก


กลยุทธ์การลงทุน และผลกระทบของ บริ ษทั
ด้วยปัจจัยทาง และสัดส่วน เศรษฐกิ จทีมีต่อ ทีต้องการ
เทคนิ ค เงิ นลงทุน อุตสาหกรรม ลงทุน

3 4 5 6
ประเมิน หาจังหวะ ติดตามผล
การลงทุน ตัดสินใจซื-อขาย การลงทุน
มูลค่าทีแท้จริง

10
เตรียมความพร้อมก่อนการลงทุน

วัตถุประสงค์
ในการลงทุน เงินลงทุน

ภาระทีต้อง
ความเสียงทีรบั ได้
รับผิดชอบ
และผลตอบแทน
ทีต้องการ

11

2 รู้จกั หุ้นสักนิดก่อนคิดเทรด
รู้จกั หุ้นสามัญ
 เป็ นตราสารประเภทหุน้ ทุน
 ออกโดยบริษท ั จํากัดมหาชน
ทีต$ อ้ งการระดมเงินทุน
 ผูล้ งทุนมีสว่ นร่วมเป็ น
เจ้าของกิจการ
เจ้าของกิจการ
 มีสท ิ ธิเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ และลงคะแนนเสียง
เพือ$ ร่วมตัดสินใจในปั ญหาสําคัญๆ ของบริษทั
12
เข้าใจผลตอบแทนและความเสียง
ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นสามัญ
ไม่คงที$ ขึน อยูก่ บั
นโยบายของบริษทั
และผลประกอบการ หุ้นสามัญ

ของบริษทั ในปี นัน ๆ

เงินปันผล / หุ้นปันผล สิทธิในการจองซื-อหุ้นใหม่


ซื-อ ขาย
“ซื-อถูก ขายแพง”

กําไรจากการขายหุ้น

13

ความเสียงจากการลงทุนในหุ้นสามัญ

หุ้นสามัญ ความเสียงทางธุรกิจ

ความเสียงทางการเงิน

14
ผลกระทบทีเกิดขึน- จาก Corporate Action
Corporate Action คือ การประกาศดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ$งของ
กิจการ ซึง$ จะมีผลต่อมูลค่าของส่วนของผูถ้ ือหุ้น เช่น
• การเปลีย$ นแปลงนโยบายการดําเนินงาน
• การเปลีย$ นแปลงนโยบายทางการเงิน (โครงสร้างเงินทุน)
Stock Stock Right
Split Dividend Issue
จํานวนหุ้นจดทะเบียน มากขึน มากขึน มากขึน
ส่วนของผูถ้ ือหุ้น คงเดิม คงเดิม เพิม$ ขึน
มูลค่าต่อหุ้น ลดลง ลดลง ลดลง*
15

ภาษี จากการลงทุนในหุ้นสามัญ

ในตลาดหลักทรัพย์ฯ
กําไรจากการ
หุ้น ขายหุ้น
ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

นอกตลาดหลักทรัพย์ฯ
ถูกหักภาษี ณ ทีจ$ า่ ยตามอัตราก้าวหน้า
และต้องนํามารวมคํานวณตอนสิน ปี

ถูกหักภาษี ณ ทีจ่าย 10%


เงิ นปันผล โดยมีสทิ ธิเลือกไม่นําไปรวมคํานวณภาษี
หรือ เงิ นส่วน ตอนสิน ปี ได้ และถ้าเลือกนํามารวมคํานวณภาษี
แบ่งกําไร สิน ปี มีสทิ ธิได้รบั เครดิ ตภาษี เงิ นปันผล

16
ภาษี จากการลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
เครดิตภาษี เงินปันผล

เงินปันผล และ/หรือ เงินส่วนแบ่งกําไร x อัตราภาษี


100 - อัตราภาษี

อัตราภาษี เงินได้
ของนิติบคุ คลทีจ่ายเงินปันผล

17

เทรดหุ้นมันใจ
 ต้องวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน
3 และปัจจัยเทคนิค

วิธีการวิเคราะห์
1 2
การวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน การวิเคราะห์ทางเทคนิค

การค้นหากิจการและราคาที การค้นหาช่วงจังหวะเวลาที
เหมาะสมแก่การลงทุน เหมาะสมในการลงทุน
18
1 เรียนรู้วิธีวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน

การวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน
• มุง่ ประเมินมูลค่าทีแ$ ท้จริงของหลักทรัพย์ในปั จจุบนั เพือ$ ตัดสินใจซือ
หรือขาย
– ราคาตลาดของหลักทรัพย์ต$าํ กว่ามูลค่าทีแ$ ท้จริง (Underpriced)
ตัดสินใจ ซื-อ
– ราคาตลาดของหลักทรัพย์สงู กว่ามูลค่าทีแ$ ท้จริง (Overpriced)
ตัดสินใจ ไม่ซื-อ หรือ ขาย

19

องค์ประกอบของการวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน
การวิ เคราะห์เศรษฐกิ จ
องค์ประกอบทีต้องวิ เคราะห์เศรษฐกิ จมหภาค : วัฏจักรธุรกิ จ ผลิ ตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เบือ- งต้น
ผลผลิ ตอุตสาหกรรม อัตราดอกเบีย- ทัง- ในและต่างประเทศ นโยบายการคลัง นโยบายการเงิ น นโยบาย
เศรษฐกิ จอืนๆ ฯลฯ

การวิ เคราะห์อตุ สาหกรรม


องค์ประกอบทีต้องวิ เคราะห์ : วัฏจักรธุรกิ จ วงจรการขยายตัวของอุตสาหกรรม โครงสร้างการแข่งขัน
ของอุตสาหกรรม ฯลฯ

การวิ เคราะห์บริ ษทั


องค์ประกอบทีต้องวิ เคราะห์ : ประเภทของบริ ษทั ลักษณะของบริ ษทั ในเชิ งคุณภาพ (ขนาดของบริ ษทั
อัตราการขยายตัวในอดีต เป็ นต้น) ลักษณะของบริ ษทั ในเชิ งประมาณ ฯลฯ
หลักทรัพย์ทีให้อตั ราผลตอบแทน
กลุ่มหลักทรัพย์ หลักทรัพย์ ABC
สูงสุด ณ ระดับความเสียงหนึ ง
ทีเลือกลงทุน
(ABC) XYZ,KAP,MNO,JKL,PQR และหลักทรัพย์อืนๆ

20
1. การวิเคราะห์เศรษฐกิจ (Economic Analysis)
คือ การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจประเทศ
โดยรวม และปั จจัยทีต$ ่างๆ ทีม$ ผี ลกระทบ
ปั จจัยทางเศรษฐกิจทีผ$ ลู้ งทุนควรคํานึงถึง ได้แก่
 นโยบายเศรษฐกิจของประเทศ
 วัฎจักรธุรกิจ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ

21

นโยบายเศรษฐกิจของประเทศ
 นโยบายการคลัง งบประมาณแผ่นดิน ประกอบด้วยประมาณการรายรับและ
รายจ่ายของรัฐบาล
- งบประมาณสมดุล เกินดุล ขาดดุล
 นโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็ นผูด้ าํ เนินนโยบาย ได้แก่

- การเปลีย$ นแปลงเงินสํารองตามกฎหมาย
- การเปลีย$ นแปลงอัตราดอกเบีย ซือ ลด (Discount Rate)
- การซือ หรือขายหลักทรัพย์ในตลาดพันธบัตร (Open Market Operation)

22
วัฏจักรธุรกิจ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ
 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
1 (Gross Domestic Product : GDP)
5 Expansion
Revival ขยายตัว  ผลผลิตอุตสาหกรรม
ฟื- นตัว (Industrial Production)
 รายได้สว่ นบุคคล (Personal Income)
2
4
วัฏจักรธุรกิจ Boom  ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (Consumer Price Index)
รุ่งเรือง
Depression  ดัชนีราคาผูผ ้ ลิต (Producer Price Index)
ตกตํา
 อัตราการว่างงาน (Unemployment Rate)
3
Recession  อัตราดอกเบีย ในประเทศและอัตราดอกเบีย
ถดถอย ต่างประเทศ
 ปริมาณการขายปลีก (Retail Sales)

23

2. การวิเคราะห์อตุ สาหกรรม (Industry Analysis)


คือ การศึกษาศักยภาพในด้านการเติบโตของยอดขายและ
การทํากําไรของอุตสาหกรรมต่างๆ เพือ$ คัดเลือกอุตสาหกรรม
ทีเ$ หมาะสมน่าลงทุนทีส$ ดุ โดยต้องพิจารณาถึง
 วงจรชีวติ ของอุตสาหกรรม
 โครงสร้างการแข่งขันของอุตสาหกรรม

24
วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม (Industry Life Cycle)

25

โครงสร้างการแข่งขันของอุตสาหกรรม
เป็ นการจําแนกประเภทอุตสาหกรรม โดยจําแนกตามโครงสร้าง
ทางเศรษฐกิจ ซึง$ จําแนกออกเป็ น 4 ประเภท
 การแข่งขันสมบูรณ์ (Pure Competitions)
 การแข่งขันกึง$ สมบูรณ์ (Imperfect Competitions)
 ผูผ้ ลิตน้อยราย (Oligopoly)
 การผูกขาด (Monopoly)
26
3. การวิเคราะห์บริษทั (Company Analysis)
คือ การวิเคราะห์ขอ้ มูลของบริษทั เพือ$ หาบริษทั และ
ประเภทหลักทรัพย์ทน$ี ่าสนใจลงทุน ซึง$ จะต้องวิเคราะห์ทงั 
 วิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)
 วิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis)

27

การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
เป็ นการประเมินระดับความสามารถในการแข่งขันและทํา
กําไรของบริษทั ในด้านต่าง ๆ ทีไ$ ม่เกีย$ วข้องกับตัวเลข เช่น
 ขนาดของบริษท

 ลักษณะของผลิตภัณฑ์

 การกระจายของผลิตภัณฑ์

 โครงสร้างเงินทุน

28
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ

เป็ นการวิเคราะห์ตวั เลขต่าง ๆ ในงบ


การเงิน อันได้แก่ งบดุล งบกําไรขาดทุน ซึง$
ปกติจะใช้เครือ$ งมือวิเคราะห์อตั ราส่วนทาง
การเงิน และการประเมินราคาหลักทรัพย์
เป็ นหลัก

29

เรียนรู้วิธีการอ่านรายงานการเงินอย่างง่าย
งบดุล

30
งบกําไรขาดทุน

31

งบกระแสเงินสด

32
หมายเหตุประกอบงบการเงิน

33

การวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน
ROE

กําไรสุทธิ ยอดขาย สิ นทรัพย์รวม


x x
ยอดขาย สินทรัพย์รวม ส่วนของเจ้าของ

ความสามารถ
ในการทํากําไร ประสิทธิภาพ
การใช้สินทรัพย์ ความสามารถ
ในการก่อหนี-

34
อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio)
1. รู้สภาพคล่องของบริ ษทั
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) สินทรัพย์หมุนเวียน
หนีสนิ หมุนเวียน
2. รู้ประสิ ทธิ ภาพในการใช้สินทรัพย์ของบริ ษทั
อัตราหมุนเวียนของลูกหนี (Receivable Turnover) ขายเชือ$ สุทธิ
ลูกหนีเฉลีย$
อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover) ต้นทุนสินค้าการขาย
สินค้าคงเหลือเฉลีย$
3. รู้ความสามารถในการบริ หารงาน
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Asset) กําไรสุทธิ * 100
สินทรัพย์รวม
อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Return on Equity) กําไรสุทธิ * 100
ส่วนของผูถ้ อื หุน้
4. รู้ความสามารถในการชําระหนี-
อัตราส่วนแห่งหนี (Debt Ratio) หนีสนิ รวม
สินทรัพย์รวม
อัตราส่วนของแหล่งเงินทุน (Debt to Equity Ratio) หนีสนิ รวม
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 35

สรุปการวิเคราะห์อตั ราส่วนทางการเงิน
1. รูส้ ภาพคล่องบริษทั 2. รูป้ ระสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ของบริษทั

อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน สูง อัตราหมุนเวียนของลูกหนี สูง


(มีสภาพคล่องสูง) อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง สูง
(บริหารสินทรัพย์ได้ด)ี
3. รูค้ วามสามารถในการบริหารงาน 4. รูค้ วามสามารถในการชําระหนี- สิน

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ สูง อัตราส่วนแห่งหนี ตํา


อัตราผลตอบแทนจากส่วนผูถ้ อื หุน้ สูง อัตราส่วนหนีสนิ ต่อทุน ตํา
(มีผลประกอบการทีน$ ่าพอใจ) (มีความสามารถในการชําระหนีสนิ สูง)

36
ประเภทของหลักทรัพย์
หลังจากวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และบริษทั ทีค$ วรลงทุน เพือ$ ศึกษาถึง
ภาวะการลงทุนและประเภทของธุรกิจหรืออุตสาหกรรมทีจ$ ะเลือกลงทุนแล้ว ขัน
ต่อไปจะเป็ นการศึกษาถึงประเภทของหลักทรัพย์ โดยจําแนกได้เป็ น 4 ประเภท คือ
1. Growth Stock: ให้ผลตอบแทนสูงกว่าหุน้ อื$น ณ ระดับความเสีย$ งทีเ$ ท่ากันมีราคา
ตํ$ากว่ามูลค่าทีแ$ ท้จริง (Under Valued)
2. Defensive Stock: ให้อตั ราผลตอบแทนในระดับทีไ$ ม่ตกตํ$าตามตลาดหลักทรัพย์
หรือถ้าตกตํ$าลงก็จะไม่ต$าํ ลงเท่าตลาด มีคา่ เบต้าตํ$า
3. Cyclical Stock: มีการเปลีย$ นแปลงของอัตราผลตอบแทนมากกว่าการ
เปลีย$ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของตลาด มีคา่ เบต้าสูง
4. Speculative Stock: มีการเปลีย$ นแปลงของราคารวดเร็ว

37

การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์
 ใช้เป็ นเกณฑ์การตัดสินใจว่าจะซื-อหรือขายหุ้น
 เกิดจากการเปรียบเทียบระหว่างมูลค่าทีแ$ ท้จริงทีไ$ ด้จากการ
ประเมินกับราคาตลาด ณ ปั จจุบนั
ขาย
ซื-อ
มูลค่าทีแท้จริง มูลค่าทีแท้จริง
มากกว่า ราคาตลาด ณ ปัจจุบนั น้ อยกว่า ราคาตลาด ณ ปัจจุบนั

38
วิธีการประเมินมูลค่าหลักทรัพย์
1. การประเมินมูลค่าทีเหมาะสม (Intrinsic Value)
 แบบจําลองเงินปั นผลคิดลด (Dividend Discounted Model)

2. การประเมินมูลค่าทีตลาดตอบรับ
 ราคาตลาดต่อกําไรต่อหุน
้ (P/E Ratio : PER)
 ราคาตลาดต่อมูลค่าหุน
้ ตามบัญชี (Price to Book Value : PBV)

39

การประเมินมูลค่าทีเหมาะสม (Intrinsic Value)


แบบจําลองเงินปันผลคิดลด (Dividend Discounted Model : DDM)
 เป็ นการประเมินราคาหุน้ จากมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดทีน$ กั ลงทุนได้
 มีพนื ฐานมาจากหลักการ Discount Cash Flow ว่า มูลค่าของสินทรัพย์ ณ ขณะ
ใดๆ มีคา่ เท่ากับกระแสเงินสดทีจ$ ะได้รบั จากการลงทุนในสินทรัพย์นนั  ๆ ในอนาคต
ทัง หมดคิดลดมาเป็ นมูลค่าปั จจุบนั ด้วยอัตราผลตอบแทนทีน$ กั ลงทุนต้องการ

D1 D2 Dt Dt
P0 = + + ... + = ∑
(1 + k s )1 (1 + k s ) 2 (1 + k s )t t =1 (1 + k s )
t

โดยที$ P = มูลค่าทีแ$ ท้จริงของหุน้ สามัญ


Dt = เงินปั นผลในปี ท$ี t โดย t = 1,2,3…, 
ks = อัตราผลตอบแทนขัน ตํ$าทีน$ กั ลงทุนต้องการ (Required Rate of Return)
40
การประเมินมูลค่าทีตลาดตอบรับ
ราคาตลาดต่อกําไรต่อหุ้น (P/E Ratio : PER)
ราคาตลาดของหุ้น
P/E Ratio
กําไรต่อหุ้น (EPS)*
 เป็ นอัตราส่วนทีแ$ สดงว่า ราคาตลาดของหุน้ เป็ นกีเ$ ท่าของกําไรต่อหุน้
 นักลงทุนจะเต็มใจซือ หุน ้ นีในราคาเท่าใดเพือ$ แลกกับกําไรและเงินปั นผลทีจ$ ะได้รบั ในอนาคต
 หุน
้ ตัวนัน จะใช้เวลากีป$ ี ทผ$ี ลตอบแทนหรือกําไรทีบ$ ริษทั ทําได้จะรวมกันเท่ากับเงินทัง หมดที$
ใช้ซอื หุน้ ไป
*กําไรต่อหุ้น (EPS) = กําไรก่อนรายการพิ เศษ - เงิ นปันผลหุ้นบุริมสิ ทธิ
จํานวนหุ้นสามัญทีออกและเรียกชําระแล้ว
41

ราคาตลาดต่อกําไรต่อหุ้น (ต่อ)
เราสามารถใช้ P/E Ratio ประเมินมูลค่าทีเ$ หมาะสมของหุน้ สามัญได้โดย

มูลค่าทีเหมาะสมของหุ้นสามัญ = PER * EPS

หุน้ ทีม$ คี า่ P/E ระดับสูง แสดงว่า


 ผูล้ งทุนในตลาดยินดีจะจ่ายเงินลงทุนซือ หุน ้ ดังกล่าวในราคาสูง
 คาดหมายว่าผลกําไรของบริษท ั ผูอ้ อกหุน้ จะขยายตัวในอัตราทีส$ งู
 มีความเสีย$ งสูง

42
ราคาตลาดต่อกําไรต่อหุ้น (ต่อ)
ตัวอย่าง 1 หุน้ ข มีกําไรต่อหุน้ (EPS) เท่ากับ 3 บาท และราคาตลาดใน
ปั จจุบนั เท่ากับ 15 บาทต่อหุน้
PER = 15 / 3 = 5 เท่า
ถ้าสํารวจหุน้ ตัวอื$นในอุตสาหกรรมเดียวกันพบว่ามี PER เท่ากับ 7 เท่า
แสดงว่าราคาหุน้ ข ตํ$าเกินไป เพราะ หุน้ ข มี PER ตํ$ากว่าค่าเฉลีย$ ของ
อุตสาหกรรม
ดังนัน มูลค่าหุน้ ทีเ$ หมาะสมของหุน้ ข ควรมีคา่ เท่ากับ PER ของ
อุตสาหกรรม x EPS ซึง$ ก็คอื 21 บาท (คิดจาก 7 * 3)
43

ราคาตลาดต่อกําไรต่อหุ้น (ต่อ)
ตัวอย่าง 2 หุน้ ABC มีราคาปิ ด (Price) 100 บาท และมีกาํ ไรต่อหุน้ (Earnings Per Share)
20 บาท เพราะฉะนัน PER = 100 / 20 = 5 เท่า หมายความว่า หุน้ ABC ณ เวลาทีค$ าํ นวณ
นี จะใช้เวลาเพียง 5 ปี ในการทีก$ าํ ไรต่อหุน้ จะรวมกันเท่ากับราคาของมัน
ในทางกลับกัน ถ้าหุน้ DEF มีราคาปิ ด 200 บาท และมีกาํ ไรต่อหุน้ 20 บาท
เพราะฉะนัน PER = 200 / 20 = 10 เท่า หมายความว่า หุน้ DEF ณ เวลาทีค$ าํ นวณนี
จะใช้เวลา 10 ปี ในการทีก$ าํ ไรต่อหุน้ จะรวมกันเท่ากับราคาของมัน
เมือ$ เปรียบเทียบกันแล้ว หุ้น ABC มีคณ
ุ ภาพดีกว่าหุ้น DEF
กล่าวโดยสรุป คือ หุ้นทีมีค่า P/E Ratio ตํา กว่า แสดงว่า มีความสามารถในการ
ทํากําไรได้ดีกว่า หรือราคาหุ้นนัน- ตํา กว่าหุน้ ทีม$ คี า่ P/E Ratio สูง เมือ$ คิดจากประสิทธิภาพ
ในการดําเนินงาน หรือผลกําไรของบริษทั ทีอ$ อกหุน้ นัน
44
ราคาตลาดต่อมูลค่าหุ้นตามบัญชี (Price to Book Value : PBV)

คือ อัตราส่วนทีแ$ สดงว่าราคาซือ ขายของหุน้ เป็ นกีเ$ ท่าของมูลค่าหุน้ ตามบัญชี

ราคาตลาดของหุ้น
PBV Ratio
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (BPS)*
*มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (Book Value Per Share : BPS) คือ มูลค่าของ
สินทรัพย์ตามทีบ$ นั ทึกไว้ในบัญชีหกั หนีสนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ บุรมิ สิทธิ x หาร
ด้วยจํานวนหุน้ สามัญทีอ$ อกและเรียกชําระแล้ว
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (BPS) = ส่วนของผูถ้ ือหุ้นสามัญ (บาท)
จํานวนหุ้นทีออกและเรียกชําระแล้ว
45

ราคาตลาดต่อมูลค่าหุ้นตามบัญชี (ต่อ)
PBV บอกให้นกั ลงทุนทราบว่าราคาหุน้ ควรเป็ นกีเ$ ท่าของมูลค่าตามบัญชีของ
หุน้ หรือสินทรัพย์สทุ ธิทบ$ี ริษทั มีอยู่ ดังนัน จึงสามารถใช้ PBV ประเมินมูลค่า
ของหุน้ สามัญทีเ$ หมาะสมได้
มูลค่าทีเหมาะสมของหุ้นสามัญ = PBV * BPS

PBV ตํา แสดงว่า PBV สูง แสดงว่า


การดําเนินงานของบริษท
ั อาจมีปัญหา บริษท
ั มีแนวโน้มการทํากําไรและมีการเติบโตทีด$ ี
ความสามารถในการทํากําไรของบริษท
ั ไม่คอ่ ยดี ราคาตลาดของหุน
้ อาจสูงเกินไป
ราคาตลาดของหุน
้ อยูใ่ นระดับตํ$าเกินไป  มีความเสีย$ งสูงด้วย

46
ราคาตลาดต่อมูลค่าหุ้นตามบัญชี (ต่อ)
ตัวอย่าง 1 บริษทั หนึ$งมีสว่ นของผูถ้ อื หุน้ 40 ล้านบาท มีจาํ นวนหุน้ ทัง หมด 4 ล้านหุน้
BPS = 40 / 4 = 10 บาทต่อหุน้
ถ้าบริษทั มีคา่ PBV เท่ากับ 1.2 เท่า ราคาประเมินของหุน้ ควรเท่ากับ…
Price = PBV * BPS
= 1.2 * 10 = 12 บาท
ตัวอย่าง 2 ถ้าหุน้ ค มี ราคาตลาดเท่ากับ 9.85 บาท และ BPS เท่ากับ 4.14 บาท
ดังนัน
PBV = 9.85 / 4.14 = 2.83 เท่า
ในขณะนัน PBV ของอุตสาหกรรม คือ 3 เท่า ดังนัน มูลค่าทีเ$ หมาะสมของหุน้ ค
ควรเท่ากับ 12.42 บาท (คิดจาก 3 * 4.14) นันคื
$ อ PBV ของหุน้ ค ตํ$าไป เพราะราคา
ตลาดของหุน้ ค ตํ$าเกินไป สรุป นักลงทุนควรซือ หุน้ ค
47

สรุปการวิเคราะห์ปัจจัยพืน- ฐาน
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ, อุตสาหกรรม, บริษทั ประเมินมูลค่าหุ้น

Good Company + Good Stock

ซื-อหุ้น

แล้ว...ผูล้ งทุนควรซื-อหุ้นใน ช่วงเวลาไหน ???

การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค (Technical Analysis)


48
2 เรียนรู้วิธีวิเคราะห์ปัจจัยเทคนิค
วิเคราะห์พฤติกรรมของหลักทรัพย์ เพื$อหาช่วงเวลาที เหมาะสม ตามสัญญาณซือ
(Buy Signal) และสัญญาณขาย (Sell Signal) โดยวิเคราะห์จากราคาหลักทรัพย์
ปริมาณการซื-อขายและช่วงจังหวะเวลา โดยมิได้หาสาเหตุหรือปั จจัยทีท$ าํ ให้ราคา
หลักทรัพย์เปลีย$ นแปลง

ข้อสมมติฐาน
1. พฤติ กรรมของราคาหุ้นทีแสดงออกมานัน- ได้ดดู ซับเหตุการณ์ ทุกสิ งทุกอย่างทีเกิ ดขึน-
เอาไว้แล้ว (รวมทัง- ข้อมูลปัจจัยพืน- ฐานด้วย)
2. ราคาหุ้นจะยังคงเคลือนไหวไปตามแนวโน้ มเดิ มจนกระทังแนวโน้
 มเดิ มหมดลงจริ ง
3. รูปแบบหรือพฤติ กรรมของหุ้นทีเกิ ดขึน- ในอดีตสามารถทีจะนํามาใช้ได้ในปัจจุบนั และ
อนาคต

49

ทฤษฎีดาว (Dow Theory)


เป็ นการวิเคราะห์แนวโน้มราคาหุน้ ซึง$ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
ราคาหุ้น
1. แนวโน้ มใหญ่/แนวโน้ มหลัก
แนวโน้ มรอง (Primary Trend)
แนวโน้มหุน้ ระยะยาว
2. แนวโน้ มรอง (Secondary
Trend)
แนวโน้ มใหญ่ขึน- แนวโน้ มใหญ่ลง
แนวโน้มระยะกลาง
3. แนวโน้ มย่อย (Minor Trend)
เวลา แนวโน้มระยะเวลาสัน
50
แนวโน้ มและเส้นแนวโน้ ม
ราคาหลักทรัพย์มกั เคลื$อนไหวขึน ลงจนกลายเป็ นแนวโน้ม
(Trend) และแนวโน้มจะไม่เปลีย$ นทิศทางตราบจนมีปัจจัยมาส่งผล
ให้ราคาหุน้ เปลีย$ นทิศทาง

51

เส้นแนวโน้ มขึน-

ราคาหุ้นสูงสุดจะสูงกว่าราคาสูงสุดครัง-
ก่อน หรือราคาหุ้นตํา สุดจะสูงกว่าราคา
หุ้นครัง- ก่อน นัน คือราคาหุ้นเคลือนไหว
เป็ นแนวลาดขึน-

52
เส้นแนวโน้ มลดลง

ราคาหุ้นตํา สุดจะตํา กว่าราคาตํา สุด


ครัง- ก่อน หรือราคาหุ้นสูงสุดจะตํา กว่า
ราคาหุ้นครัง- ก่อน นัน คือราคาหุ้น
เคลือนไหวเป็ นแนวลาดลง

53

เส้นแนวโน้ มแนวราบ

ราคาหุ้นขึน- ลงอยู่ภายในช่วงแคบๆ ซึงการ


คาดการณ์ ราคาหุ้นทําได้ยาก จนกว่าจะมีปัจจัยมา
ทําให้ Demand และ Supply เปลียนแปลง ทําให้
ราคาหุ้นทะลุผา่ นช่วงราคาตํา สุดหรือสูงสุดไป

54
เส้นแนวรับและแนวต้าน

ราคาหุ้นสูงถึงแนวต้าน
จะมีแรงขายมาก ราคามี
แนวโน้ มไม่สงู ไปกว่านี-

ราคาหุ้นลดมาถึงแนวรับ
จะมีแรงซื-อเข้ามารองรับ
ราคามีแนวโน้ มไม่ลดตํา ลง

55

4 รู้จกั ช่องทางการลงทุน
1 การลงทุนผ่านเจ้าหน้ าทีการตลาด
 เป็ นการซือ ขายหลักทรัพย์ผา่ นเจ้าหน้าทีก$ ารตลาดของบริษทั หลักทรัพย์
 เจ้าหน้าทีก$ ารตลาดสามารถรับคําสังซื$ อ ขาย รวมทัง การยืนยันคําสังซื
$ อ
ขายว่าซือ หรือขายได้หรือไม่ ผ่านทางโทรศัพท์หรือทีห$ อ้ งค้าก็ได้
บริษทั หลักทรัพย์ คือ บริษทั ทีไ$ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
ประเภทการเป็ นนายหน้าซือ ขายหลักทรัพย์หรือค้าหลักทรัพย์
เจ้าหน้ าทีการตลาด คือ เจ้าหน้าทีข$ องบริษทั หลักทรัพย์ทท$ี าํ หน้าทีต$ ดิ ต่อ
ชักชวนรับคําสังซื
$ อ ขายหรือให้คาํ แนะนําเกีย$ วกับการลงทุนแก่ลกู ค้า

56
2 การลงทุนผ่านอินเตอร์เน็ต
โปรแกรมการซือ ขายหุน้ ทางอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยหน้าจอหลัก 3 ส่วน ดังนี
ส่วนที 1 เมนูหลัก และข้อมูลภาพรวมตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที 2
ข้อมูลทีแ$ สดง
ตามการเลือก
จากเมนูหลัก

ส่วนที 3 การส่งคําสังซื
$ อ ขาย และแสดงรายละเอียดคําสังพร้
$ อมสถานะ

57

ค่าคอมมิชชันผ่
 านช่องทางการลงทุน
ผ่านเจ้าหน้ าทีการตลาด ค่าคอมมิชชัน 0.18 - 1%

ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ค่าคอมมิชชัน 0.11 - 1%


มูลค่าการซื-อขายต่อวัน อัตราค่า Commission อัตราค่า Commission
(บาท) ผ่านเจ้าหน้ าทีการตลาด* ผ่านอิ นเตอร์เน็ต* (%)
(%) Cash Account Cash Balance/Credit Balance
X < 5 ล้าน > 0.25-1 > 0.20-1 > 0.15-1
5 ล้าน < X < 10 ล้าน > 0.22-1 > 0.18-1 > 0.13-1
10 ล้าน < X < 20 ล้าน > 0.18-1 > 0.15-1 > 0.11-1
X > 20 ล้าน อัตราทีตกลงกัน แต่ไม่เกิ นกว่าร้อยละ 1

* ค่าคอมมิชชันยั $ งไม่รวม VAT 7%


** เริม$ ใช้คา่ Commission แบบขัน บันได ตัง แต่วนั ที$ 1 ม.ค. 53 เป็ นต้นไป
58
ประเภทของบัญชีซื-อขายหลักทรัพย์
บัญชีเงิ นสด (Cash Account) บัญชีแคชบาลานซ์
 โบรกเกอร์จะกําหนดวงเงินซือ ขายให้คุณ (Cash Balance/Pre-paid/ Cash Deposit)
ตามความน่าเชือ$ ถือทางการเงิน  ฝากเงินไว้กบ ั โบรกเกอร์จาํ นวนหนึ$งก่อน
 ซือ ขายหุน
้ ได้ไม่เกินวงเงินนัน  ได้วงเงินซือ ขายหุน้ เท่ากับจํานวนเงินฝาก
 ชําระเงินค่าซือ ขายหุน
้ โดยตัดบัญชีธนาคาร  เงินฝากจะได้รบ ั ดอกเบีย **
(ระบบ ATS-Automatic Transfer System)  ถ้าต้องการซือ แต่วงเงินไม่พอ ก็สามารถโอนเงิน
เพิม$

ข้อดี วางเงินประกันเพียง 15-20% ของวงเงินอนุ มตั ิ ข้อดี ป้ องกันการซือ หุน้ มากเกินความสามารถ


ทําให้ไม่จาํ เป็ นต้องนําเงินลงทุนทัง หมดไปฝากไว้กบั ในการชําระเงิน
Broker ก่อนการลงทุน ข้อควรระวัง ไม่ได้รบั ประโยชน์จากการเพิม$
ข้อควรระวัง อาจซือ หุน้ มากเกินกว่าเงินลงทุนทีม$ อี ยู่ อํานาจซือ ของเงินทีม$ อี ยู่

** อัตราดอกเบีย เงินฝาก จะขึน อยูก่ บั แต่ละ Broker โดยคํานวณตามวันทีเ$ งินอยูใ่ นบัญชี


59

บัญชีเงินให้ก้ยู ืมเพือซื-อหลักทรัพย์ หรือ บัญชีมาร์จิ-น


(Margin Account)

 เป็ นบัญชีทผ$ี ลู้ งทุนจ่ายชําระค่าซือ หลักทรัพย์สว่ นหนึ$ง และกูย้ มื เงินจากโบรกเกอร์


อีกส่วนหนึ$ง
 โดยมีหลักทรัพย์ทซ$ี อื วางเป็ นหลักประกัน และมีขอ้ ตกลงว่า ผูล้ งทุนจะต้องจ่าย
ดอกเบีย สําหรับเงินในส่วนทีก$ ยู้ มื ด้วย
 ปั จจัยทีก$ าํ หนดหลักทรัพย์และอัตรามาร์จนิ โดยคํานึงถึงสภาพคล่อง ความผันผวน
ของราคา ความเสีย$ งของแต่ละหลักทรัพย์

60
สังซื
 -อสังขาย
 ง่ายนิดเดียว

1. วัน - เวลาทําการซือ ขายหลักทรัพย์


2. กระบวนการซือ ขายและส่งมอบหลักทรัพย์
3. การจับคูค่ าํ สังซื
$ อ ขายผ่านระบบคอมพิวเตอร์
4. การจัดเรียงลําดับคําสังตามหลั
$ ก Price Then Time Priority
5. ช่วงราคาและ Ceiling & Floor
6. ประเภทคําสังซื $ อ ขาย

61

วัน - เวลาทําการซื-อขายหลักทรัพย์
วันทําการ : วันจันทร์ – ศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดทําการของธนาคารพาณิชย์)
เวลาทําการ : 9.30 – 17.00 น.
9.30 T1 12.30 14.00 T2 16.30 T3 17.00

Pre - Trading Session I Intermission Pre - Afternoon Trading Call Off-hour


Trading and
Opening I Opening II Session Market Market
Runoff
Period

T1 เป็ นเวลาทีไ$ ด้รบั การสุม่ เพือ$ เลือกหาเวลาเปิ ดในช่วง 9.55 – 10.00 น.


T2 เป็ นเวลาทีไ$ ด้รบั การสุม่ เพือ$ เลือกหาเวลาเปิ ดในช่วง 14.25 – 14.30 น.
T3 เป็ นเวลาทีไ$ ด้รบั การสุม่ เพือ$ เลือกหาเวลาปิ ดในช่วง 16.35 – 16.40 น.
62
กระบวนการซื-อขายและส่งมอบหลักทรัพย์

สังซื
 -อ สังขาย


ผูซ้ ื-อ โบรกเกอร์ โบรกเกอร์ ผูข้ าย


ระบบการซื-อขาย
(SET CONNECT)
ยืนยัน ยืนยัน

ยืนยัน ยืนยัน

ชําระราคาและส่งมอบหุ้น
63

 -อขายผ่านระบบคอมพิวเตอร์
การจับคู่คาํ สังซื
Automatic Order Matching (AOM)
จับคู่อตั โนมัติโดยใช้หลักราคาและเวลาทีดีทีสดุ
• คําสังเสนอซื
 -อหุ้นตามราคา (Price Then Time Priority) • คําสังเสนอขายหุ
 ้นตามราคา
และหรือเงือนไขทีกาํ หนด และหรือเงือนไขทีกาํ หนด
• ราคาเสนอซื-อหุ้นทีแพงทีสุด SET CONNECT • ราคาเสนอขายหุ้นทีถกู ทีสุด
จะอยู่ในลําดับแรก จะอยู่ในลําดับแรก
• หากราคาเสนอซื-อทีแพงทีสุด • หากราคาเสนอขายทีถกู ทีสุด
มีมากกว่า 1 ราคา ราคา มีมากกว่า 1 ราคา ราคา
ั  -อก่อนจะได้อยู่ ใน
ทีสงซื ั  -อก่อนจะได้อยู่ใน
ทีสงซื
ลําดับแรก Advanced Resilience Matching ลําดับแรก
System
คําสังซื
 -อ (Bid) คําสังขาย
 (Offer)
 องรู้ช่วงราคา Ceiling/Floor
ก่อนส่งคําสังต้
และจํานวนซื-อขาย (ขัน- ตํา 1 Board Lot = 100 หุ้น)

64
การจัดเรียงลําดับคําสัง ตามหลัก Price Then Time Priority

Vol Bid Time Vol Offer Time


1,000 100 11:05 1,500 101 11:03
1,500 100 11:06 1,000 101 11:04
1,000 99.5 11:07 1,000 102 11:05
3,500 99 11:10 2,500 103 11:06

65

การจับคู่คาํ สัง ตามหลัก Price Then Time Priority


Bid 100 บาท Vol Bid Offer Vol
Vol Bid Offer Vol จํานวน 500 หุ้น
1,000 100 101 1,500 1,500 100 101 1,500
- ยังจับคู่ไม่ได้
- ถูกจัดเป็ น Bid ที 1,000 99.5 102 1,000
1,000 99.5 102 1,000 100 บาท

3,500 99 103 2,500 3,500 99 103 2,500


Bid 101 บาท จับคู่กบั คําสังขาย

Vol Bid Offer Vol Bid 102 บาท จํานวน 1,000 หุ้น ที 101 บาท
จํานวน 2,000 หุ้น
500 102 Vol Bid Offer Vol
103 2,500
-จับคู่กบั คําสังขายที
  1,500 100 101 500
1,500 100 101 และ 102 บาท
1,000 99.5 - จํานวนทีเหลือ 500 หุ้น 1,000 99.5 102 1,000
ตัง- รอเป็ น Bid ที 102 บาท
3,500 99 3,500 99 103 2,500
66
ช่วงราคา (Price Spread)
ราคาหลักทรัพย์ทจ$ี ะเสนอซือ หรือเสนอขายขึน กับระดับราคาตลาดของหลักทรัพย์
ระดับราคาตลาด ช่วงราคา
ตํ$ากว่า 2 บาท 0.01 บาท
ตัง แต่ 2 บาท แต่ต$าํ กว่า 5 บาท 0.02 บาท
ตัง แต่ 5 บาท แต่ต$าํ กว่า 10 บาท 0.05 บาท
ตัง แต่ 10 บาท แต่ต$าํ กว่า 25 บาท 0.10 บาท
ตัง แต่ 25 บาท แต่ต$าํ กว่า 100 บาท 0.25 บาท
ตัง แต่ 100 บาท แต่ต$าํ กว่า 200 บาท 0.50 บาท
ตัง แต่ 200 บาท แต่ต$าํ กว่า 400 บาท 1.00 บาท
ตัง แต่ 400 บาท ขึน ไป 2.00 บาท

67

ราคาเคลือ$ นไหวได้
ไม่เกิ น 30% ของ Ceiling & Floor Price Spread
ราคาปิ ด (Close)
ของวันทําการ
ก่อนหน้า

Price Spread
± 1 บาท

หุ้น PTT ราคา 321 บาท


100 หุ้น
68
ประเภทคําสังซื
 -อขาย
 คําสังซื
$ อ ขายทีร$ ะบุราคาแน่นอน (Limit Price Order)
– คําสังซื
$ อ ขายหลักทรัพย์ ณ ราคาทีก$ าํ หนดหรือราคาทีด$ กี ว่า (หรือตัง ซือ /ตัง ขาย)
 คําสังซื
$ อ ขายแบบมีเงือ$ นไขอืน$ ๆ ช่วงเวลา  -อขายทีส่งได้
ประเภทคําสังซื
– At-the-open order (ATO) First ช่วงก่อนเปิ ดตลาด - คําสังซื
 -อขายทีระบุราคา
– At-the-close order (ATC) Priority (Pre-Open) - คําสัง ATO
– Special Market Price (MP) ช่วงซื-อขาย - คําสังซื
 -อขายทีระบุราคา.
– Immediate or Cancel (IOC) (Market Open) - คําสัง MP
– Fill or Kill (FOK) ช่วงก่อนปิ ดตลาด - คําสังซื
 -อขายทีระบุราคา
– Iceberg Volume (Pre-close) - คําสัง ATC
** มีเฉพาะใน Internet Trading การส่งคําสังซื
$ อ ขาย ช่วงปิ ดตลาด - คําสังซื
 -อขายทีระบุราคา
ในช่วงปิ ดตลาดนัน จะถูกนํามาใช้ในการคํานวณหา (Market Close)**
ราคาเปิ ดของหุน้ นัน ๆ

69

ประเภทของกระดานซื-อขาย (Trading Boards)


 กระดานหลัก (.SET): รองรับการซือ ขายหลักทรัพย์ทม$ี ปี ริมาณหรือจํานวนหุน้ ทีต$ รง
ตามหน่วยการซือ ขาย (Board Lot)
 กระดานใหญ่ (Big Lot Board): รองรับการซือ ขายหลักทรัพย์ตงั  แต่ 1 ล้าน
หลักทรัพย์ขนึ ไป หรือมีมลู ค่าการซือ ขายตัง แต่ 3 ล้านบาทขึน ไป
 กระดานต่างประเทศ (.FOREIGN): รองรับการซือ ขายหลักทรัพย์ระหว่างผูล้ งทุน
ต่างประเทศด้วยกัน
 กระดานหน่ วยย่อย (Odd Lot Board): รองรับการซือ ขายหลักทรัพย์ต$าํ กว่า 1
หน่วยการซือ ขาย (Board Lot)
 กระดานพิเศษ: รองรับการซือ ขายพันธบัตร หุน้ กู้ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ หรือใบสําคัญ
แสดงสิทธิซืx อ หุน้ กู้
70
ซื-อขายให้ถกู กฎ ต้องรู้จกั เครืองหมาย

1. XD (Excluding Dividend): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิรบั เงินปั นผล


2. XI (Excluding Interest): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิรบั ดอกเบีย
3. XR (Excluding Right): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิจองซือ หุน้ ออกใหม่
4. XW (Excluding Warrants): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิทจ$ี ะซือ
หลักทรัพย์
5. XS (Ex Short-term Warrant): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิในการจอง
ซือ หลักทรัพย์ระยะสัน
6. XT (Ex Transferable Subscription Right): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิในการซือ หุน้ เพิม$
ทุนทีโ$ อนสิทธิได้

71

ซื-อขายให้ถกู กฎ ต้องรู้จกั เครืองหมาย (ต่อ)


7. XA (Excluding All): ผูซ้ อื หลักทรัพย์ไม่ได้สทิ ธิทกุ ประเภททีบ$ ริษทั ประกาศให้ในคราวนัน
8. NP (Notice Pending): บริษทั จดทะเบียนต้องรายงาน และตลาดหลักทรัพย์ฯ อยูร่ ะหว่าง
รอข้อมูลจากบริษทั
9. NR (Notice Received): ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้รบั การชีแ จงข้อมูลจากบริษทั จดทะเบียน
ทีข$ นึ เครือ$ งหมาย NP แล้ว และจะขึน เครือ$ งหมาย NR เป็ นเวลา 1 วัน
10. SP (Suspension): ห้ามซือ ขายหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็ นการชัวคราว $ โดยแต่ละครัง
มีระยะเวลาเกินกว่าหนึ$งรอบการซือ ขาย
11. H (Halt): ห้ามซือ ขายหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็ นการชัวคราวโดยแต่
$ ละครัง มีระยะเวลา
ไม่เกินกว่าหนึ$งรอบการซือ ขาย

72
5 ลงทุนหุ้นออนไลน์ ..ง่ายแค่คลิก
การลงทุนหุ้นออนไลน์ เหมาะกับใคร
 คนทีไม่เคยลงทุนแต่เล่นอินเทอร์เน็ตอยู่แล้ว
 คนทีไม่เคยลงทุนและชอบเรียนรูส้ ิ งใหม่ๆ
 คนทีมีงานประจําทําอยู่แล้ว และต้องการลงทุนเพิมเติมจากงาน
ประจําโดยไม่มีเงือนไขเรือ งสถานทีและเวลา
 คนทีต้องเดินทางไปต่างประเทศ หรือต่างจังหวัดบ่อยๆ
 คนทีชอบศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ และ ตัดสินใจเอง
 คนทีเคยเปิดบัญชีซื-อขายหลักทรัพย์แบบดัง- เดิม ต้องการลดต้นทุน
การลงทุน หรืออิสระในการตัดสินใจเองมากขึน-
73

เคล็ด(ไม่)ลับ เลือกโบรกเกอร์ออนไลน์ ก่อนเปิดบัญชี


 ฐานะทางการเงินมันคง $ ดูได้จากงบการเงินของบริษทั
 ระบบการบริหารงานของบริษทั โปร่งใสและมีประสบการณ์
 บริการข้อมูล บทวิเคราะห์ และเครือ$ งมือช่วยตัดสินใจลงทุน น่ าเชือถือ รวดเร็ว มี
เครือ งมือช่วยวิเคราะห์ เช่น กราฟเทคนิค
 ค่าธรรมเนียมขัน ตํ$า* เปรียบเทียบแต่ละโบรกเกอร์ บริการทีมีให้เหมาะสมกับ
ค่าธรรมเนี ยมซื-อขายหรือไม่
 การให้บริการแก่ลกู ค้าก่อนและหลังการซื-อขาย เต็มใจช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา
 บริการเสริม เช่น บริการซื-อขายหุ้นผ่านโทรศัพท์มือถือ iPhone หรือ Smart Phone
หรือ มีกิจกรรมให้ความรูล้ กู ค้าเป็ นระยะ
* ดูเงือ$ นไขเปรียบเทียบทุกโบรกเกอร์ได้ท$ี www.settrade.com

74
การเปิดบัญชีซื-อขายหุ้นผ่านอินเทอร์เน็ต
เลือกเปิดบัญชีกบั โบรกเกอร์ทีถกู ใจ รวดเร็ว ง่าย ไม่มีค่าใช้จ่าย

เอกสารประกอบการเปิ ดบัญชี
สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน
สําเนาทะเบียนบ้าน
สําเนาสมุดบัญชีออมทรัพย์(หน้าแรกทีม$ เี ลขทีบ$ ญ
ั ชี)
สําเนาบัญชีเงินฝากธนาคารย้อนหลัง 3-6 เดือน (กรณีขอเปิ ดบัญชีประเภทหักบัญชีธนาคารอัตโนมัต)ิ
ค่าอากรแสตมป์ 30 บาท
75

วิธีการซื-อขายหุ้นทางอินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์
• Login โดยใช้ Username และ Password ทีได้รบั จาก Broker ทีเปิ ดบัญชี
• Login ได้ 2 ช่องทาง
– เว็บไซต์ของ Broker ทีเปิ ดบัญชีไว้ โดยพิมพ์ระบุ URL ของเว็บนัน
เช่น www.maybank-ke.com, www.bualuang.com เป็ นต้น
– เว็บไซต์ www.settrade.com (ระบุโบรกเกอร์ STT ทีต$ นมีบญ ั ชี)

76
1. หน้ าจอเมือ Login เข้าสู่ระบบ
ฟั งก์ชนหลั
ั $ กคล้ายคลึงกันในแต่ละโบรกเกอร์ จะสังซื
$ อ ขายให้เลือก Online Trading

77

2. Place Order การส่งคําสังซื


 -อขายหุ้น
ซื-อ หุ้น PTT 100 หุ้น 328 บาท รหัส PIN Submit

 -อขาย แยกคนละสี พร้อม pop-up ให้ตรวจสอบยืนยัน ป้ องกันการคียผ์ ิ ดพลาด


สังซื

ขาย หุ้น SCC 100 หุ้น 460 บาท รหัส PIN Submit

78
3. ยืนยันคําสังซื
 -อขายหุ้น
หลังจาก Submit โปรแกรมจะให้ยนื ยันความถูกต้องของคําสังอี
$ กครัง

เมือ$ ตรวจสอบถูกต้อง คลิก Buy / Sell เพือ$ ยืนยันส่งคําสังเข้


$ าระบบ หาก
ถูกต้องตามกลไกซือ ขายทัง หมด คําสังจะไปเข้
$ าคิวตามภาพรอการจับคู่
ในระบบการซือ ขาย

79

4. ยกเลิกคําสังซื
 -อขายหุ้นได้ตลอดเวลาตามต้องการ

1. คลิกเลือกคําสังที
$ ต$ อ้ งการยกเลิก แล้วคลิกปุ่ม Cancel
2. ใส่ PIN No. 2
3. ตรวจสอบถูกต้องแล้วคลิกปุ่ม Confirm Cancel
3
4. สถานะคําสังจะถู
$ กยกเลิกทันที ดังแสดงในภาพ

4
80
5. Portfolio ตรวจมูลค่าหุ้นในพอร์ตเทียบกับราคาตลาด

ติดตามผลกําไร/ขาดทุน
ของหุน้ ในพอร์ต

81

6. สังซื
 -อขายหุ้นเท่าไหร่ดี 3-Bid 3-Offer ช่วยคุณได้
• แสดงคําสังเสนอซื
$ อ (Bid) และคําสังเสนอขาย
$
(Offer) 3 ลําดับแรกของหุน้ พร้อมกราฟราคา
ระหว่างวัน
• ช่วยให้รวู้ า่ มีควิ รออยูท่ ร$ี ะดับราคาใด จํานวน
เท่าไร
• ช่วยในการตัดสินใจว่าควรตัง ราคาซือ ขายที$
ราคาใดจึงจะถูกจับคู่

82
7. Ticker รู้ภาวะและทิศทางหุ้นวินาทีต่อวินาที
ช่วยให้เห็น Market Sentiment ว่าหุน้ ขึน หรือลง หรือกําลังนิยมซือ หรือขายหุน้ ตัวใด

83

8. Quote ดูข้อมูลเชิงลึกของหุ้นทีสนใจ

• ข้อมูลซือ ขายหุน้ รายตัวแบบเรียลไทม์


ช่วยในการตัง คําสังซื
$ อ ขายและติดตาม
ตลาด
• ข้อมูลพืน ฐานของบริษทั ปั จจุบนั และ
ย้อนหลัง
• ราคาหุน้ ย้อนหลังวันต่อวัน
• กราฟระหว่างวันและย้อนหลัง
ช่วยดูแนวโน้มหุน้ พร้อมกราฟเทคนิค
ช่วยดูจงั หวะซือ ขาย

84
9. Set Preference ตัง- ค่าหน้ าจอได้ตามใจคุณ

85

6 รอบรู้เรืองสิทธิและหน้ าทีของผูล้ งทุน


สิทธิและหน้ าทีของผูล้ งทุนในฐานะลูกค้าของโบรกเกอร์
สิทธิ ของผู้ลงทุนในฐานะลูกค้าของโบรกเกอร์
 ได้รบั คําแนะนําทีด$ ี (Good Advice) เหมาะกับวัตถุประสงค์ และข้อจํากัดการลงทุน
ได้รบั บทวิเคราะห์หนุ้
 มีการส่งคําสังซื
$ อ ขายหลักทรัพย์ทเ$ี ป็ นธรรม ได้ราคาดีทส$ี ดุ (Best Execution) และ
รวดเร็ว
 ได้รบ ั เอกสารการทําธุรกรรมเพือ$ ใช้ตรวจสอบความถูกต้อง
 ทรัพย์สน ิ ของลูกค้าได้รบั การดูแลเป็ นอย่างดี ทัง เงินและหุน้ ทีฝ$ ากไว้ รวมทัง สิทธิ
ประโยชน์อ$นื ทีจ$ ะได้รบั เช่น เงินปั นผล การจองซือ หุน้ เพิม$ ทุน/ใบสําคัญแสดงสิทธิ
 สามารถร้องเรียนกรณีไม่ได้รบ ั ความเป็ นธรรมหรือไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา
86
สิทธิ ของผูล้ งทุนในฐานะลูกค้าของโบรกเกอร์ (ต่อ)
เลือกโบรกเกอร์ทีมี CLASS
C – Capital มีทุนเพียงพอหรือฐานะการเงินทีม$ นคงั$
L – License ได้รบั ใบอนุ ญาตในการประกอบธุรกิจและเจ้าหน้าที$
การตลาดขึน ทะเบียนกับ ก.ล.ต.
A – Advice ให้คาํ แนะนํา/รายงานวิจยั ทีเ$ หมาะสมตามหลักวิชา
S – System & Control มีระบบการปฏิบตั งิ านและระบบควบคุมภายในทีด$ ี
รวมทัง มีระบบรับข้อร้องเรียน
S – Staff มีความพร้อมด้านบุคลากรทีม$ คี วามรูค้ วามสามารถ
และมีจรรยาบรรณ

87

หน้ าที ของผูล้ งทุนในฐานะลูกค้าของโบรกเกอร์


 ให้ขอ้ มูลทีต
$ รงตามความเป็ นจริง โบรกเกอร์จะได้ให้คาํ แนะนําทีเ$ หมาะสม
 ศึกษาและทําความเข้าใจหนังสือหรือสัญญาก่อนลงนาม
 เก็บสําเนาเอกสารต่าง ๆ ไว้เป็ นหลักฐานเพือ$ ตรวจสอบความถูกต้อง
 ตรวจสอบความถูกต้องในเอกสารทีโ$ บรกเกอร์จดั ส่งให้ เช่น ใบยืนยันการ
ซือ ขาย (ใบ Confirm) รายงานทรัพย์สนิ คงเหลือรายเดือน (Statement)
 หากเอกสารไม่ถก
ู ต้องหรือไม่ได้รบั เอกสารต้องแจ้งให้ Back Office ทราบ
 ให้ความร่วมมือในการปฏิบตั ต
ิ ามระบบทีโ$ บรกเกอร์วางไว้
88
ปฏิบตั ิ ตามระบบทีโบรกเกอร์วางไว้
สิงทีควรทํา
1. สังซื
$ อ ขายหุน้ ทีห$ มายเลขโทรศัพท์ทโ$ี บรกเกอร์กาํ หนด (ผ่านระบบบันทึกเทป)
2. เขีย นใบคํ า สัง$ ซื อ ขายหรื อ ใบยกเลิ ก ทุ ก ครัง ที$ ส ัง$ ซื อ ขายหุ้ น ณ ที$ ทํ า การ
โบรกเกอร์และเก็บไว้เป็ นหลักฐาน
3. ตรวจสอบข้อมูลการซือ ขายในใบ Confirm และ Statement ทีโ$ บรกเกอร์สง่ ให้ทุก
ครัง หากพบว่าไม่ถกู ต้องหรือไม่ได้รบั เอกสารให้รบี ติดต่อ Back Office
4. ชําระเงินค่าซือ หุน้ ให้โบรกเกอร์เท่านัน และเก็บสําเนาไว้เป็ นหลักฐาน
5. เมือ$ มีการเปลีย$ นแปลงข้อมูล แจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรต่อ Back Office เท่านัน

89

ปฏิบตั ิ ตามระบบทีโบรกเกอร์วางไว้ (ต่อ)


DON’Ts ... ป้ องกันช่องทางทีทาํ ให้เกิดการทุจริต
1. อย่ามอบอํานาจให้เจ้าหน้าทีก$ ารตลาด ตัดสินใจซือ ขายหุน้ ในบัญชี
เป็ นผูร้ บั เอกสารสําคัญ เป็ นผูร้ บั ส่งมอบหุน้ หรือเปลีย$ นแปลงข้อมูล
2. อย่ายินยอมให้เจ้าหน้าทีก$ ารตลาดใช้บญ ั ชีซอื ขายหลักทรัพย์เพือ$ บุคคลอืน$
3. อย่าส่งคําสังซื$ อ ขายหุน้ ผ่านโทรศัพท์มอื ถือของเจ้าหน้าทีก$ ารตลาด
4. อย่าเซ็นชือ$ ในเอกสารเปล่า (Blank Form)
5. อย่าสังจ่$ ายเช็คเงินสดหรือเช็คขีดคร่อม
6. อย่าให้กยู้ มื เงินแก่เจ้าหน้าทีก$ ารตลาด
7. อย่าร่วมมือกับเจ้าหน้าทีก$ ารตลาดในการหลีกเลีย$ งการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ของบริษทั
หรือทางการ เพราะอาจเข้าข่ายปฏิบตั ผิ ดิ กฎหมายด้วย
90
สิทธิและหน้ าทีของผูล้ งทุนในฐานะผูถ้ ือหุ้น
สิทธิ ของผูล้ งทุนในฐานะผูถ้ ือหุ้น
1. ได้รบั ผลตอบแทนจากการดําเนินงานของบริษทั : เงินปั นผลและกําไรจากการขายหุน้
2. สิทธิทีจะได้รบั ข้อมูล: งบการเงิน หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานการประชุม และ
รายงานประจําปี
3. ออกเสียงในการบริหารงานบริษทั : การแต่งตัง กรรมการและผูส้ อบบัญชี กําหนดข้อบังคับ
ของบริษัท ติด ตามและตรวจสอบการทํา งานของกรรมการบริษัท ตรวจสอบและรับ รอง
งบการเงินของบริษัท การเพิม$ /ลดทุน การให้หุ้นแก่ผูบ้ ริหารและพนักงาน การทําธุรกรรม/
สัญญาทีม$ ขี นาดใหญ่กบั บุคคลทีเ$ กีย$ วข้องกับผูบ้ ริหารหรือผูล้ งทุนรายใหญ่ของบริษทั การผ่อน
ผันการทําคําเสนอซือ และการเพิกถอนหุน้ ออกจากตลาดหลักทรัพย์ฯ

91

หน้ าที ของผูล้ งทุนในฐานะผูถ้ ือหุ้น


1. ติดตามข้อมูลข่าวสารเกีย$ วกับการดําเนินงานของบริษทั ผูบ้ ริหาร และ
กรรมการ เช่น ข่าวการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานรายไตรมาส/ปี
การเปลี$ยนแปลงการถือหุ้นของผูบ้ ริหาร/ผูถ้ อื หุ้นรายอื$นที$จะมีอํานาจ
ในการบริหารบริษทั
2. ศึกษาข้อมูลในหนังสือนัดประชุม และเอกสารต่างๆ ทีบ$ ริษทั ส่งให้
3. เข้าประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ$ ใช้สทิ ธิออกเสียงในการบริหารบริษทั
4. ใช้สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้ ในการสอบถามข้อมูล และแสดงความคิดเห็น

92

You might also like