You are on page 1of 19

1

การดูแลผูปวยมะเร็งซึ่งมารับการรักษาดวยยาเคมีบําบัด
ศ.พ.ญ.สุมิตรา ทองประเสริฐ
หนวยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

โรคมะเร็งเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทย อัตราการตายจากโรคมะเร็งพบ
มากขึ้นเรื่อยๆ จากเดิมโรคมะเร็งเปนสาเหตุของการเสียชีวิตของผูปวยอันดับสามรองจากอัตราตาย
จากอุบัติเหตุและโรคหัวใจ แตในปจจุบันโรคมะเร็งเปนสาเหตุของการเสียชีวิตของผูปวยเปน
อันดับหนึ่ง มะเร็งที่พบบอยในประเทศไทยไดแก มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเตานม มะเร็งปาก
มดลูก มะเร็งรังไข มะเร็งบริเวณชองปากและคอ เปนตน

มะเร็งคืออะไร
รางกายของมนุษยเราประกอบขึ้นมาจากกลุมของเซลลซึ่งมีขนาดเล็กมาก (มองไมเห็นดวย
ตาเปลา) เซลลเล็กๆ เหลานี้จะรวมกันเปนกลุมเนื้อเยื่อและอวัยวะในรางกายมนุษย ไดแก สมอง
ตับ ไต และปอด ซึ่งอวัยวะแตละอยางลวนมีหนาที่เฉพาะ โดยปกติเซลลจะมีการแบงตัวเปน
ระยะๆ (เปนลําดับ) เพื่อซอมแซมหรือทดแทนเซลลเดิม เมื่อมีโรคเกิดขึ้น ขบวนการแบงตัวของ
เซลลดังกลาวอาจถูกเปลี่ยนแปลงไดหลายวิธี เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เชน ในกรณีของโรคมะเร็ง
การเพิ่มจํานวนเซลลจะเกิดขึ้นโดยไมอยูภายใตการควบคุมทําใหเกิดกอนเนื้อผิดปกติซึ่งกอนเนื้อ
ผิดปกติแบงออกเปน 2 ชนิด เรียกเปน benign กับ malignant ลักษณะของกอนเนื้อ
ชนิด benign คือกอนเนื้อซึ่งมีการเจริญของจํากัดอยูในบริเวณที่จําเพาะ เมื่อใหการรักษาโดย
การผาตัดเอากอนออกแลวมักไมมีปญหาตอเนื่อง(หาย)

กรณีที่เปนกอนเนื้อชนิด malignant หรือมะเร็ง(cancer) ลักษณะสําคัญคือจะมี


การแพรกระจายไปสูอวัยวะขางเคียง และกระจายเขาสูกระแสเลือด โดยเซลลมะเร็งจะไปฝงตัว
อยูในอวัยวะอื่นที่หางออกไปจากจุดเริ่มตน ทําใหเกิดรอยโรคขึ้นในตําแหนงใหมเรียกวา
metastases หรือ secondaries นอกจากการกระจายผานหลอดเลือดเซลลมะเร็งอาจ
กระจายเขาสูระบบน้ําเหลืองซึ่งมีอยูทั่วรางกาย ฉะนั้นเซลลมะเร็งอาจกระจายโดยทางระบบ
น้ําเหลืองไดดวย
2

สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง
1. บุหรี่ เปนสาเหตุสําคัญของโรคมะเร็งหลายชนิด ไดแก มะเร็งปอด มะเร็งชองปาก มะเร็ง
หลอดอาหาร และมะเร็งกลองเสียง เปนตน
2. อาหาร เปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอาหารที่อุดมดวยไขมัน การเกิด
มะเร็งเตานมและมะเร็งลําไสใหญมีความสัมพันธกับปริมาณไขมันในอาหาร การบริโภค
อาหารที่มีเสนใยสูง จะชวยลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งดังกลาว สารอาหารอื่นๆ เชน ไวตามิน
และ/หรือ เกลือแร อาจจะมีผลตอการเกิดโรคมะเร็งได
3. สารกอมะเร็ง เชน สารอะฟลาทอกซินที่เกิดจากเชื้อราในอาหาร สารไนโตรซามีนซึ่งพบจาก
อาหารหมักดองเปนตัวสงเสริมการเกิดมะเร็ง
4. กัมมันตรังสีตางๆ เชน รังสีเอ็กซเรย รังสีจากแสงอาทิตย
5. ฮอรโมนหรือยาบางชนิด
6. กรรมพันธุ มะเร็งบางชนิดมีการถายทอดความผิดปกติตอเนื่องไปยังลูกหลานได
7. ไวรัส เชน ไวรัสตับอักเสบบี, papilloma virus เปนตน

การปองกันโรคมะเร็ง แบงออกเปน 3 ขั้นตอน


ขั้นที่ 1 คือการหลีกเลี่ยงจากสาเหตุของโรคมะเร็ง
ขั้นที่ 2 การเฝาระวังโดยการตรวจรางกาย การตรวจคนหารอยโรคหรือการตรวจคนหามะเร็ง
ระยะแรกเริ่ม
ขั้นที่ 3 การรักษาโรคมะเร็ง

เมื่อเปนโรคมะเร็งแลว จะมีวิธีการรักษาอยางไร
การผาตัด มีบทบาทในการวินิจฉัยโรคและการรักษาโรคมะเร็งในระยะที่รอยโรคจํากัดอยู
เฉพาะที่ยังไมแพรกระจาย (สวนใหญใชสําหรับมะเร็งระยะ 1, 2 และ/หรือ ระยะ 3 บางราย)
การฉายรังสี มีบทบาทในการรักษามะเร็งในระยะเดียวกับการผาตัด แตผูปวยนั้นๆ ไม
สามารถผาตัดได เนื่องจากมีโรคประจําตัวอื่นๆ รวมดวย หรือรอยโรคอยูในบริเวณซึ่งไมสามารถ
ผาตัดไดนอกจากนั้นยังสามารถใชบรรเทาอาการในกรณีที่ผูปวยมีอาการจากการแพรกระจายของ
มะเร็งไปสูอวัยวะอื่น เชน สมอง ประสาทไข สันหลัง กระดูกเปนตน
ยาเคมีบําบัด มีบทบาทในการรักษามะเร็งระยะแพรกระจาย (ระยะ 4) และยังมีบทบาท
เสริมในกรณีที่ผูปวยมะเร็งระยะ1, 2 และระยะ 3 บางรายซึ่งผูปวยเหลานี้ไดรับการรักษาดวยการ
ผาตัดและ/หรือฉายรังสีแลว สวนใหญจะใหยาเคมีบําบัดเสริมแกผูปวยมะเร็งซึ่งมีคุณสมบัติ
แพรกระจายตั้งแตเริ่มตน ไดแกมะเร็งเตานม มะเร็งลําไสใหญ เปนตน
3

สารชีวภาพและการรักษาเฉพาะเจาะจง มีเปาหมายที่ชัดเจน มีบทบาทเชนเดียวกับยาเคมี


บําบัด แตจะมีประสิทธิภาพสูง บางครั้งจะใชสารชีวภาพรวมกับยาเคมีบําบัดดวย

เมื่อไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคมะเร็งแลวจะมีโอกาสหายหรือไม
ผูปวยโรคมะเร็งที่มีโอกาสหายได ไดแก
1. ผูปวยซึ่งไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคมะเร็งระยะแรก (ระยะ 1) ซึ่งโรคยังจํากัดอยู
เฉพาะที่ สวนใหญจะหายจากโรคได เมื่อไดรับการรักษาโดยการผาตัดและ/หรือ
ฉายรังสี และ/หรือยาเคมีบําบัด
2. ผูปวยมะเร็งตั้งแตระยะ 2, 3 ไปถึงระยะแพรกระจาย (ระยะ 4) บางชนิด เชน มะเร็ง
เม็ดโลหิตขาวในเด็ก มะเร็งตอมน้ําเหลือง มะเร็งเนื้อรก ฯลฯ ผูปวยเหลานี้บางราย
สามารถหายจากโรคได เมื่อรักษาดวยยาเคมีบําบัดและ/หรือ การรักษาผสมผสานคือ
ใชวิธีการรักษาหลายวิธีรวมกัน
สิ่งที่สําคัญที่ผูปวยโรคมะเร็งและญาติจะตองคํานึงถึงในการตัดสินใจรับการรักษาคงไมใช
คําถามที่วา “จะหายหรือไม” แตควรจะเปนการตัดสินใจบนพื้นฐานของขอมูล ซึ่งแพทยผูรักษาจะ
ใหขอมูลเกี่ยวกับวิธีการรักษา ผลซึ่งคาดวาจะเกิดเมื่อผูปวยไดรับการรักษาดวยวิธีการดังกลาว
ตลอดจนถึงผลขางเคียงจากวิธีการรักษานั้นๆ

จําเปนหรือไมที่ผูปวยจะตองทราบวาเปนโรคมะเร็ง
โดยหลักการผูปวยทุกรายตองทราบวาตนเองนั้นปวยเปนโรคอะไร ทั้งนี้เพื่อผูปวยจะไดมี
เวลาเตรียมตัวทั้งในแงการรักษาโรค การจัดการภาระกิจตางๆ ซึ่งอาจจะไมสามารถกระทําได
ตามปกติ สวนใหญญาติมักจะแจงความประสงควาไมอยากใหผูปวยทราบความจริง เนื่องจากเกรง
วา ผูปวยจะไมสามารถปรับตัวไว ซึ่งผูปวยมะเร็งจะมีการแสดงออกของปฏิกิริยาทางจิตใจ
แบงเปน
ก. ปฏิกิริยาตอการยอมรับวาเปนโรคมะเร็ง พบไดในผูปวยที่เปนโรครายแรงและคุกคาม
ชีวิตทุกโรค แตปฏิกิริยาที่มีตอการเปนโรคมะเร็งมีมากกวาโรคอื่น ขั้นตอนของการ
แสดงออกทางอารมณและพฤติกรรมของผูปวยภายหลังไดรับทราบ หรือมีความ
สงสัยวาตนเปนโรคมะเร็ง ไดแก
1. ตกใจและปฏิเสธความจริง ผูปวยตกใจตอการที่ทราบหรือสงสัยวาตนเปนโรคราย
ที่รักษาไมหายและอาจตองเสียชีวิตในเวลาอันใกล อาจมีอาการ “ชอค” กังวลสูง
สับสน ซึมเฉย หรือถาตกใจมาก ผูปวยบางรายอาจเอะอะโวยวาย ควบคุม
อารมณไมได ในระยะนี้ผูปวยจะปฏิเสธความจริง ปฏิเสธวาตนไมไดเปน
โรคมะเร็ง อาจโทษวาแพทยตรวจผิด ผูปวยจะพยายามหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อลบ
4

ผลการตรวจของแพทย อาจไปหาแพทยหลายคนเพื่อใหยืนยันวาตนไมเปน
โรคมะเร็ง
2. กังวล สับสน และโกรธ เมื่อไมสามารถปฏิเสธความจริงไดตอไป ผูปวยเริ่มมี
ความกังวลสูงมาก ความคิดสับสน รูสึกอึดอัดและหาทางออกไมได รูสึกโกรธ
ที่ตนตองเผชิญกับปญหาที่รายแรง อาจโทษวาเปนความผิดของแพทยหรือผูอื่น
บางรายอาจแสดงวาจาหรือกิริยาที่กาวราวมีการตอตานการตรวจและไมยินยอมรับ
คําแนะนําของแพทย โกรธญาติและคนอื่นๆ
3. ตอรอง ตอมาผูปวยจะเริ่มสงบลง เริ่มตอรองวาตนอาจจะไมเปนโรครายแรง
บางรายอาจจะกลับไปสูระยะปฏิเสธความจริงไดอีก บางรายก็มีความหวังวาจะมี
การตรวจเพิ่มเติมที่ละเอียดขึ้นและพบวาตนไมเปนมะเร็ง หรือเปนชนิดที่ไม
อันตรายและรักษาได ทั้งนี้ก็เพื่อสรางความหวังใหกับตนเอง และยืดเวลากอนที่
จะยอมรับความจริงไปอีกสักระยะหนึ่ง
4. เศรา และหมดหวัง ผูปวยจะเริ่มรูสึกหมดหวังและเศราโศกเสียใจเมื่อยอมรับ
ความจริงของการเปนโรคราย หลังจากที่การปฏิเสธและการตอรองไมเปน
ผลสําเร็จ ผูปวยจึงตองยอมจํานนดวยเหตุผล แตจิตใจของผูปวยยังไมสามารถ
ยอมรับได ระยะนี้ผูปวยจะมีอารมณซึมเศรา มีความรูสึกผิด รูสึกอางวาง พูด
และทําสิ่งตางๆ นอยลง แยกตัว ชอบอยูคนเดียว เหมอลอยกินไมได นอนไม
หลับ อาจมีความรูสึกอยากตาย หรือถาอาการรุนแรงอาจมีประสาทหลอน หูแวว
ระแวงได
5. ยอมรับความจริงหรือไมสนใจ ตอมาผูปวยจะเริ่มยอมรับความจริงที่ตนหลีกเลี่ยง
ไมได อาการเศราลดลง มีการซักถามถึงรายละเอียดของโรคมะเร็งและวิธีรักษา
แตในบางรายอาจเฉยๆ และแสดงความไมสนใจ ปลอยใหเปนหนาที่และความ
รับผิดชอบของแพทยและญาติในเรื่องการรักษา
6. ปรับตัวตอการรักษาและดําเนินชีวิต ผูปวยเริ่มรับฟงคําแนะนําของแพทยยินยอม
ใหความรวมมือในการรักษาและรวมรับผิดชอบตนเองมากขึ้น พยายามหาวิธแี ละ
แนวทางในการดําเนินชีวิต การปรับตัวตอบุคคลอื่นในครอบครัว ผูรวมงาน
แพทย พยาบาลผูใหการรักษา เตรียมตัวเผชิญกับความทุกขทรมานทั้งกายและ
ทางใจ ตลอดจนเตรียมตัวเผชิญกับความตายในทายที่สุด หากโรคมะเร็งนั้นๆ
รักษาไมหาย
การแสดงออกของผูปวยดังกลาวไมจําเปนจะตองเรียงลําดับขั้นตอนดังกลาวนี้เสมอไป
อาจจะขามขั้นตอนหรือมีการแสดงออกเพียงบางขั้นตอนเทานั้นก็ได ผูปวยมะเร็ง
5

สวนใหญสามารถปรับตัวไดดี มีนอยรายที่มีอาการทางจิตใจที่รุนแรง ในรายที่มี


อาการรุนแรงจําเปนตองไดรับการบําบัดรวมไปดวย
ข. ปฏิกิริยาตอการรักษาและผลของการรักษา การรักษามะเร็งขั้นแรกไดแก การผาตัด
กอนมะเร็งออก ตามดวยการฉายรังสีและการใหยาในบางราย การผาตัดกอนมะเร็ง
ออกไมทําใหมีผลตอความรูสึกมากนัก ยกเวนกรณีที่การผาตัดนั้นกอใหเกิดความ
พิการและการสูญเสียอวัยวะ ทั้งนี้ผลกระทบจะมีมากหรือนอยจะขึ้นอยูกับอายุ
สภาพสมรส ลักษณะบุคลิกภาพและความเชื่อมั่นในตนเองของผูปวย ตลอดจน
ความสามารถในการปรับตัวและการยอมรับความพิการทางรางกาย และความเขาใจ
ของผูใกลชิด เชน สามี ญาติ และเพื่อนของผูปวยนั้นๆ ผูปวยบางรายอาจมีความกังวล
วาจะมีกอนใหมเกิดขึ้นอีก ปฏิกิริยาตอการรักษาดวยการฉายรังสีและหรือการใหยานัน้
สวนใหญเกิดจากฤทธิ์ขางเคียงที่ทําใหเกิดความไมสบายทางกาย ไดแก อาการคลื่นไส
อาเจียน ออนเพลีย รับประทานอาหารไมได นอกจากนั้นผูปวยยังมีปฏิกิริยาทาง
จิตใจไดแก อาการกลัว กังวล ซึมเศรา และการแยกตัว มีผูศึกษาพบวาภาวะทางจิต
สังคมของ ผูปวยโรคมะเร็งมีผลตออาการแพยา หรืออาการขางเคียงจากการฉาย
รังสี ซึ่งสามารถลดนอยลงไดหากมีการชวยเหลือดานจิตใจแกผูปวย การใชยาเคมี
บําบัดยังมีผลทําใหเกิดอาการออนเพลียและซึมเศรา อาจมีอารมณ หงุดหงิด ตื่นเตน
งาย และความตองการทางเพศลดลง อาการปวดก็เปนอาการที่สําคัญที่ทําใหผูปวย
โรคมะเร็งทุกข ทรมาน มักจะพบอาการปวด รวมกับผูปวยที่มีอารมณเศราและ
ออนเพลียมาก สวน ผูปวยที่กังวลมักจะมีอาการกังวลรวมกับอาการคลื่นไสอาเจียน
นอกจากนั้นอาการที่เกิดจากการรักษาดวยการฉายรังสีและยายังทําใหสมรรภาพในการ
ดํารงชีวิตและการทํางานของผูปวยลดลงอีกดวย
ค. ปฏิกิริยาตอการดําเนินโรคและการปรับตัวในการดําเนินชีวิต นับตั้งแตวันที่ผูปวย
พบวาตนมีความผิดปกติและไปรับการตรวจจากแพทย ผูปวยก็เริ่มมีความวิตกกังวล
ในระหวางที่รอผลการตรวจ เมื่อทราบวาเปนมะเร็งผูปวยก็จะมีปฏิกิริยาทางอารมณ
และพฤติกรรมตางๆ กัน ดังที่ไดกลาวแลวตอนตน ปฏิกิริยาเหลานี้จะเพิ่มขึ้นและ
ลดลงระหวางการรักษา ขณะที่มีอาการเพิ่มขึ้นจากการรักษา และแมในระยะหลัง
การรักษาผูปวยก็ยังมีความวิตกกังวลและอารมณเศราไดเสมอๆ ถาโรคไมกําเริบหรือ
หายภายหลังการตรวจซ้ําของแพทยภายในระยะเวลาหนึ่ง ผูปวยก็จะรูสึกสบายใจขึ้น
และรูสึกปลอดภัยจากอันตราย ถึงกระนั้นเขาก็ยังหวงวาอาจเกิดกอนมะเร็งขึ้นไดอีก
สวนใน ผูปวยที่โรคไมหาย มีอาการกําเริบ หรือผลการรักษาไมสามารถยุติการ
ลุกลามของมะเร็ง หรือมีการลุกลามไปยังอวัยวะอื่น ทําใหมีอาการไมสบายเพิ่มขึ้น
ผูปวยอาจตองหยุดทํางาน หรือไมสามารถชวยตนเองไดในกิจวัตรที่เคยทํา เหลานี้
6

ลวนทําใหผูปวยมีความยากลําบากในการดําเนินชีวิตมากขึ้น ผูปวยมีความจําเปนที่
จะตองยอมรับในการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ซึ่งเปนสิ่งที่คาดการณลวงหนาไมได ในระยะ
ทายผูปวยตองไดรับความชวยเหลือในเรื่องความเจ็บปวด อาการไมสบายทางกาย
และการเผชิญกับความตายในที่สุด

ฉะนั้น จะเห็นไดวาเมื่อผูปวยทราบวาเปนโรคมะเร็งผูปวยจะสามารถปรับตัวได โดย


ผูปวยจะมีอาการชวงปรับตัวมากหรือนอยแตกตางกัน ปฏิกิริยาเหลานี้จะลดลงไดเมื่อไดรับการ
ชวยเหลือ ไดรับความเขาใจ และเห็นใจจากญาติและบุคคลใกลชิด แพทยผูรักษาและพยาบาล
ผูเกี่ยวของมีบทบาทที่สําคัญจะชวยผอนคลายปฏิกิริยาเหลานี้ และชวยใหอาการตางๆ ลดลงได
อยางรวดเร็ว

จะดูแลตนเองอยางไรเมื่อทานไดรับยาเคมีบําบัด
ยาเคมีบําบัดมีผลตอเซลลเยื่อบุอาหารทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน น้ําหนักลด
นอกจากนี้ภาวะเครียดทางดานจิตใจมีผลใหความอยากรับประทานอาหารลดลง ซึ่งอาจทําใหเกิด
ภาวะขาดสารอาหาร ภูมิคุมกันของรางกายลดลง เสี่ยงตอการติดเชื้อได ดังนั้นผูปวยจึงควร
ไดรับอาหารอยางเพียงพอและเหมาะสมเพื่อชวยใหทนตออาการขางเคียงของยาเคมีบําบัดที่ไดรับ
น้ําหนักตัวไมลดลง ชวยเสริมสรางเนื้อเยื่อที่ถูกทําลายในระหวางการไดรับยาอาหารหลักพื้นฐาน
ที่จําเปนตอ รางกาย ไดแก
1. เนื้อสัตวตางๆ ไข ถั่ว นม ซึ่งใหโปรตีน เกลือแร วิตามิน ไขมัน ชวยในการ
เจริญ เติบโต ซอมแซมรางกายสวนที่สึกหรอ ควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ
ชวยตายทานโรคและใหพลังงานแกรางกาย
2. ขาว แปง เผือก มัน อาหารกลุมนี้เปนอาหารที่ใหพลังงานแกรางกาย
3. ผักใบเขียวและพืชผักอื่นๆ อาหารกลุมนี้ใหสารอาหาร เกลือแรและวิตามิน ชวยให
รางกายแข็งแรง ชวยควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ
4. ผลไมตางๆ ใหสารอาหารพวกวิตามิน เกลือแร และใหกากอาหาร
5. ไขมันจากสัตวและพืช ใหพลังงานและความอบอุนแกรางกายชวยในการดูดซึม
วิตามินที่ละลายในไขมันและใหกรดไขมันที่จําเปนแกรางกาย
7

การดูแลตนเองเมื่อมีอาการคลื่นไส อาเจียน
1. รับประทานอาหารครั้งละนอยๆ บอยๆ
2. จิบเครื่องดื่ม เชน น้ําสม น้าํ ขิง
3. รับประทานอาหารออนที่ยอยงาย
4. รับประทานอาหารชาๆ เคี้ยวใหละเอียด
5. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน หรือมันมากเกินไป อาหารที่มีกลิ่นฉุน
เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอลเพราะจะทําใหเกิดอาการคลื่นไสมากขึ้น
6. ผอนคลายความเครียดดวยวิธีตางๆ เชน ฟงเพลง อานหนังสือ

การดูแลตนเองกอนที่จะเกิดแผลในปาก
1. ทําความสะอาดปากและฟนในเวลาเชา หลังอาหาร และกอนนอน
2. หลังอาหารทุกครั้ง บวนปากดวยน้ําธรรมดาหรือน้ําเกลือ ไมควรใชน้ํายาบวนปากที่มี
แอลกอฮอล
3. ใชแปรงขนนิม่ ทําความสะอาดปากและฟน
4. สังเกตอาการผิดปกติ เชน ปวดแสบรอน แผลภายในปาก หากพบวามีอาการเหลานี้
ใหปรึกษาแพทยหรือพยาบาล
การดูแลตนเองเมื่อเกิดแผลในปาก
1. บวนปากบอยๆ ดวยน้ําหรือน้ําตมสุก
2. ทําความสะอาดปากและฟนหลังอาหารทุกครั้งโดยใชแปรงสีฟนขนนิ่มๆ
3. รับประทานอาหารออน หลีกเลี่ยงอาหารที่รอนหรือเย็นจัด อาหารรสจัดแข็งหรือ
หยาบ
4. ใหจิบน้ําบอยๆ
5. ควรปรึกษาแพทยทันทีที่เกิดแผลในชองปาก
การดูแลตนเองเมื่อเกิดอาการทองเสีย
1. รับประทานอาหารออน ยอยงาย ไมมีกาก
2. หลีกเลี่ยงการดื่มนมสด ผลิตภัณฑจากนม อาหารหรือเครื่องดื่มที่ระคายเคืองตอ
ทางเดินอาหาร อาหารที่ทําใหเกิดลม หรืออาการปวดบวมในทอง
3. ดื่มน้ําชา จิบชาๆ แทนน้ําเปลา
4. สังเกตจํานวนลักษณะความถี่ของอาการถายอุจจาระในแตละวัน ถาอาการยังไมทุเลา
ใหปรึกษาแพทยหรือพยาบาล
5. ทําความสะอาดบริเวณทวารหนัก และซับเบาๆ ใหแหงทุกครั้งหลังถายอุจจาระ
8

การดูแลตนเองเพื่อปองกันและทุเลาอาการทองผูก
1. ดื่มน้ํามากๆ อยางนอยวันละ 10 แกว
2. รับประทานผัก ผลไมมากๆ
3. การออกกําลังกาย หรือเคลื่อนไหวรางกายตามความสามารถเปนประจํา เพื่อชวยให
ลําไสมีการเคลื่อนไหวดีขึ้น
4. ปรึกษาแพทยเพื่อขอยาระบายไมควรซื้อรับประทานเอง
5. ถาอาการไมทุเลา ใหปรึกษาแพทยหรือพยาบาล

การดูแลตนเองเพื่อปองกันการติดเชื้อ
1. ทําความสะอาดรางกาย และชองปากอยางสม่ําเสมอ
2. หลีกเลี่ยงการใกลชิดกับบุคคลที่เปนโรคติดตอ เชน คนเปนหวัด วัณโรค
3. หลีกเลี่ยงการอยูในที่ชุมชนหรือที่มีการระบาดของเชื้อโรค

การดูแลตนเองเพื่อปองกันหรือบรรเทาอาการออนเพลีย
1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน เชน ขาว แปง น้ําตาล เนื้อสัตวตางๆ ไข นม
ผัก ผลไมตางๆ
2. พักผอนอยางนอยวันละ 6-8 ชั่วโมง เพิม่ การพักผอนในตอนกลางวัน วันละ 2-3
ชั่วโมง
3. หากยังมีอาการออนเพลียมาก เหนื่อยงาย ไมสามารถทํากิจกรรมประจําวันตางๆ ได
ใหปรึกษาแพทยหรือพยาบาล

การดูแลเพื่อปองกันการเกิดอาการแทรกซอนของระบบทางเดินปสสาวะ
1. ดื่มน้ํามากๆ อยางนอยวันละ 8-10 แกว
2. สังเกตสีและลักษณะของปสสาวะ หากพบวามีอาการผิดปกติ เชน ปสสาวะเปนเลือด
ปสสาวะแสบขัด ถายปสสาวะกระปริดกระปรอย ปสสาวะนอย ใหรีบปรึกษาแพทย

การดูแลตนเองเมื่อมีอาการผมรวง
1. สระผมดวยแชมพูชนิดออน
2. หวีผมเบาๆ หลีกเลี่ยงการใชสเปรย การอบ การดัด
9

การดูแลตนเองเมื่อมีอาการผิดปกติทางผิวหนัง เชน ผิวหนังแหง เปนผื่นคัน


1. รักษาความสะอาดของผิวหนัง
2. ใชครีม หรือโลชั่นทาผิวหนังใหชุมชื้นทุกครั้งหลังอาบน้ํา
3. ไมเกาหรือถูผวิ หนังแรงๆ
4. หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดด

ขอแนะนําในการปฏิบัติตนเพื่อทําใหอารมณและจิตใจแจมใส
1. หางานอดิเรกทํา เชน ฟงวิทยุ ดูโทรทัศน ศึกษาธรรมะ
2. ไมอยูตามลําพัง ควรอยูกับสมาชิกในครอบครัวหรือผูใกลชิด
3. เมื่อมีความไมสบายใจ หาทางผอนคลาย โดยการพูดคุยและปรึกษากับผูไวใจได
ฝกสามาธิ ฝกการผอนคลายกลานเนื้อ หรือทํากิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ

สัญญาณอันตรายเจ็ดอยางสําหรับโรคมะเร็ง
1. การเปลี่ยนแปลงในสุขนิสัยการขับถาย เชน ทองผูก ทองเสีย เรื้อรัง
2. เปนแผลเรื้อรัง รักษาไมหาย
3. มีเลือดหรือน้ําเหลืองออกผิดปกติ เชน บริเวณชองคลอด บริเวณหัวนมเปนตน
4. มีกอนที่เตานมหรือกอนที่คลําไดบริเวณอื่นๆ
5. อาหารไมยอย ทองอืด กลืนลําบาก
6. การเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝที่ชัดเจน
7. ไอเรื้อรังหรือเสียงแหบเรื้อรัง
10

การรักษาโรคมะเร็งมีหลักสําคัญดังนี้คือ
1. การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
การวินจิ ฉัยโรคเปนเรื่องสําคัญมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งขบวนการทีจ่ ะชวยใหสามารถ
วินิจฉัยโรคใหไดถูกตอง แมนยํา และรวดเร็ว การวินิจฉัยโรคมะเร็งอาศัยจาก
1.1 อาการและอาการแสดง ซึ่งผูปวยมะเร็งจะมาหาแพทยดวยอาการตางๆ ไดแก
ก. อาการจําเพาะ (Specific symptoms) ไดแก การมาพบแพทยดวยการมีกอ น
เฉพาะที่อาการเสียงแหบ เจ็บคอเรื้อรัง อาการไอเรื้อรัง รวมกับมีเลือดออก ซึ่งอาการ
เหลานี้บงชี้ถึงโรคมะเร็งโดยตรง
ข. อาการที่ไมจําเพาะ (vague symptoms) ไดแก อาการเบื่ออาหาร น้ําหนักลด
ออนเพลีย ไมมีแรง การเปลี่ยนแปลงในการขับถายอุจจาระเปนตน
ค. การมี early sign ของ cancer จากการตรวจหามะเร็งระยะแรกเริ่ม เชน จาก
การตรวจเพื่อหามะเร็งปากมดลูกระยะเริม่ แรก โดยการทํา pap smear พบ
ลักษณะเซลลผิดปกติ class III or IV หรือจากการตรวจ
mammography พบ calcification ที่บงถึงลักษณะมะเร็งเตานม หรือ
การตรวจพบลักษณะเลือดออกซอนเรนจากการตรวจอุจจาระ (occult blood)
บงถึงมะเร็งลําไสใหญ(1,2) เปนตน
ง. จากการตรวจรางกาย แพทยจะตองใหความสนใจกับอาการที่ผูปวยมาพบ และให
ความสนใจเปนพิเศษกับอาการที่บงชี้ถึงโรคมะเร็ง โดยอาศัยจากลักษณะอายุ เพศของ
ผูปวย รวมกับประวัติอื่นๆ เชน ประวัติสูบบุหรี่ ประวัติการทํางานเกีย่ วของกับสารกอ
มะเร็ง ประวัตมิ ะเร็งในครอบครัว โรคที่ผูปวยเปนอยู เชนการมี polyp ใน
colon เหลานี้จะชวยทําใหแพทยสนใจสืบคนหาโรคมะเร็ง ทําใหสามารถตรวจพบ
มะเร็งระยะแรกเริ่มไดมากขึน้ ซึ่งจะมีผลทําใหผูปวยหายจากโรคได
จ. การตรวจทางหองปฏิบัติการ เชน การตรวจเม็ดเลือด การตรวจการทํางานของตับ
อาจชวยในการวินิจฉัยโรค รวมทั้งใชเปนขอมูลในการวางแผนการรักษาได ที่สําคัญ
เชน AFP (alpha fetoprotein). β-HCG (Beta-human
chorionic gonadotropin)(3) เปนตน
ฉ. การตรวจทางพยาธิวิทยาเปนสิ่งที่สําคัญมากไมวาจะเปนการตรวจเซลล
(cytology) หรือการตรวจชิ้นเนื้อ (histology) เพราะสามารถใชบอกการ
วินิจฉัยโรคที่แนนอนได และในปจจุบันนี้ยังมีความสําคัญในแงการตรวจยีนมะเร็ง
การตรวจทูเมอรมารคเกอร จากชิ้นเนื้อดวย(4,5)
11

2. การตรวจหาระยะของโรค (Staging)
ระยะของโรคจัดแบงตาม TNM classification(6,7) หรือแบงออกเปน stage I,
II, III, IV โดยอาศัยการแบงระยะจาก
T = Primary Tumor
N = Regional Lymph Nodes
M = Distant Metastases
T แบงเปน T0,1,2,3,4 โดยใชขนาดของกอนมะเร็ง รวมกับลักษณะความสัมพันธ
ระหวางกอนมะเร็งกับเนื้อเยือ่ ขางเคียง เชน เยื่อบุลําไส หรือหลอดเลือดใหญขางเคียงเปนตน
N หมายถึงการกระจายของโรคไปสูตอมนําเหลือง ที่รับถายเทน้ําเหลืองจากบริเวณ
กอนมะเร็งโดยตรงหรือตอมน้ําเหลืองบริเวณที่หางออกไป แบงเปน N0,1,2,3
M หมายถึงการกระจายของโรคจากจุดเริ่มตนไปสูอวัยวะอื่น แบงเปน M0, 1
จาก TNM รวมกันทําใหสรุปเปนระยะของโรค (stage) ได ซึ่งแตละโรคอาจจะมี
ขอปลีกยอยของการจัด TNM และstage แตกตางกันได ขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะของโรค
นั้นๆ

การตรวจหาระยะของโรคมะเร็ง มีประโยชนคือ
2.1 ใชบอกขอบเขตของกอนมะเร็ง และการกระจายของเซลลมะเร็ง ไปสูอวัยวะอืน่
2.2 ใชตัดสินวิธกี ารรักษา
2.3 สามารถเปรียบเทียบผลของการรักษาโดยวิธีที่แตกตางกันไดหรือเปรียบเทียบผลการรักษา
ระหวางสถาบัน
2.4 ใชสําหรับพยากรณโรค
2.5 ใชเปนขอมูลเพื่อประสานงานระหวางบุคลากรทางการแพทยในการวางแผนสาธารณสุข
ของประเทศ

ระยะของโรคสามารถแบงโดยใช clinical staging ซึ่งหมายถึงการแบงระยะของโรค


โดยอาศัยเฉพาะขอมูลจากการตรวจพบเทานั้น และpathological staging ซึ่งอาศัยขอมูล
จากการผาตัดและผลตรวจชิน้ เนื้อมาประกอบรวมดวย

3. การรักษา (Treatment) การรักษามะเร็งในปจจุบันนี้ทําได 4 วิธีคือ


3.1 การผาตัด (Surgery)
3.2 รังสีรักษา (Radiation therapy)
3.3 เคมีบําบัด (Chemotherapy)
12

3.4 การรักษาโดยใชสารชีวภาพหรือวิธีกระตุน ภูมิคุมกัน (Immunotherapy or


Biologic therapy) ในปจจุบนั นี้เรียกรวมเปน Molecular targeted
therapy

การผาตัด (surgery)
ใชเพื่อวินิจฉัยโรค (biopsy) และการรักษา ซึ่งในแงการรักษานีก้ ารผาตัดอาจเปนวิธี
หลักรวมกับการรักษาแบบอืน่ ซึ่งจะตองพิจารณาภายหลัง หรืออาจจะใชในกรณีที่มจี ุดมุงหมายใน
การลดขนาดของกอน (ลด bulk ของ cancer) เชนมะเร็งรังไข เปนตน โดยทัว่ ไปๆ ไปแลว
การผาตัดจะเขามาเกี่ยวของในการรักษามะเร็งเกือบทุกชนิด อยางนอยในแงของการวินิจฉัยโรค
ยกเวนกรณีมะเร็งเม็ดเลือดซึ่งสามารถวินิจฉัยไดโดยอานสเมียรเลือดและตรวจไขกระดูก
นอกจากนี้การผาตัดยังสามารถใชเพื่อปองกันโรคมะเร็ง เชน ในกรณีของ cryptorchidism
การทํา orchiopexy จะชวยปองกันมะเร็งของรังไข กรณี polyposis coli การทํา
colectomy สามารถปองกันมะเร็งลําไสใหญไดเปนตน(8)

รังสีรักษา (Radiation therapy)


เปนการรักษาซึ่งใชไดดี ในกรณีที่มะเร็งนัน้ อยูเฉพาะที่ยงั ไมแพรกระจาย พบวาพยาธิ
วิทยาของเซลลมะเร็งมีบทบาทตอผลการรักษาดวย มะเร็งบางชนิดจะตอบสนองตอการรักษาดวย
รังสีรักษา เชน มะเร็งปากมดลูก, มะเร็งหลังโพรงจมูก เปนตน การรักษามะเร็งดวยรังสียังมี
ประโยชนในกรณีหวังผลเพือ่ บรรเทาอาการ เชน มะเร็งกระจายไปที่ประสาทไขสันหลัง, หรือ
สมอง ฯลฯเปนตน(9)

เคมีบําบัด (Chemotherapy)
เปนวิธีการรักษาซึ่งนํามาใชในกรณีที่มะเร็งอยูในระยะแพรกระจาย การรักษาดวยยาเคมี
บําบัด มีขอควรระวังและผลขางเคียงหลายอยาง รวมทั้งการดูแลผูปวยในระหวางการใหยา ตองมี
การดูแลอยางใกลชิด นอกจากใชยาเคมีบําบัดในการรักษามะเร็งระยะแพรกระจายแลว เคมีบําบัด
ยังใชเปนการรักษาเสริม (Adjuvant Chemotherapy) ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน
การรักษา การใชยาเคมีบําบัดหลายชนิดรวมกันสามารถลดพิษของยาแตละชนิดลง ทําให
ผลการรักษาดีขึ้นรวมทั้งลดการดือยาของโรคมะเร็งดวย(10)
13

การรักษาโดยใชสารชีวภาพหรือการกระตุนภูมิคุมกัน (Immunotherapy or
Biologic therapy) หรือปจจุบันนี้เรียกเปน Molecular Targeted
therapy
การรักษาโรคมะเร็งนอกจากการผาตัดรังสีรักษาและยาเคมีบําบัดแลวมีการนําสารชีวภาพ
มาใช ใ นการรั ก ษามะเร็ ง มากขึ้ น เช น การใช ส ารซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ก ระตุ น เม็ ด เลื อ ดขาว
(Granulocyte-colony stimulating factor) รวมกับการใชเคมีบําบัด เพื่อลด
ผลขางเคียงของยาเคมีบําบัด และหวังผลในแงการเพิ่มขนาดยาเคมีบําบัดใหสูงขึ้น โดยคาดหวังวา
เมื่อเพิ่มขนาดยาเคมีบําบัดใหสูงขึ้น ผลการรักษาคงจะดีขึ้น การนําสาร interferron,
interleukins หรือ monoclonal antibodies มาใชกําลังมีคนสนใจศึกษาและ
นํามาใชมากขึ้น(11) นอกจากนั้นในปจจุบันนี้ มีการศึกษาขบวนการเกิดโรคมะเร็งขบวนการ
ควบคุมการเจริญของเซลลมะเร็งในระดับยีน และมีการพัฒนายาเพื่อรักษาโรคมะเร็ง โดยมุง
จําเพาะจุดที่มีความสําคัญตอการเกิดโรค ยาเหลานี้อาจจะไปขัดขวางบริเวณที่ยีนออกฤทธิ์วิธีการที่
พัฒนายาขึ้นมานี้มีชื่อเรียกโดยรวมวาเปน Molecular targeted therapy(12)
การรักษาที่ใชวิธีการอยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียว ตัวอยางเชน การรักษามะเร็งของ
ผิวหนังดวยการผาตัด เรียกวา single modality treatment ซึ่งปจจุบันนี้ single
modality ใชในการรักษาโรคมะเร็งทั่วๆ ไปนอยมาก สวนใหญการรักษามะเร็งจะตองใช
หลายวิธีรวมกัน เรียกเปน multimodalities treatment เชน อาจจะใชการผาตัด
รวมกับรังสีรักษา, การผาตัดรวมกับยาเคมี, ยาเคมีบําบัดรวมกับการฉายรังสีเปนตน การเลือกวา
จะใชวิธีการรักษาแบบใด วิธีการใดกอนวิธีการใดหลังขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะของมะเร็งชนิดนั้นๆ
(natural history), ระยะของโรค (staging), อาการรีบดวนของผูปวย (acute
symptom), โรคอื่นๆ ที่ผูปวยเปนอยู เชน โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ปอด ฯลฯ รวมถึงการ
พยากรณ โ รค และผลขา งเคี ย งของวิ ธี ก ารรั ก ษาประกอบกัน การรั ก ษาโดยวิ ธี
multimodalities treatment นี้ตองการผูเชี่ยวชาญจากหลายสาขา เชน
pathologist, diagnostic, radiologist, medical oncologist,
radiation oncologist and surgical oncologist, immunologist,
psychologist, pharmacist, nurses, social workers, etc. มารวมวางแผน
การรักษาผูปวยเพื่อใหผูปวยไดรับประโยชนสูงสุด

วัตถุประสงคในการรักษาโรคมะเร็งคือ
1. Curative Intent ตองการใหผูปวยหายจากโรคซึ่ง
ก. กรณีนี้จะเปนไปไดสูง ถาผูปวยมาพบแพทยในระยะแรกเริ่ม ดังนั้นการใหความรูใน
การตรวจหามะเร็งระยะแรกเริ่มจึงมีประโยชนและสําคัญมาก
14

ข. นอกจากนั้น curative intent ยังสามารถพบไดในกรณีทใี่ ช combined


modalities approach เชน surgery and adjuvant
chemotherapy ในมะเร็งเตานมเปนตน(ตารางที่ 2)
ค. กรณีของ advanced disease บางโรคยาเคมีบําบัดไดผลดีผูปวยสวนหนึ่งอาจ
หายจากโรคได ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 มะเร็งซึ่งรักษาใหหายไดดวยยาเคมีบําบัดแมวาโรคจะอยูในระยะแพรกระจายแลว
Choriocarcinoma Wilm’s tumor
Acute lymphocytic Burkitt’s lymphoma
(in children and adults) Embryonal rhabdomyosarcoma
Hodgkin’s disease Ewing’s sarcoma
Diffuse large cell lymphoma Peripheral neuroepithelioma
Lymphoblastic lymphoma Neuroblastoma
(in children and adults) Small cell cancer of the lung
Follicular mixed lymphoma Ovarian cancer
Testicular cancer
Acute myelogenous leukemia

ตารางที่ 2 มะเร็งซึ่งรักษาใหหายไดเมื่อใหยาเคมีบําบัดเปนการรักษาเสริมหลังผาตัด
Breast cancer Soft tissue sarcoma
Osteogenic sarcoma Colorectal cancer
2. Palliative Intent หมายถึงการรักษาโรคโดยหวังผลในแงบรรเทาอาการ ซึ่งผูปวยจะมี
อาการสบายขึ้น ยกตัวอยางเชน การใหรังสีรักษาในผูปว ยมะเร็งหลอดอาหาร สามารถ
ลดความทุกขทรมานของผูปวย ผูปว ยกลืนอาหารไดสะดวกขึน้ การรักษาซึ่งหวังผล
บรรเทาอาการผูปวยบางรายอาจมีชีวิตยืนยาวกวาผูปวยทีไ่ มไดรับการรักษา ในบาง
กรณีการรักษาอาจใหผลแคบรรเทาอาการแตไมมีผลตอการยืดชีวิตของผูปวย
15

ตาราง 3 มะเร็งซึ่งรักษาใหอาการดีขึ้น แตโรคไมหายเมือ่ โรคอยูในระยะแพรกระจายแลว

Bladder cancer Head and neck cancer


Chronic myelogenous leukemia Endometrial cancer
Chronic lymphocytic leukemia Adrenocortical carcinoma
Hairy cell leukemia Medulloblastoma
Multiple myeloma Polycythemia rubra vera
Follicular small-cleaved cell Prostate cancer
lymphoma Glioblastoma multiforme
Gastric carcinoma Insulinoma
Cervical carcinoma Breast cancer
Soft tissue sarcoma Carcinoid tumors

นอกจากการรักษาเพื่อมุงผลใหเกิด curative หรือ palliative แลว ยังตองคํานึงถึง


ประโยชนในแงคุณภาพชีวติ ของผูปวยดวย ตัวอยางเชน มะเร็งกระดูก (osteosarcoma) ถา
ใหการรักษาโดยการตัดขาแลวตามดวย adjuvant chemotherapy ผูปวยก็หายได แตถา
เปลี่ยนวิธีการรักษาโดยให Chemotherapy กอนการผาตัด ซึ่ง chemotherapy จะ
ชวยลดขนาดของกอนมะเร็งลง เมื่อศัลยแพทยทําผาตัดก็จะทําแค เอากอนมะเร็งออก ผูปวยไมถกู
ตัดขา เรียก Limb-salvage surgery หลังผาตัด ผูปวยสามารถเดินไดโดยไมตองใส
ขาเทียม หรือในกรณีใสขาเทียมก็สามารถทําไดดีกวาภาวะทัว่ ๆไป กลาวคือขาเทียมนั้นใชงานได
ดีกวา ผลการรักษาทั้งสองไดผลเทากันคือผูปวยหายจากโรคแตมีคุณภาพชีวิตดีกวาวิธีแรกที่ตอง
ตัดขาอยางไรก็ตามตองคํานึงถึงขอจํากัดอืน่ รวมดวยเชน กรณีผูปว ยอายุนอยมากหรือกอนมะเร็งมี
ขนาดโตมากก็ไมสามารถทําผาตัดแบบ limb salvage ได
ลักษณะอาการผูปวยโดยเฉพาะความสามารถของผูปวยในการดูแลตนเอง (Performance
status) มีความสําคัญตอการตัดสินการรักษามะเร็ง ไดมีการจัดแบงลักษณะอาการผูปวยออก
ตามความสามารถในการดูแลตนเอง โดยแบงตามวิธีของ ECOG และ Karnofsky
(ตารางที่ 1 และ 2)(7) การแบงตามวิธีทงั้ 2 นี้ทําใหแพทยผูรักษาสามารถประเมินผูปวยได
สะดวกขึ้น นอกจากจะใชเปนเครื่องชี้บงวาผูปวยสามารถรับการรักษาไดหรือไม
performance status ยังใชเปนดัชนีหนึ่งของการพยากรณโรคดวย
ภาวะโรคอื่นทีผ่ ูปวยนัน้ ๆ มีอยูตองนํามาประกอบการตัดสินการรักษา เชน โรคหัวใจ
เบาหวาน ไต ทางเดินปสสาวะ รวมถึงอายุของผูปวย เพศ ภาวะทางดานจิตใจ ภาวะเศรษฐกิจ
ฯลฯ
16

4. การประเมินผลและติดตามการรักษา
การประเมินผลอาศัยจากความรูเกี่ยวกับลักษณะการดําเนินโรคของมะเร็งแตละชนิด
(natural history). การกระจายของโรคเมื่อเริ่มการรักษา (staging), ผลทาง
หองปฏิบัติการ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับโรคมะเร็งโดยตรง เชน Tumor markers, ผลเอ็กซเรยและ
เอ็กซเรยพิเศษ รวมทั้งการตรวจรางกายผูปวยเปนระยะๆ เพื่อสืบคนหารอยโรคใหม จะชวยให
การรักษาโรคสมบูรณขึ้น ขอมูลที่โรคตอบสนองตอการรักษา (length of response
time), ระยะเวลาที่มีการเกิดโรคขึ้นใหม (time to recurrence disease)
โดยทั่วไปถือวาการเกิดโรคขึน้ ใหมหลังการรักษาเบื้องตน จะพบไดมากที่สุดในชวง 2 ปแรก
ประมาณครึ่งหนึ่ง (50%) ของผูปวยจะพบมีโรคเกิดขึ้นใหมในปแรก ตอมาในปทสี่ องผูปวยมี
โอกาสเกิดโรคขึ้นอีกประมาณ 30-40% และเมื่อเลย 5 ปไปแลวมักจะไมพบการเกิดโรคขึ้นใหมซึ่ง
ระยะเวลาปลอดโรคนี้จะตองยกเวนมะเร็งบางชนิดที่มกี ารดําเนินโรคชา เชน มะเร็งเตานม เปนตน
ดังนั้นการติดตามผลการรักษาในระยะ 2 ปแรกจึงตองพยายามติดตามใกลชิด เชน ทุก 2-3 เดือน
และสามารถหางออกไปไดเมื่อพน 2 ปแลว
17

Karnofsky Index of Performance Status (KPS)

A Able to carry on normal activity; 100 Normal; no complaints, no


no special care is needed evidence of disease
90 Able to carry on normal activity,
Minor signs or symptoms of disease
80 Normal activity with effort;
Some signs or symptoms of disease

B Unable to work; able to live at home; 70 Cares for self, unable to carry
Cares for most personal needs; on normal activity or to do
A varying amount of assistance is needed active work
60 Requires occasional assistance
but is able to care for most of
his needs
50 Requires considerable assistance
and frequent medical care

C Unable to care for self; requires 40 Disabled; requires special care


equivalent of institutional or and assistance
hospital care; disease may be 30 Severely disabled; hospitalization
progressing rapidly is indicated, although death not
imminent
20 Very sick; hospitalization
necessary, active supportive
treatment is needed
10 Moribund, fatal processes, rapid
progress

0 Dead
18

Eastern Cooperative Oncology Group (ECOG) performance


status scale

ECOG Scale Performance Status

0 Fully active, able to carry out all pre-disease performance without restriction.
1 Restricted in physically strenuous activity, but ambulatory and able to carry
out work of a light or sedentary nature, e.g. light house work, office work.
2 Ambulatory and capable of all selfcare, but unable to carry out any work
activities. Up and about more than 50% of waking hours.
3 Capable of only limited selfcare, confined to bed or chair more than 50% of
waking hours.
4 Completely disabled. Cannot carry out any selfcare. Totally confined to bed or
chair.
5 Dead.

หมายเหตุ ECOG 0 = Karnofsky performance status 1 00-90


ECOG 1 = Karnofsky performance status 80-70
ECOG 2 = Karnofsky performance status 60-50
ECOG 3 = Karnofsky performance status 40-30
ECOG 4 = Karnofsky performance status 20-1 0
ECOG 5 = Karnofsky performance status 0
19

เอกสารอางอิง
1. American Cancer Society. ACS report on the cancer-related health check-up. Cancer
1980;30:194.
2. The American College of Obstetricians and Gynecologists. Statement of Policy. Periodic
cancer screening for women. Philadelphia: American College of Obstetricians and
Gynecologists, 1980.
3. Lange PH, Nochomovitz LE, Rosai J, et al. Serum alpha-fetoprotein and human chorionic
gonadotropins in patients with seminoma. J Urol 1980;1 24:472-8.
4. Stewart J, Evan G, Watson JV, Sikora K. Detection of c-myc oncogene product in colonic
polyps and carcinomas. Br J Cancer 1986;53:1 -6.
5. Sikora K, Chan S, Evan G, et al. C-myc oncogene expression in colorectal cancer. Cancer
1987;59:1289-95.
6. Reporting of cancer survival and end results. In: American Joint Committee on Cancer.
Manual for staging of cancer. 3rd ed. Philadelphia: J.B. Lippincott, 1988:11 -24.
7. Purposes and principles of staging. In: American Joint Committee on Cancer. Manual for
staging of cancer. 3rd ed. Phiadelphia: J.Bl Lippincott, 1988:3-1 0.
8. Rosenberg SA. Principles of surgical oncology. In: DeVita VT, Hellman S, Rosenberg SA,
eds. Cancer: principles and practice of oncology. 3rd ed. Philadelphia: J.B. Lippincott,
1989:236-46.
9. Hellman S. Principles of radiation therapy. In: DeVita VT, Hellman S, Rosenberg SA, eds.
Lippincott, 1989:247-76.
10. Yarbro JW. The Scientific basis of cancer chemotherapy. In: Perry MC, ed. The
Chemotherapy source book. Baltimore: Williams & Wilkins, 1992:2-1 4.
11. Rosenberg SA, Longo DL, Lotze Mt. Principles and applications of biologic therapy. In:
DeVita VT, Hellman S, Rosenberg SA, eds. Cancer principles and practice of oncology.
3rd ed. Philadelphia: J.B. Lippincott, 1989:30 -47.

You might also like