You are on page 1of 7

การวิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจภายในและระหว่างประเทศทีม

่ ีผลกระทบต่อการ
ดาเนินธุรกิจ
โดยนาความรูจ้ ากวิชาเศรษฐศาสตร์การจัดการ 2
มาประยุกต์ใช้กบ ั ภาวะแวดล้อมภายนอก

บ ริ ษั ท ซี พี อ อ ล ล์ จ า กั ด ( ม ห า ช น )
เป็ นบริษท ั หลักในกลุม ่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่ ายของเครือเจริญโภคภัณ
ฑ์ ซึ่ ง ท า ธุ ร กิ จ ค้ า ป ลี ก ป ร ะ เ ภ ท ร้ า น ส ะ ด ว ก ซื้ อ แ ล ะ ธุ ร กิ จ อื่ น ๆ
ภ า ย ใ ต้ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ก า ร ค้ า “7-Eleven” ซึ่ ง สิ น ค้ า ห ลั ก ข อ ง บ ริ ษ ั ท ฯ คื อ
สิ น ค้ า อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค เ ช่ น เ ค รื่ อ ง ดื่ ม อ า ห า ร All Cafè
กลุม่ ผลิตภัณฑ์ของใช้สว่ นตัว เป็ นต้น
1.1 ภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศไทย
เ มื่ อ พิ จ า ร ณ า ถึ ง แ น ว โ น้ ม เ ศร ษ ฐ กิ จ ข อง ป ร ะ เ ท ศไ ท ย ใ น ปี 2561
ค า ด ก า ร ณ์ ว่ า จ ะ ข ย า ย ตั ว ร้ อ ย ล ะ 4.2 – 4.7
โ ด ย ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น
ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส่ ง อ อ ก ไ ด้ ม า ก ขึ้ น
และการใช้ จ่ า ย ขอ งภ าครัฐ ตามการลงทุ น ในโครงการต่ า ง ๆ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
รวมไปถึงการปรับตัวที่ดีขึ้นของอัตราการใช้กาลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
แ ล ะ ก า ร ป รั บ ตั ว ขึ้ น ข อ ง ฐ า น ร า ย ไ ด้ ใ น ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
โ ด ย ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ม ว ล ร ว ม ใ น ป ร ะ เ ท ศ (Gross domestic product : GDP)
ตัง้ แต่ปี 2551 – 2559 เป็ นไปตามภาพที่ 1
ภาพที่ 1 : ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศไทยตัง้ แต่
พ.ศ. 2551 – 2559

จากภาพที่ 1 จะเห็ น ได้ ว่ า อัต ราการเติบ โตของ GDP ตั้ง แต่ปี 2553
จ น ถึ ง ปี 2559 เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง
ซึ่งจะเป็ นสิ่งทีด
่ งึ ดูดให้นกั ลงุทนต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น
ส่ ง ผลให้ มี ก ารบริ โ ภคในประเทศเพิ่ ม ขึ้ น และท าให้ อุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ
ใ น ป ร ะ เ ท ศ มี ก า ร เ ติ บ โ ต เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น โ ด ย 7-Eleven
จั ด อ ยู่ ใ น ธุ ร กิ จ ร้ า น ส ะ ด ว ก ซื้ อ ส มั ย ใ ห ม่
ซึ่งธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในประเทศไทยจะเติบโตตามความเชือ ่ มั่นของผูบ ้ ริโภค
ในบางปี อัตราการเติบโตของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่จะสูงกว่าอัตราการเติบโตของเ
ศ ร ษ ฐ กิ จ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น พ . ศ . 2556
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป ร ะ ส บ กั บ ปั ญ ห า ก า ร ช ะ ล อ ตั ว ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
อั น เ ป็ น ส า เ ห ตุ ม า จ า ก ปั ญ ห า ก า ร เ มื อ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ปัญ หาหนี้ ค รัว เรื อ นที่อ ยู่ ใ นระดับ สู ง และดัช นี ค วามเชื่ อ มั่น ผู้ บ ริ โ ภคที่ ล ดลง
ส่งผลให้ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่มีอต ั ราการเติบโตด้านยอดขายลดลง โดยในช่วง
พ.ศ. 2556 – 2559 ขยายตัวเฉลี่ย เพี ย งร้อ ยละ 3.8 ต่อ ปี เมื่อ เทีย บกับ ในช่ว ง
พ.ศ. 2553 – 2555 ทีข ่ ยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ 9.5 ต่อปี
1.2 การใช้นโยบายการคลังทีส
่ ง่ ผลต่อการดาเนินงานของบริษท
ั ฯ
ตั้ ง แ ต่ ปี พ . ศ . 2550
รั ฐ บ า ล ใ ช้ น โ ย บ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ แ บ บ ข า ด ดุ ล ม า โ ด ย ต ล อ ด
โ ด ย มี ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ม า ก ก ว่ า ป ร ะ ม า ณ ก า ร ร า ย ไ ด้
ส่งผลให้รฐั บาลต้องมีการกู้เงินเพือ ่ สนับสนุ นให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างต่อเ
นื่องและเร่งการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพือ ่ เพิม
่ ความสามารถในการแข่งขันข
อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ นื่ อ ง จ า ก ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศยังมีขอ ้ จากัดจากอัตราการใช้กาลังการผลิต
ใ น ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ ยั ง ไ ม่ เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ
ป ร ะ ก อ บ กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ โ ล ก ยั ง ค ง อ ยู่ ใ น ภ า ว ะ ซ บ เ ซ า
โ ด ย ก า ร ด า เ นิ น น โ ย บ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ แ บ บ ข า ด ดุ ล ข อ ง รั ฐ บ า ล นั้ น
เ ป็ น ก า ร ข า ด ดุ ล เ พื่ อ ก า ร ล ง ทุ น
ซึ่งการลงทุนภาครัฐจะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการลงทุนในภาพรวมของประเทศ
อีกทัง้ ยังช่วยกระตุน้ และดึงดูดการลงทุนเพิม ่ จากภาคเอกชนอีกด้วย
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ น โ ย บ า ย ก า ร ค ลั ง ส า ม า ร ถ ใ ช้ IS-LM Model
ม า ใ ช้ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ไ ด้ โ ด ย IS-LM Model
เป็ นแบบจ าลองที่ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ดุ ล ยภาพร่ ว มของตลาดสิ น ค้า (Goods
market) และตลาดเงิน (Money market) โดยสามารถแสดงได้ด งั ภาพที่ 2
ดังนี้

ภาพที่ 2 : การวิเคราะห์นโยบายการคลังโดยใช้ IS-LM Model


โ ด ย เ ส้ น IS ( เ ส้ น ดุ ล ย ภ า พ ต ล า ด สิ น ค้ า )
เป็ นเส้นความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ย ทีแ ่ ท้จริง (r) และ Real GDP (y) ณ
ร ะ ดั บ ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ดุ ล ย ภ า พ ใ น ต ล า ด สิ น ค้ า มี ค ว า ม ชั น เ ป็ น ล บ
โดยจะเปลีย่ นแปลงตามนโยบายการคลัง ส่วนเส้น LM (เส้นดุลยภาพตลาดเงิน)
เป็ นเส้นความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยทีแ ่ ท้จริง (r) และ Real GDP (y) ณ
ร ะ ดั บ ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ดุ ล ย ภ า พ ใ น ต ล า ด เ งิ น มี ค ว า ม ชั น เ ป็ น บ ว ก
โ ด ย จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม น โ ย บ า ย ก า ร เ งิ น
ซึง่ สามารถเขียนสมการดุลยภาพร่วมระหว่างตลาดสินค้าและตลาดเงินได้ดงั นี้
I(r) + G = S(y-T) + T
โดย I = การลงทุนของภาคเอกชน
G = การใช้จา่ ยของภาครัฐ
S = การออมเงินในประเทศ
T = ภาษี
จากภาพที่ 2 และสมการดัง กล่า ว ในสภาวะปกติเ มื่อ เส้น IS และ LM
จ ะ ตั ด กั น ที่ จุ ด ดุ ล ย ภ า พ 1
แต่เมือ ่ รัฐบาลใช้นโยบายการคลังแบบขาดดุล ซึ่งมาจากภาครัฐมีการใช้จ่าย (G)
เพื่ อ การลงทุ น ในโครงการต่ า ง ๆ ของรัฐ เพิ่ ม มากขึ้ น จะส่ ง ผลให้ เ ส้ น IS
เคลื่อ นไปทางขวา จาก IS1 เป็ น IS2 ท าให้จุ ด ดุล ยภาพเปลี่ย นมาเป็ นจุ ด ที่ 2
ซึ่ ง จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ Real GDP เ พิ่ ม ขึ้ น จ า ก y1 เ ป็ น y2
ท า ใ ห้ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ดี ขึ้ น
มี ก า ร ดึ ง ดู ด ใ ห้ ช า ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ม า ล ง ทุ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ม า ก ขึ้ น
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร จ้ า ง ง า น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น
ห รื อ แ ร ง ง า น มี ก า ลัง ใ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ม า ก ขึ้ น ส่ ง ผ ล ต่ อ ไ ป ยัง ธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ
รวมไปถึ ง ธุ ร กิ จ ร้ า นสะดวกซื้ อ ที่ จ ะท ารายได้ เ พิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง 7-Eleven
มี ส า ข า ที่ ก ร ะ จ า ย ไ ป ทั้ ง ป ร ะ เ ท ศ
เ มื่ อ มี ก า ร ล ง ทุ น เ กิ ด ขึ้ น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ที่ ต า แ ห น่ ง ใ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ ท า ก า ไ ร ไ ด้ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น
อย่า งไรก็ ต ามการที่ร ฐั บาลมี ก ารใช้ จ่า ยเพิ่ม ขึ้น นอกจากจะท าให้ Real GDP
เ พิ่ ม ขึ้ น แ ล้ ว ยั ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ อั ต ร า ด อ ก เ บี้ ย เ พิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย
ซึง่ การเพิม ้ ของอัตราดอกเบี้ยนี้ จะทาให้การลงทุนของภาคเอกชนลดลงเนื่องจา
่ ขึน
ก ต้ น ทุ น ข อ ง ด อ ก เ บี้ ย ใ น ก า ร กู้ ยื ม เ พิ่ ม ขึ้ น
และทาให้การบริโภคของครัวเรือนลดลงแล้วหันไปออมเงินมากขึน ้ เนื่องจากอัตร
าดอกเบี้ ย เงิน ฝากที่เ พิ่ม ขึ้น ซึ่ ง เรี ย กปรากฏการณ์ นี้ ว่า Crowding out effect
ซึ่ ง อ า จ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภ ค ไ ม่ ไ ด้ จั บ จ่ า ย ใ ช้ ส อ ย เ ท่ า ที่ ค ว ร จ ะ เ ป็ น
ท า ใ ห้ ร า ย ไ ด้ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น ไ ม่ เ ต็ ม ที่
ทั้ง นี้ ก า ร ที่ อ ัต ร า ด อ ก เ บี้ ย เ พิ่ ม ขึ้ น ยั ง ส่ ง ผ ล ดี ต่ อ บ ริ ษ ั ท ฯ อี ก ห นึ่ ง ข้ อ คื อ
ต้ น ทุ น ใ น ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ล ด ล ง เ นื่ อ ง จ า ก เ มื่ อ อั ต ร า ด อ ก เ บี้ ย เ พิ่ ม ขึ้ น
จ ะ ท า ใ ห้ มี เ งิ น ทุ น ไ ห ล เ ข้ า ป ร ะ เ ท ศ ม าก ขึ้ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ ค่ า เ งิ น บ า ท แ ข็ งค่ า
ดังนัน้ บริษท ั ฯ จะมีตน ้ ทุนในการซื้อสินค้าจากต่างประเทศลดลง

4.3 นโยบาย Thailand 4.0


น โ ย บ า ย Thailand 4.0
เ ป็ น วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ ง น โ ย บ า ย เ พื่ อ ใ ช้ พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
ซึ่ ง เปลี่ย นแปลงเศรษฐกิ จ แบบเดิม ไปสู่เ ศรษฐกิ จ ที่ข บ ั เคลื่อ นด้ว ยนวัต กรรม
โดยกว่า จะมาเป็ น Thailand 4.0 ได้ก็ ต้อ งผ่าน Thailand 1.0 2.0 และ 3.0
มาก่อน
Thailand 1.0 คื อ ยุ ค ของเกษตรกรรม ปลู ก ข้ า ว พื ช สวน พื ช ไร่
และปศุสตั ว์ โดยนาผลผลิตไปขาย เพือ
่ สร้างรายได้และดารงชีพ
Thailand 2 . 0 คื อ ยุ ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ บ า
ในยุคนี้ มีเครื่อ งมือ เข้ามาช่วยในการผลิตสินค้า เช่น เสื้อผ้า กระเป๋ า เครื่องดื่ม
เครือ
่ งเขียน เครือ ่ งประดับ เป็ นต้น ทาให้ประเทศเริม
่ มีศกั ยภาพมากขึน้
Thailand 3 . 0 ( ซึ่ ง เ ป็ น ยุ ค ปั จ จุ บั น ) เ ป็ น ยุ ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห นั ก
มี ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ส่ ง อ อ ก สิ น ค้ า
ต่ า ง ๆ เ ช่ น เ ห ล็ ก ก ล้ า ร ถ ย น ต์ ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ปู น ซี เ ม น เ ป็ น ต้ น
โ ด ย ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี จ า ก ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ช่ ว ง แ ร ก Thailand 3 . 0
เติบ โตอย่า งต่อ เนื่ อ ง แต่ ใ นปัจ จุ บ น ั กลับ เติบ โตเพี ย งแค่ 3 – 4 % ต่อ ปี เท่า นั้น
ประเทศไทยจึง ตกอยู่ ใ นช่ว งรายได้ป านกลางมาเป็ นระยะเวลากว่า 20 ปี แล้ว
ในขณะที่ท่ วั โลกมี ก ารแข่งขันที่สู ง ขึ้น จึงต้อ งมี ก ารพัฒ นาปรับ เปลี่ย นเข้า สู่ยุ ค
Thailand 4.0 เพื่ อ ให้ ป ระเทศไทยก ลายเป็ นก ลุ่ ม ประเทศที่ มี ร ายได้ สู ง
ในปัจ จุ บ น ั ประเทศไทยยัง ติ ด อยู่ ใ นโมเดลเศรษฐกิ จ แบบ “ท ามาก ได้น้ อ ย”
จึ ง ต้ อ ง มี ก า ร ป รับ เ ป ลี่ ย น เ ป็ น โ ม เ ด ล เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ “ ท า น้ อ ย ไ ด้ ม า ก ”
และต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า เชิง “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
แ ล ะ เ ป ลี่ ย น จ า ก ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ป ร ะ เ ท ศ ด้ ว ย ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ไปสู่ ก ารขับ เคลื่ อ นด้ ว ยเทคโนโลยี ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และนวัต กรรม
อย่างการเกษตรต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดัง้ เดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่
ที่ เ น้ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ล ะ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ห รื อ Smart Farming
โดยเกษตรกรต้องรวยขึน ้ และเป็ นเกษตรกรแบบเป็ นผูป ้ ระกอบการ เปลีย่ นจาก
SMEs แ บ บ เ ดิ ม ไ ป สู่ ก า ร เ ป็ น Smart Enterprises แ ล ะ Startups
ทีม ่ ีศกั ยภาพสูง เปลีย่ นจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า
ไ ป สู่ บ ริ ก า ร ที่ มี มู ล ค่ า สู ง
เปลีย่ นจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานทีม ่ ีความรูแ้ ละทักษะสูง ตามโมเดลของ
Thailand 4 . 0 นั่ น ก็ คื อ มั่ น ค ง มั่ ง คั่ ง แ ล ะ ยั่ ง ยื น
โดยปั จ จัย ทางด้ า นเทคโนโลยี สามารถช่ ว ยส่ ง เสริ ม ในด้ า นต่ า ง ๆ ได้ แ ก่
ด้ า น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ต ล า ด แ ล ะ ด้ า น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร
ในส่วนของด้า นการผลิต จะเป็ นการนาเทคโนโลยีส มัยใหม่ม าช่วยในการผลิต
ก า ร อ อ ก แ บ บ สิ น ค้ า ก า ร จั ด ก า ร ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ข น ส่ ง
อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง แ ร ง ง า น ใ ห้ มี ศั ก ย ภ า พ ม า ก ขึ้ น
ซึง่ สามารถวิเคราะห์ได้โดยใช้ AD-AS Model ตามภาพที่ 3 ดังนี้

ภาพที่ 3 : การวิเคราะห์นโยบาย Thailand 4.0 โดยใช้ AD-AS Model


ต า ม น โ ย บ า ย Thailand 4.0
ที่ ไ ด้ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ มี ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ า ง ๆ
ของการด าเนิ น งานของธุ ร กิ จ รวมไปถึ ง การพัฒ นาศัก ยภาพของแรงงาน
ถื อ เป็ นการขยายความสามารถในการผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารของบริ ษ ั ท ฯ
ตามภาพที่ 3 จะเห็ นว่า ก่อนที่จะมีนโยบายนี้ เกิด ขึ้น จุดดุลยภาพจะอยู่ที่จุด E1
แ ต่ เ มื่ อ มี ก า ร พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ใ ช้ ใ น บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ พั ฒ น า แ ร ง ง า น
จะท าให้ มี ค วาม ต้ อ งก ารผลิ ต สิ น ค้ า และบ ริ ก ารอ อ ก ม าจ าหน่ าย ม าก ขึ้ น
ท า ใ ห้ เ ส้ น อุ ป ท า น ร ว ม (Aggregate supply : AS)
ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาวเคลื่อ นไปทางขวา เกิด เป็ นจุด ดุลภาพใหม่ที่จุด E2
ท า ใ ห้ ร ะ ดั บ ร า ค า (P) ล ด ล ง
เนื่องจากเมือ
่ เทคโนโลยีดีขน ึ้ และแรงงานสามารถผลิตสินค้าและบริการได้มากขึ้
น จ ะ ท า ใ ห้ ต้ น ทุ น ต่ อ ห น่ ว ย ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ล ด ล ง ส่ ง ผ ล ต่ อ ไ ป ยั ง GDP
ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ พิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย โ ด ย ใ น ปี พ . ศ . 2560 7-Eleven
มี จ านวนพนัก งานทั้ง ในฝ่ ายปฏิบ ต ั ิก ารร้า นและพนัก งานในส านัก งานใหญ่ถึง
51,458 ค น ก า ร ที่ มี ก า ร พั ฒ น า แ ร ง ง า น ใ ห้ มี ศั ก ย ภ า พ
จะทาให้เกิดประโยชน์กบ ั บริษท ั ฯ มาก

You might also like