You are on page 1of 54

สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

State, Market and Globalization:


A Brief History of Global Economic Order
Trin Aiyara
M.A.(Development Economics) Independent Academic,
E-mail: trin.aiyara@gmail.com

Abstract 3
The emergence of economic globalization
between the late twentieth century and the early »‚·Õè 19
twenty-first century has been the result of global ©ºÑº·Õè 2
economic order, which is based on Neoliberalism, àÁ.Â.
and the transportation and information technology -
development. This article confirms the aforementioned ÁÔ.Â.
argument through the analysis of global economic
order history and the expansion/reduction of 2556
economic activities under international political
economy theory, which emphasizes on the relation
and distance between state and market, the
fundamental logic of which are completely
contradictory. This article illustrates the difference
of each historical period by describing the rise and
fall of the theories, which are the foundation of
economic sphere administration, as well as the
practical implementation of the theories and the
technology development related to time-space
compression phenomenon. The article particularly
focuses on Neoliberalism regime, the ideas and
policy of which are to promote the roles of markets
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

and private sectors as well as to limit the economic


intervention of the government. Additionally, the
article also elaborates the transportation technology
development and information technology revolution
during the late twentieth century as well as asks a
question on the righteousness of global economic
order policy based on Neoliberalism at the end.
Keywords: Globalization, Global Economic
Order, Neoliberalism, Keynesian,
Technology, Policy

Vol. 19
No. 2
Apr.
-
Jun.
2013
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

รัฐ ตลาด และโลกาภิวตั น์ : ประวัติศาสตร์


อย่างย่อของการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลก
ตฤณ ไอยะรา
นักวิชาการอิสระ
E-mail: trin.aiyara@gmail.com

บทคัดย่อ
การขยายตัวของปรากฏการณโลกาภิวัตนทาง
เศรษฐกิจในชวงปลายศตวรรษที่ 20 ถึงตนศตวรรษที่
21 เปนผลมาจากการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจโลกที่ 5
วางอยูบนรากฐานแนวคิดเสรีนิยมใหมและการพัฒนา
»‚·Õè 19
เทคโนโลยีดานคมนาคมและสารสนเทศ บทความนี้
©ºÑº·Õè 2
ยื น ยั น ข อ สรุ ป ดั ง กล า วข า งต น ผ า นการวิ เ คราะห àÁ.Â.
ความเกี่ยวเนื่องของประวัติศาสตรการจัดระเบียบ -
เศรษฐกิจโลกและการขยาย/หดตัวของกิจกรรมทาง ÁÔ.Â.
เศรษฐกิ จ โดยใช ก รอบทฤษฎี ท างเศรษฐศาสตร 2556
การเมืองระหวางประเทศที่มุงเนนความสนใจไปที่
การศึกษาความสัมพันธและระยะหางระหวางรัฐและ
ตลาด ซึ่งมีตรรกะขั้นพื้นฐานที่ขัดแยงกันอยางสิ้นเชิง
บทความได แ สดงความแตกต า งในแต ล ะช ว งของ
ประวัติศาสตร ผานการบรรยายถึงการผงาดและเสื่อม
ถอยของทฤษฎีที่เปนรากฐานทางความคิดของการ
จัดการปริมณฑลทางเศรษฐกิจ และภาคปฏิบตั กิ ารทาง
นโยบายของทฤษฎี เ หล า นั้ น รวมทั้ ง การพั ฒ นา
เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วของกับการเรงเราสภาวะการกระชับ
แนนระหวางสถานที่และเวลา โดยบทความไดมุงเนน
ไปทีแ่ นวคิดเสรีนยิ มใหม ทัง้ ในแงมมุ ทางความคิดและ
การนําไปผลักดันนโยบาย เพื่อสงเสริมบทบาทของ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ตลาดและภาคเอกชน ควบคูไปกับการจํากัดบทบาท
ของภาครั ฐ ในการแทรกแซงระบบเศรษฐกิ จ และ
การพัฒนาเทคโนโลยีคมนาคมและการปฏิวตั สิ ารสนเทศ
ในชวงปลายศตวรรษที่ 20 รวมถึงการตัง้ คําถามเกีย่ วกับ
ความถูกตองชอบธรรมของนโยบายการจัดการระบบ
เศรษฐกิจโลกทีม่ แี นวคิดเสรีนยิ มใหมเปนรากฐานทาง
อุดมการณไวในตอนทายอีกดวย

คําสําคัญ: โลกาภิ วั ต น , ระเบี ย บเศรษฐกิ จ โลก,


เสรีนิยมใหม, เคนสเชียน, นโยบาย

Vol. 19
No. 2
Apr.
-
Jun.
2013
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

There is no alternative – Margaret Thatcher

คํากลาวอันโดงดังของ Margaret Thatcher1 นายกรัฐมนตรีหญิงเหล็ก


แหงสหราชอาณาจักรในชวงทศวรรษ 1980 ที่วา “ทุกคนไมมีทางเลือก
(ในการจัดการระบบเศรษฐกิจและสังคม) อื่นอีกแลว” ทางเลือกเพียงหนึ่ง
เดียวซึ่งผูนําหญิงเหล็กทานนี้อางถึง คือแนวคิดการจัดการระบบเศรษฐกิจ
และสังคมแบบเสรีนิยมใหม (Neoliberal) อันเปนแนวคิดที่เนนความสําคัญ
ของตลาดหรือกลไกในการจัดสรรและกระจาย ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
พรอมไปกับการจํากัดบทบาทของรัฐในการเขาไปยุง เกีย่ วในระบบเศรษฐกิจ
อันรวมไปถึงการสงเสริมการเคลือ่ นยายอยางเสรีของสินคาและเงินทุน และ
การจํ า กั ด หรื อ กํ า จั ด ระเบี ย บกฎเกณฑ ท างเศรษฐกิ จ สื่ อ มวลชนและ 7
นักวิชาการ (โดยเฉพาะฝายซาย) จึงมักเรียกแนวคิดเสรีนิยมใหมในอีกชื่อ
หนึ่งวา “ความศรัทธาในกลไกตลาด (Free market doctrine)” »‚·Õè 19
จากขอเท็จจริงเชิงประวัติศาสตรที่เกิดขึ้นในชวงเวลาสามสิบกวาปที่ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ผานมา คํากลาวของ Thatcher คงไมเปนอะไรที่ดูเกินจริง เพราะในชวงไม -
กีท่ ศวรรษ หลายประเทศในทุกทวีปลวนหันไปปรับเปลีย่ นการจัดการระบบ ÁÔ.Â.
เศรษฐกิจใหเปนไปตามหลักการของแนวคิดเสรีนยิ มใหมมากขึน้ ไมวา จะเปน 2556
ประเทศที่รํ่ารวยอยางสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศสหรือ
ประเทศกําลังพัฒนาอยางประเทศในแถบอเมริกาใต อยางบราซิล อารเจนตินา 2
ในชวงทศวรรษ 1980-90 หรือรัฐในเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางไทยและ
อินโดนีเซีย หลังจากวิกฤติการณทางการเงินใน ค.ศ.1997 เปนตน
ยิง่ ไปกวานัน้ การแพรกระจายของแนวคิดเสรีนยิ มใหมยงั เกิดขึน้ พรอม
กับการเกิดขึน้ และดํารงอยูอ ยางมัน่ คงของปรากฏการณทเี่ รียกวา “โลกาภิวตั น
1
คํากลาวนี้มักถูกเรียกอยางยอๆ
วา TINA
2
แตในปจจุบัน วารสารทางเศรษฐกิจ/การเมืองสายเสรีนิยมอยาง The Economist (2011)
กลาวหารัฐบาลบราซิลและอารเจนตินาวา บริหารเศรษฐกิจโดยใชนโยบายแบบกีดกัน
(Protectionism) รายละเอียดอานเพิม่ เติมไดจากบทความ The Self-Made Siege ในกรณี
ของบราซิล และบทความ Keep Out ในกรณีของอารเจนตินา
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

(Globalization)” โดยโลกาภิวัตนสามารถเห็นไดจากปรากฏการณที่ระบบ
เศรษฐกิจ สังคม หรือแมกระทัง่ วัฒนธรรมมีความเกีย่ วพันเชือ่ มโยงกันมากขึน้
(interdepence) จากขอมูลของ World Bank (2010) ที่ระบุวาการสงออก
ของสินคาและบริการขยายตัวเพิ่มขึ้น 3 เทาในชวง ค.ศ.1990-2007 และ
อัตราการคา (trade ratio)3 ของประเทศกําลังพัฒนา เพิ่มขึ้นจากรอยละ 34
ใน ค.ศ.1990 เปนรอยละ 62 ใน ค.ศ. 2008 ขอมูลขางตนแสดงใหเห็นวา
ระบบเศรษฐกิจของโลกมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้นในชวงไมกี่ปที่ผานมา
หรือปรากฏการณโลกาภิวตั นสามารถรับรูไ ดจากการใชชวี ติ ประจําของพวกเรา
ไมวา จะเปนการบริโภคอาหารหรือสินคาจากตางประเทศ การทํางานใหกบั
บรรษัทขามชาติ การพบปะเพือ่ นรวมโลกตางสัญชาติ หรือแมกระทัง่ การชม
8 ภาพยนตรหรือฟงดนตรีจากตางประเทศ อยางไรก็ตาม บทความนีจ้ าํ กัดมิติ
ของโลกาภิวัตนไวเพียงแคดานเศรษฐกิจเทานั้น
Vol. 19 โดยสรุปแลว การดํารงอยูของโลกาภิวัตนไดเกิดขึ้นไปพรอมกับการ
No. 2 แพรหลายของแนวคิดเสรีนยิ มใหม หรืออาจพูดอีกแบบไดวา ในชวงยีส่ บิ หาป
Apr.
-
สุดทายของศตวรรษที่ 20 และตนศตวรรษที่ 21 ชุมชนโลกลวนเผชิญกับ
Jun. ปรากฏการณการขยายตัวของทัง้ โลกาภิวตั นและแนวคิดเสรีนยิ มใหม ฉะนัน้ แลว
2013 คําถามที่สําคัญประการหนึ่งคือ การแพรกระจายของแนวคิดเสรีนิยมใหมมี
ความของเกี่ยวกับการขยายตัวของโลกาภิวัตนหรือไม ซึ่งขอเสนอของ
บทความชิน้ นีค้ อื แนวคิดเสรีนยิ มใหมเปนแนวคิดหรืออุดมการณหลักในการ
กํากับดูแลปรากฏการณโลกาภิวตั นหรืออีกนัยหนึง่ การเคลือ่ นทีข่ า มพรมแดน
รัฐชาติของทรัพยากรทางเศรษฐกิจถูกควบคุมภายใตแนวคิดเสรีนิยมใหม
นอกเหนือไปจากการเผยใหถงึ ความเชือ่ มโยงระหวางโลกาภิวตั นและ
แนวคิดเสรีนยิ มใหม บทความชิน้ นีพ้ ยายามตอบชุดคําถามวาดวยผลกระทบ
ของโลกาภิวตั นทถี่ กู จัดการภายใตแนวคิดเสรีนยิ ม อันประกอบไปดวย อะไร
3
อัตราการคา (trade ratio) คือสัดสวนของมูลคาการสงออกรวมกับนําเขาตอผลผลิตมวลรวม
ภายในประเทศ (GDP) ซึ่งประเทศที่มีระดับอัตราการคาที่สูงหมายความวา ประเทศ
ดังกลาวมีระดับการเปดประเทศเพือ่ ทําการคาขายระหวางประเทศ (degree of openness)
ที่สูง
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

คื อ คํ า มั่ น สั ญ ญาของแนวคิ ด เสรี นิ ย มใหม ใ นการจั ด การโลกาภิ วั ต น ?


โลกาภิวัตนที่วางอยูบนฐานของเสรีนิยมใหมสงผลกระทบตอความเปนอยู
ของสมาชิกในชุมชนโลกอยางไร? อยางไรก็ตามบทความนี้จะไมจํากัด
ขอบเขตเพี ย งแค ก ารตอบคํ า ถามหรื อ ยื น ยั น ข อ เสนอบางประการ แต
บทความชิ้นนี้ยังกลาวถึงภูมิหลังดานพัฒนาการของแนวคิดเสรีนิยมใหม
ไมวา จะเปนในดานประวัตศิ าสตรทางภูมปิ ญ  ญา หรือบริบททางประวัตศิ าสตร
เพื่อทําใหการตอบคําถามหรือการยืนยันขอเสนอมีความเขมแขงขึ้น
สําหรับโครงสรางของบทความนี้จะเริ่มตนจากการบรรยายถึงความ
สัมพันธระหวางแนวคิดเสรีนยิ มคลาสสิคและโลกาภิวตั นทอี่ ยูภ ายใตระเบียบ
ของจักรวรรดิอังกฤษ ((An) Globalization) จากนั้น เปนเนื้อหาในสวนของ
ความเสื่อมถอยของแนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคและการผงาดขึ้นของแนวคิด 9
เคนสเชียน (Keynesian) อันเปนแนวคิดที่ครอบงําการจัดระเบียบทาง
เศรษฐกิจโลกหลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปลายศตวรรษที่ 20 ถัดไป »‚·Õè 19
บทความเสนอถึงแนวคิดเสรีนยิ มใหม ทัง้ ดานแนวคิดและขอเสนอเชิงนโยบาย ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
บริบททางประวัติศาสตร รวมไปถึงความสัมพันธระหวางโลกาภิวัตนและ -
แนวคิดเสรีนยิ มใหม สุดทาย บทความชีใ้ หเห็นถึงคํามัน่ สัญญาของเสรีนยิ มใหม ÁÔ.Â.
และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจ 2556

แนวคิ ดเสรีนิยมคลาสสิ คและโลกาภิ วตั น์ ที่นําโดยจักรวรรดิ องั กฤษ


รากฐานของแนวคิดเสรีนิยมใหมสามารถสืบสาวไดไปจนถึงแนวคิด
เสรีนิยมคลาสสิค (Classical Liberalism) ในชวงศตวรรษที่ 18-19 แนวคิด
ดังกลาวถูกนําเสนอโดยนักคิดแหงสํานักการรูแ จงทางปญญาแหงสกอตแลนด
(Scottish Enlightment) อยาง อดัม สมิธ (Adam Smith) และนักเศรษฐศาสตร
การเมืองอยาง เดวิด ริคารโด (David Ricardo) ที่ยึดมั่นในตลาดเสรีที่มีการ
แขงขันอยางสมบูรณ (perfect competition) และระบบเศรษฐกิจทีป่ ราศจาก
การแทรกแซงของรัฐ (Laissez-Faire) (Steger and Roy, 2010)
อดัม สมิธ ไดเสนอมุมมองวามนุษยมคี วามเปน “สัตวเศรษฐกิจ (Homo
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

Economicus)” ทีม่ จี ดุ มุง หมายของการกระทําพุง ไปทีผ่ ลประโยชนของพวก


เขาเองเปนหลัก และการแลกเปลีย่ นกันทางเศรษฐกิจ (economic exchange)
เปนกิจกรรมที่สะทอนถึงธรรมชาติของมนุษย โดยการกระทําของมนุษย
ยังถูกกํากับชีน้ าํ โดยเหตุผลทางเศรษฐกิจดวย (economic rationality) สมิธ
จึงเชื่อวาการกระทําที่มุงเนนไปที่ผลประโยชนทางเศรษฐกิจของมนุษย
จะนําพาสังคมไปสูดุลยภาพ (equilibrium) เนื่องจากการที่ปจเจกบุคคล
กระทําตามความตองการที่ถูกชักนําดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจ มีผลให
ประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด สรรทรั พ ยากรทางเศรษฐกิ จ ของสั ง คมเพิ่ ม พู น
ความเพิม่ ขึน้ ของประสิทธิภาพเปนผลมาจากการแบงงานกันทําตามความถนัด
ของปจเจกบุคคล (specialization of labors) สมิธจึงเชื่อวายิ่งสังคมมีการ
10 แบงงานกันทําในระดับทีล่ ะเอียดและซับซอนมากขึน้ เทาใด สังคมมีแนวโนม
เขาถึงประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรในระดับสูงขึน้ เทานัน้ (Heilbroner,
Vol. 19 1999; Polanyi, 2001)
No. 2 ดังนัน้ ในความเห็นของสมิธ ระบบเศรษฐกิจจะทํางานไดดที สี่ ดุ ภายใต
Apr.
-
เงือ่ นไขทีป่ ราศจากการแทรกแซงของรัฐบาลซึง่ อาจไปขัดขวางกระบวนการ
Jun. แลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจอันเปนธรรมชาติขั้นพื้นฐานของมนุษยระบบ
2013 เศรษฐกิจควรดําเนินภายใตระบบตลาดที่สามารถปรับตัวไดเองผานกลไก
ราคา (self-regulating market) ซึง่ สอดคลองกับธรรมชาติทางเศรษฐกิจของ
มนุษย เพือ่ ใหการกระทําของปจเจกบุคคลสามารถนําสังคมไปสูส ภาวะทาง
เศรษฐกิจที่พึงปรารถนาได (Heilbroner, 1999)
ในขณะที่เดวิด ริคารโด ไดทําการเสนอทฤษฎีทางเศรษฐกิจระหวาง
ประเทศ คือทฤษฎี “ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ (comparative advantage)”
ที่ประกาศวาการคาเสรีระหวางประเทศจะทําใหสวัสดิการของพลเมือง
ในประเทศทีเ่ ขารวมกิจกรรมดังกลาวเพิม่ ขึน้ อันเปนผลมาจากการแบงงาน
กันทําในระดับนานาประเทศทีแ่ ตละประเทศไดผลิตสินคาตามความถนัดของ
ตนเอง ซึง่ ความถนัดสามารถวัดไดจากตนทุนเปรียบเทียบของการผลิตสินคา
แตละประเภท และในทายที่สุดประเทศจะทําการสงออกสินคาที่ตนเองมี
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ความถนัดในการผลิต (มีตน ทุนการผลิตตํา่ ) และนําเขาสินคาทีม่ คี วามถนัด


ในการผลิตนอย (ตนทุนการผลิตสูง) การกระทําดังกลาวมีผลทําใหระบบเศรษฐกิจ
เขาถึงการจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดังเห็นได
จากประชาชนในแตละประเทศสามารถเขาถึงการบริโภคสินคาชนิดตางๆ
ไดมากขึ้น เนื่องจากราคาสินคาที่ถูกลง (Krugman and Obstfeld, 2003)
ดังนั้น รัฐบาลจึงไมควรกีดกันกิจกรรมการคาระหวางประเทศ ผาน
ทางการใชอํานาจรัฐเขาไปควบคุมกิจกรรมดังกลาว ไมวาจะเปนการใช
เครื่องมือทางภาษีศุลกากร การควบคุมการนําเขาและสงออก หรือการ
ควบคุมปริมาณสินคาสงออกหรือนําเขา (Steger and Roy, 2010) หรืออีก
นัยหนึ่ง การขยายตัวของตลาดเสรีหรือการลดการควบคุมกิจกรรมการคา
ระหวางประเทศโดยรัฐมีผลทําใหสวัสดิการของประชาชนเพิม่ ขึน้ อันเปนผล 11
มาจากการแบงงานกันทําในระดับนานาประเทศ ที่มีผลทําใหการจัดสรร
ทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้น »‚·Õè 19
นักคิดสํานักเสรีนิยมคลาสสิคยังยืนยันรวมกันวา รัฐควรมีขนาดและ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ขอบเขตของการใชอํานาจรัฐใหเล็กที่สุดเทาที่จะเปนไปได (minimal state) -
(Bobbio, 1990) โดยหนาที่อันพึงปรารถนาของรัฐควรมีเพียงแคการรักษา ÁÔ.Â.
ความเปนระเบียบเรียบรอย (law and order) ของสังคม และปกปอง 2556
กรรมสิทธิ์เอกชน (private property rights) เพราะถารัฐบาลมีอํานาจและ
บทบาทมากเกินไปอาจทําใหสทิ ธิและเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐานตามธรรมชาติของ
มนุษยถูกละเมิด (Steger and Roy, 2010)
จากเนื้ อ หาข า งต น สามารถสรุ ป ได ว  า ใจความสํ า คั ญ ของแนวคิ ด
เสรีนยิ มคลาสสิค คือการลดอํานาจและบทบาทของรัฐในการเขาไปยุง เกีย่ ว
กิจการของเอกชน และในขณะเดียวกันพยายามทําใหเอกชนจัดการกับเรือ่ ง
ราวในชีวิตของตัวเองมากที่สุดเทาที่เปนไปได โดยเฉพาะกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจทีเ่ ปนพืน้ ฐานสําคัญของชีวติ มนุษย เนือ่ งจากการเขาไปแทรกแซง
ทีม่ ากเกินไปของรัฐนอกจากจะเปนการละเมิดสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของมนุษยแลว
ยังทําใหไปขัดขวางมนุษยจากการเขาถึงสังคมทีพ่ งึ ปรารถนาดวย อันเปนผล
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

จากความดอยประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรและการขัดแยงตอ
ธรรมชาติทางเศรษฐกิจของมนุษย
ในทางประวัตศิ าสตรแลว แนวคิดการจัดระบบเศรษฐกิจและสังคมแบบ
เสรีนิยมคลาสสิคไดกลายเปนรากฐานที่สําคัญของระบบเครือขายการคา
ของจักรวรรดิองั กฤษ (British Empire)4 ในชวงศตวรรษที่ 19 ถึงตนศตวรรษ
ที่ 20 ดังที่นักประวัติศาสตรอยาง ไนล เฟอรกูสัน (Niall Ferguson) ไดตั้ง
ขอสังเกตวาจักรวรรดิองั กฤษมักนําหลักการวาดวยการคาเสรี รัฐทีถ่ กู จํากัด
บทบาท (limited night watchmen) วิธกี ารจัดการกรรมสิทธิเ์ อกชนแบบทุนนิยม
ไปเผยแพรในดินแดนทีอ่ ยูภ ายใตอาณัตกิ ารปกครองหรือดินแดนทีจ่ กั รวรรดินี้
มีปฏิสมั พันธดว ย (Ferguson, 2002) และนักประวัตศิ าสตรสงั คมอยาง เอริค
12 ฮอบสบอวม (Eric Hobsbawm) ไดเสนอวาโลกาภิวตั นในชวงเวลาศตวรรษ
ที่ 19 ถูกทําใหขยายตัวโดยจักรวรรดิอังกฤษผานทางนโยบายการผนวก
Vol. 19 สวนตางๆ ของโลกเขามาสูเครือขายทางการคาเสรี ผานทางนโยบายการ
No. 2 ผลักดันการยกเลิกขอกีดกันทางการคา (Hobsbawm, 2007)
Apr.
-
ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั ของนโยบายขางตน คือการผนวกสยามเขามาเปน
Jun. สวนหนึ่งของระบบทุนนิยมโลกในชวงศตวรรษที่ 19 ผานทางสนธิสัญญา
2013 เบาวริ่ง งานของไชยันต รัชชกูล (Chaiyan Rajchagool) ไดชี้ใหเห็นวา
การเซ็นสนธิสญ ั ญาเบาวรงิ่ มีผลทําใหรฐั สยามลดการควบคุมแทรกแซงโดย
เฉพาะการยกเลิกอํานาจในการควบคุมการนําเขาและสงออกสินคาของ
พระคลังสินคา ไมวาจะเปนอํานาจทางการตั้งภาษีหรือจํากัดปริมาณสินคา
นอกเหนือไปจากการลดอํานาจในการแทรกแซงกิจกรรมการคาระหวาง
ประเทศ สนธิสญ ั ญาเบาวรงิ่ ยังทําใหรฐั สยามปรับเอาระบบกรรมสิทธิเ์ อกชน
มาใช โดยระบบดังกลาวถูกประยุกตใชกบั กฎหมายวาดวยการถือครองทีด่ นิ
4
ถึงแมวาจะมีนักคิดหลายทาน เชน Chang (2007) เสนอทัศนะวาการมองวาอังกฤษเปนผู
ปกปองและปฏิบตั ติ ามแนวคิดเสรีนยิ มเปนความเขาใจผิดทางประวัตศิ าสตรหรืออาจไมใช
ความเขาใจที่ถูกตองซะทีเดียว เนื่องจากอังกฤษใชนโยบายแบบเสรีนิยม โดยเฉพาะ
นโยบายการคาระหวางประเทศอยางเลือกปฏิบตั ิ อยางไรก็ตาม ประเด็นนีไ้ มใชสาระสําคัญ
ของบทความชิ้นนี้ จึงไมขอทําการกลาวถึงมากนัก
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ที่อนุญาตใหผูมีสิทธิในที่ดินตนไมจําเปนตองเปนเพาะปลูกในที่ดินแหงนั้น
ตางกับกฎหมายทีด่ นิ กอนหนานัน้ ทีก่ าํ หนดวาผูท มี่ สี ทิ ธิในทีด่ นิ คือผูท ที่ าํ การ
เพาะปลูกในที่ดินแหงนั้น ที่ดินจึงมีสถานะกลายเปนสินคา (commodity) ที่
สามารถซื้อขายในตลาดได การดํารงอยูของระบบกรรมสิทธิ์เอกชนในที่ดิน
อาจเห็นไดเพิ่มจากการเก็บคาเชาที่ดินที่เปนตัวเงินของเจาที่ดิน ไชยันต
ยังไดเสนอเพิม่ เติมวาการเปลีย่ นแปลงในระบบกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ สวนหนึง่ แลว
เปนผลมาจากการเปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจของสยามจากระบบเกษตรกรรม
แบบยังชีพพอเลีย้ งตนเอง ไปเปนระบบการเกษตรกรรมแบบปลูกพืชพาณิชย
(cash crops) โดยเฉพาะการทํานาขาว การเปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจเปน
ผลมาจากการที่รัฐสยามไดเขาไปเปนสวนหนึ่งของเครือขายการคาของ
จักรวรรดิอังกฤษ สยามจึงไดมีหนาที่เปนผูผลิตขาวใหแกอาณานิคมของ 13
อังกฤษ (Chaiyan, 1994)
ยิ่งไปกวานั้น จักรวรรดิอังกฤษยังเปนผูนําของสรางระบบมาตรฐาน »‚·Õè 19
การวัดอัตราการแลกเปลีย่ นของเงินตราสกุลตางๆ ทีถ่ กู เรียกวา “มาตรฐาน ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ทองคํา (Gold Standard)” ที่มูลคาเงินสกุลตางๆ ถูกอางอิงอยูกับปริมาณ -
ทองคํา เพือ่ ใหแตละประเทศสามารถทําการคาขายระหวางประเทศไดอยาง ÁÔ.Â.
สะดวกขึน้ เพราะสามารถใชทองคํา (หรือกระดาษทีอ่ า งอิงถึงปริมาณทองคํา) 2556
เปนสื่อกลางในการคาขายระหวางประเทศได หรือใชทองคําเปนหนวยใน
การเปรียบเทียบ เชนพอคาชาวอังกฤษที่ตองการนําเขาสินคาจากประเทศ
ฝรัง่ เศส สามารถนําเงินปอนดไปแลกเปนทองคําทีธ่ นาคารกลางอังกฤษ แลวนํา
ทองคําไปแลกเปนเงินฟรังคที่ธนาคารกลางของฝรั่งเศส เพื่อนําเงินฟรังค
ไปนําเขาสินคา (Polanyi, 2001; Eichengreen, 1996) จากการทีร่ ะบบมาตร
ทองคําไดสรางตัวเปรียบเทียบมูลคาของเงินแตละสกุลแลว มีผลทําใหความ
ซับซอนของการแปลงคาเงินตราตางสกุลลดลง ทําใหการคาขายระหวาง
ประเทศมีความสะดวกมากขึ้น (Hobsbawm, 1975)
นอกไปจากการอํานวยความสะดวกในการคาขายระหวางประเทศ
ระบบมาตรฐานทองคํายังมีสวนชวยในการเคลื่อนยายเงินทุนขามประเทศ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

อีกดวย (Rodrik, 2011) กลาวโดยสรุปแลว ระบบมาตรฐานทองคําเอื้อตอ


การขยายตัวของโลกาภิวตั นทางเศรษฐกิจเนือ่ งจากระบบดังกลาวลดความ
ซับซอนของการเทียบเคียงมูลคาของเงินสกุลทีต่ า งกันอันเปนผลมาจากการ
มีมาตรฐานกลางในการเปรียบเทียบ ทําใหเอกชนสามารถดําเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศไดอยางคลองตัวขึ้น เพราะการชําระเงินตรา
ตางสกุลในการซือ้ ขายสินคาและบริการระหวางประเทศทําไดสะดวกขึน้ และ
การเคลื่อนยายเงินขามประเทศทําไดอยางงายขึ้น
การขยายตัวของโลกาภิวัตนในศตวรรษที่ 19 อาจกลาวไดวาเปนผล
มาจากการจัดวางเครือขายการคาของจักรวรรดิอังกฤษที่วางอยูบนฐานคิด
แบบเสรีนยิ มทีเ่ นนบทบาทของเอกชนและจํากัดบทบาทของรัฐในการเขาไป
14 ยุงเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ และการสรางระบบมาตรฐานทองคําที่ทําให
กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศเปนไปอยางไหลลืน่ และเรียบงายขึน้
Vol. 19 อยางไรก็ตาม การขยายตัวของโลกาภิวตั นไมไดเปนผลจากการจัดการทาง
No. 2 สังคมแตเพียงประการเดียว การขยายตัวของโลกาภิวัตนยังถูกเรงเราขึ้น
Apr.
-
จากการขยายตัวของโครงสรางขัน้ พืน้ ฐานสําหรับการเคลือ่ นยายทรัพยากร
Jun. ทางเศรษฐกิจ เชนการแพรกระจายของเรือเดินสมุทรและรางรถไฟไปยัง
2013 พื้นที่หางไกล รวมไปถึงการขุดคลองซุเอซ (Suez Canal) ใน ค.ศ.1969
ที่ทําใหการเดินทางระหวางโลกตะวันตกและโลกตะวันออกสะดวกขึ้น และ
การพัฒนาของเทคโนโลยีในการติดตอสื่อสาร โดยเฉพาะการเกิดขึ้นและ
ขยายตัวของโทรเลขและเครือขายเคเบิลใตนํ้า ทําใหการติดตอสื่อสารและ
แลกเปลี่ยนขาวสารระหวางพื้นที่ตางๆ ของโลกทําไดอยางสะดวกขึ้น
(Hobsbawm, 1975)5
จากขอมูลเชิงประจักษ การครอบครองรางรถไฟ เรือเดินสมุทร และ
บริการโทรเลข สวนใหญแลวอยูใ นการครอบครองของบริษทั เอกชน เอกชน
5
Hobsbawm (1975) ยังไดกลาวในบท Unified World ในหนังสือ The Age of Capital วา
การขยายตัวของ รางรถไฟ เรือเดินสมุทร และโทรเลข ทําใหเกิดสิง่ ทีเ่ รียกวา “ประวัตศิ าสตร
โลก (World History) ขึน้ มาเปนครัง้ แรก เนือ่ งจากแทบทุกพืน้ ทีข่ อง “โลก” ไดถกู เชือ่ มโยง
เขาหากันผานเทคโนโลยีขางตน
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

เปนผูข บั เคลือ่ นกระบวนการเชือ่ มโยงทางเศรษฐกิจของโลกในชวงเวลานัน้


ซึ่งอาจสอดคลองกับจุดมุงหมายของแนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคที่เปนแนวคิด
ที่ครอบงําการจัดการทางเศรษฐกิจในชวงเวลานั้น (Hobsbawm, 1975)

การเสื่อมถอยของแนวคิ ดเสรีนิยมคลาสสิ ค
และแนวคิ ดเคนส์เชียน
แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคก็เสื่อมลงไปพรอมกับการเกิดขึ้นของภาวะ
ความตกตํา่ ครัง้ ยิง่ ใหญ (Great Depression) เพราะเหตุการณดงั กลาวไดแสดง
ใหเห็นวากลไกตลาดไมสามารถปรับระบบเศรษฐกิจใหเขาสูดุลยภาพได
เสมอไป โดยแนวคิดการจัดการทางเศรษฐกิจทีก่ ลายเปนแนวคิดกระแสหลัก
ในโลกตะวันตกที่มาแทนที่แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิค คือแนวคิดเคนสเชียน 15
(Keynesian) อันถูกกอรูปขึ้นมาจากแนวคิดของ จอหน เมยนารด เคนส
(John Meynard Keynes) ที่เพิ่มบทบาทของรัฐในการเขาไปแทรกแซงใน »‚·Õè 19
ระบบเศรษฐกิจผานทางการเขาไปจัดการควบคุมอุปสงคมวลรวม (aggregate ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
demand) ผานทางการใชจายภาครัฐหรือเก็บภาษีประเภทตางๆ เชนเพิ่ม -
คาใชจา ยภาครัฐหรือลดการเก็บภาษีในยามทีเ่ ศรษฐกิจเผชิญกับภาวะฝดเคือง ÁÔ.Â.
หรือการเก็บอัตราภาษีในอัตราแบบกาวหนา เพือ่ นํารายไดจากภาษีเหลานัน้ 2556
ไปขยายขนาดของสวัสดิการขัน้ พืน้ ฐานในดานตางๆ ไมวา จะเปนการศึกษา
ภาคบังคับ ระบบประกันสุขภาพ หรือระบบประกันการวางงาน รวมไปถึง
การควบคุมกระแสการไหลของเงินทุนระหวางประเทศ และการวางแผน
จัดการระบบเศรษฐกิจสวนกลางจากคณะผูเชี่ยวชาญของรัฐบาล (Harvey,
2005; Skidelski, 2011; Steger and Roy, 2010) การกาวขึน้ มาของแนวคิด
แบบเคนส เ ชี ย นได ดํ า เนิ น ไปพร อ มกั บ ระบบอุ ต สาหกรรมแบบฟอร ด
(Fordism) ที่เนนการผลิตสินคาที่มีคุณภาพที่คลายคลึงกันในปริมาณมาก
(mass production) เพื่อเนนขายตลาดที่มีผูบริโภคจํานวนมาก (mass
consumption) (Steger and Roy, 2010)
แนวคิดของเคนสมีสวนสําคัญในการจัดตั้งสถาบันที่ทําหนาที่ควบคุม
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศในยุคสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
อยางธนาคารโลก (The World Bank) ทีม่ วี ตั ถุประสงคในการใหเงินชวยเหลือ
ระยะยาวในการฟนฟูแกประเทศในทวีปยุโรปที่ไดรับความเสียหายจาก
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และจัดสรรเงินทุนระยะยาวสําหรับการพัฒนาโครงสราง
พื้นฐานทางเศรษฐกิจแกประเทศที่ยากจน และองคการการเงินระหวาง
ประเทศ (International Monetary Fund - IMF) ที่มีหนาที่ในการใหความ
ชวยเหลือทางการเงินเพื่อใหกลุมประเทศสมาชิกสามารถลดความผันผวน
ทางเศรษฐกิจจากการพยายามรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน
รวมไปถึงขอตกลงทั่วไปทางภาษีศุลกากรและการคา (The General
Agreement on Tariffs and Trade-GATT) ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อสงเสริมกิจกรรม
16 การคาระหวางประเทศทีซ่ บเซาลงไปในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และ 2 ผาน
ทางการจัดทําขอตกลงการคาเสรีแบบพหุภาคี ซึ่งในภายหลังขอตกลงดัง
Vol. 19 กลาวไดกลายเปนรากฐานขององคกรการคาระหวางประเทศ (World Trade
No. 2 Organization-WTO) การจัดตั้งสถาบันขางตนเปนผลมาจากการประชุม
Apr.
-
หารือเพื่อสรางระเบียบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศที่เบรตตัน วูดส
Jun. (Bretton Woods) ใน ค.ศ. 1944 ฉะนัน้ แลวสถาบันทัง้ สามประการจึงถูกเรียก
2013 อยางไมเปนทางการวา สถาบันเบรตตันวูดส (Bretton Woods Institutions)
(Stiglitz, 2002; Harvey, 2005; Steger and Roy, 2010)
สถาบันเบรตตันวูดส โดยเฉพาะธนาคารโลกไดกลายเปนตัวละคร
สําคัญในการเผยแพรแนวคิดเคนสเชียนไปยังประเทศที่อยูนอกเหนือทวีป
ยุโรป โดยแนวคิดเคนสเชียนไดกลายเปนสวนหนึ่งของทฤษฎี “การนําพา
ไปสูภาวะสมัยใหม (Modernization)” ที่มุงเนนไปที่บทบาทของรัฐในการ
ผลักดันกระบวนพัฒนาผานทางการเปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจระบบดัง้ เดิม
(เกษตรกรรม) ไปเปนแบบระบบเศรษฐกิจแบบสมัยใหม (อุตสาหกรรม) หรือ
รัฐตองเปนผูผลักดันกระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรม (industrialization) ที่
เชื่ อ กั น ว า สามารถเพิ่ ม การดู ด ซั บ แรงงานส ว นเกิ น ในภาคชนบท เพิ่ ม
ประสิทธิภาพการผลิตของสังคม รวมไปถึงการสรางสังคมที่มีการบริโภค
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ขนาดใหญ ดังนั้น ขอเสนอทางนโยบายคือการใหบทบาทรัฐในการสงเสริม


อุตสาหกรรมบางประเภทใหมขี นาดใหญทสี่ ามารถเชือ่ มโยงภาคสวนการผลิต
ตางๆ เขาไปดวยกัน เพื่อใหอุตสาหกรรมขนาดใหญเพิ่มผลิตภาพกําลัง
การผลิตและการจางงานในระบบเศรษฐกิจ เนือ่ งจากภาคเอกชนในประเทศ
เหลานั้นยังไมมีความเขมแข็งเพียงพอ ไมวาจะเปนในเรื่องของเทคโนโลยี
ในการผลิต หรือการถือครองทรัพยากรที่สําคัญเชน เงินตราตางประเทศ
หรือสินคาทุน (Chari and Corbridge, 2008)
จากเนื้อหาขางตนจะเห็นไดวาจุดรวมประการหนึ่งระหวางแนวคิด
เคนสเชียนและทฤษฎีการนําพาไปสูภ าวะสมัยใหมคอื การใหความชอบธรรม
แกรฐั ในการเขาไปจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจภายในประเทศ (Leeson, 1998)
การจัดสรรทรัพยากรอาจปรากฏออกมาในรูปของการสรางสาธารณูปโภค 17
การใหความชวยเหลือทางการเงินแกภาคอุตสาหกรรม หรือแมแตการกําหนด
คาจางขัน้ ตํา่ ในทางประวัตศิ าสตร จึงมีการรับรูก นั วา ชวงหลังสงครามโลก »‚·Õè 19
ครั้งที่ 2 ถึง ค.ศ.1980 เปนยุคที่แนวคิดที่เห็นวาการแทรกแซงของรัฐและ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
การวางแผนจากสวนกลางในการจัดสรรทรัพยากรจําเปนตอการนําพาสังคม -
ออกจากความลาหลังไปสูภ าวะสมัยใหมหรือการพัฒนา (Hobsbawm, 1994) ÁÔ.Â.
แตรฐั ไมไดมหี นาทีเ่ พียงแคสง เสริมการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรม 2556
ผานทางนโยบายการจัดสรรทางเศรษฐกิจภายในประเทศเทานั้น รัฐยังตอง
เขาไปยุงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรเศรษฐกิจระหวางประเทศผาน
ทางการตั้งกําแพงภาษีสินคานําเขาหรือมาตรการการกีดกันทางการคาใน
รูปแบบตางๆ เนื่องจากอุตสาหกรรมภายในประเทศกําลังพัฒนายังไมมี
ประสิทธิภาพในระดับที่เพียงพอที่จะแขงขันกับผูประกอบการจากประเทศ
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมในประเทศกําลังพัฒนาจึงจําเปนตองไดรับการ
คุมครองใหรอดพนจากการแขงขันจากผูประกอบการตางชาติที่มีความ
สามารถในการผลิตที่สูงกวา เพื่อใหอุตสาหกรรมเหลานั้นสามารถอยูรอด
ปลอดภัยจนสามารถกลายเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญได นโยบายการพัฒนา
อุตสาหกรรมแบบนี้มักถูกเรียกในอีกชื่อหนึ่งวายุทธศาสตรการผลิตเพื่อ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ทดแทนการนําเขา (Import-Substitution) เพราะโดยทั่วไปแลว ประเทศ


กําลังพัฒนามักจะตองนําเขาสินคาอุตสาหกรรมจากประเทศที่พัฒนาแลว
(Stiglitz, 2002; Chang, 2007; Rodrik, 2007)
นอกเหนือไปจากการควบคุมการเคลือ่ นยายของสินคาระหวางประเทศ
ผานทางการตัง้ กําแพงภาษีหรือขอกีดกันทางปริมาณการสงออกและนําเขา
สินคา แนวคิดเคนสเชียนยังสนับสนุนการควบคุมการไหลเวียนของเงินทุน
ระหวางประเทศดวย (international capital mobility) เนื่องดวยสาเหตุ
สองประการ สาเหตุประการแรกแนวคิดเคนสเชียนเห็นวาการเคลื่อนยาย
เงินทุนขามพรมแดนอยางเสรีเปนสาเหตุสาํ คัญของความไรเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจ โดยเฉพาะระบบเศรษฐกิจที่ใชระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
18 (fixed exchange rate) เนือ่ งจากการไหลเขาออกของเงินทุนทีร่ วดเร็ว ทําให
รัฐบาลลดความสามารถในการรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่ น สวนเหตุผลอีก
Vol. 19 ประการคือการเคลือ่ นยายเงินทุนอยางเสรีทาํ ใหรฐั บาลลดความสามารถใน
No. 2 การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจผานการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ
Apr.
-
ปญหาดังกลาวมักเห็นไดชดั ในประเทศทีใ่ ชระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบคงที่
Jun. โดยในเงื่อนไขของการเคลื่อนยายเงินทุนเสรี รัฐบาลของประเทศดังกลาว
2013 ไมมที างเลือกนอกจากการใชนโยบายการเงินการคลังแบบรัดเข็มขัดพรอม
ไปกับการตั้งดอกเบี้ยในระดับที่สูง เพื่อดึงดูดเงินทุนใหไหลเขาประเทศ
ในทางกลับกันถารัฐบาลลดอัตราดอกเบี้ยใหตํ่าลง เงินทุนก็มีแนวโนมที่จะ
ไหลออกนอกประเทศ เงินทีไ่ หลออกนอกประเทศมีผลทําใหอตั ราแลกเปลีย่ น
ยากที่จะคงตัวอยูได ณ ระดับใดระดับหนึ่ง (Rodrik, 2011) การเคลื่อนยาย
เงินทุนของประเทศจึงเปนสิง่ ทีต่ อ งไดรบั การควบคุมภายใตระเบียบเศรษฐกิจ
โลกทีว่ างอยูบ นการจัดการโดยสถาบันเบรตตันวูดส เพราะระเบียบเศรษฐกิจ
ดังกลาวกําหนดใหแตละประเทศใชระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ที่
สามารถปรับเปลีย่ นได (pegged but adjustable) โดยอัตราแลกเปลีย่ นถูกนํา
ไปเปรียบเทียบกับเงินดอลลาร ในขณะที่เงินดอลลารไดถูกนําไปเปรียบ
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

เทียบกับทองคํา6 (Eichengreen, 1996)


ในระเบียบทางเศรษฐกิจโลกแบบเบรตตันวูดสทวี่ างอยูบ นพืน้ ฐานทาง
ทฤษฎีแบบเคนสเชียน ไมไดทําการสงเสริมโลกาภิวัตนทางเศรษฐกิจที่วาง
อยูบนการเคลื่อนยายทรัพยากรทางเศรษฐกิจขามพรมแดนของรัฐชาติ
เพราะระเบียบทางเศรษฐกิจดังกลาวมักใชกลไกการจัดการภาครัฐในการ
ควบคุมดูแลการเคลื่อนยายทรัพยากรขามพรมแดนของภาคเอกชน ซึ่งรูป
แบบการจัดการระเบียบทางเศรษฐกิจขางตนไมใชเรื่องที่นาแปลกใจนัก
เนื่องจากแนวคิดเคนสเชียนเชื่อวาในบางสถานการณ พฤติกรรมของภาค
เอกชนเปนทีม่ าของความไรเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดังนัน้ แลว ในบางครัง้
รัฐจําเปนตองเขาไปแทรกแซงการจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ เพือ่ สราง
เสถียรภาพใหเกิดขึ้นแกระบบเศรษฐกิจ อยางไรก็ตาม แนวคิดเคนสเชียน 19
เชือ่ วาหลังจากทีร่ ะบบเศรษฐกิจกลับเขาสูส ภาวะทีม่ เี สถียรภาพแลว ภาครัฐก็
ควรปลอยใหเอกชนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางเปนปกติ (Heilbroner, 1999) »‚·Õè 19
เหตุผลหลักทีแ่ นวคิดเคนสเชียนเชือ่ วาการปลอยใหภาคเอกชนดําเนิน ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
กิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางเปนอิสระจากการดูแลและชี้นําจากภาครัฐอาจ -
นําพาระบบเศรษฐกิจหรือสังคมไปสูความไรเสถียรภาพ เพราะแนวคิดเคน ÁÔ.Â.
สเชียนเชือ่ วาการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชนถูกขับเคลือ่ น 2556
ดวย “สัญชาติญาณสัตว (animal spirits) ที่ไมสามารถคาดการณได ไมใช
ดวยความเปนเหตุผลเปนผลทางเศรษฐกิจอันสามารถคาดเดาลวงหนาได
ตามที่แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคยึดถือ รวมไปถึงการมีวิสัยทัศนที่สั้น (less
clear-sighted) ของภาคเอกชน ทําใหการตัดสินใจบางอยางไมเกิดขึ้น เพื่อ
แกไขปญหาขางตน ภาครัฐซึ่งตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลทางเศรษฐกิจ
อยางเปนระบบเพือ่ ใชในการคาดการณสภาพเศรษฐกิจ จึงตองเขามาดําเนิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประการแทน (Cate, 1983)
6
กลไกการทํางานของระเบียบอัตราแลกเปลีย่ นแบบเบรตตันวูดสสามารถอานไดเพิม่ ไดจาก
หนังสือ Globalizing Capital ของ Berry Eichengreen
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

หรืออีกนัยหนึ่ง ปจเจกบุคคลตัดสินใจทางเศรษฐกิจบนฐานของความ
รูสึกมากกวาการใชวิธีทางคณิตศาสตรในการคํานวณผลไดผลเสีย (Davis,
1992) กลาวอยางสรุปไดวา แนวคิดเคนสเชียนเชื่อวาในบางครั้ง ภาครัฐ
จําเปนตองเขามาแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจเพื่อควบคุมชี้นําพฤติกรรม
ของภาคเอกชนที่อาจตัดสินใจกระทําสิ่งไรเหตุผล โดยภาครัฐสามารถ
แทรกแซงระบบเศรษฐกิจผานทางการควบคุมอุปสงคมวลรวม (aggregate
demand) ผานทางการใชจายภาครัฐ การเก็บภาษี การปรับระดับอัตรา
ดอกเบี้ย รวมไปถึงการเพิ่มปริมาณเงินภายในประเทศ
อยางไรก็ตาม แนวคิดเคนสเชียนไดมาถึงจุดสิน้ สุดของการเปนแนวคิด
กระแสหลักในการจัดการระบบเศรษฐกิจในชวงทศวรรษ 1970 การสิ้นสุด
20 ของความเปนกระแสหลักเปนผลมาจากวิกฤติการณทางเศรษฐกิจทีม่ สี าเหตุ
สืบเนือ่ งจากการเพิม่ สูงขึน้ อยางรวดเร็วของราคานํา้ มัน (oil shocks) ทัง้ สองครัง้
Vol. 19 (ค.ศ.1973 และ 1979)7 เนือ่ งจากการสูงขึน้ ของราคานํา้ มันมีผลทําใหเกิดปญหา
No. 2 ทางเศรษฐกิจทีเ่ รียกวา “ปญหาฝดเฟอ (stagflation)” ทีร่ ะบบเศรษฐกิจเผชิญ
Apr.
-
ทั้งปญหาการเพิ่มขึ้นของการวางงานและอัตราเงินเฟอในเวลาเดียวกัน8
Jun. ทําใหแนวคิดเคนสเชียนที่เนนบทบาทของรัฐในการเขาไปควบคุมอุปสงค
2013 มวลรวม ไมสามารถบรรเทาปญหาดังกลาวไดผล เพราะการจัดการผาน
อุปสงคมวลรวมทําใหการแกไขปญหาเงินเฟอและการวางงานเปนเรื่องที่
ตองแลกเปลีย่ นกัน (trade-off) กลาวคือถารัฐบาลกระตุน การใชจา ยเพือ่ ลด
ปญหาการวางงาน การจางงานที่เพิ่มขึ้นมีผลทําใหอัตราเงินเฟอสูงขึ้น และ
7
วิกฤติการณนาํ้ มันครัง้ แรกเกิดขึน้ ใน ค.ศ. 1973 อันเปนผลจากการตัดสินในขึน้ ราคานํา้ มัน
ของกลุม ผูค า นํา้ มันโลก (Organization of Petroleum Exporting Countries - OPEC) สวน
วิกฤติการณนํ้ามันครั้งที่ 2 ใน ค.ศ.1979 เปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใน
อิหราน ที่เปลี่ยนระบบการปกครองจากราชวงศชาห (Shah) ซึ่งมีนโยบายสนับสนุน
สหรัฐอเมริกา ไปเปนการปกครองโดยอิหมาม อตาโตละห โคไมนี (Ayatollah Khomeini)
ที่ดําเนินนโยบายตางประเทศตอตานสหรัฐอเมริกา
8
ภาวะเงินเฟอ คือภาวะที่อํานาจการซื้อ (purchasing power) ของเงินลดลง หรือกลาวให
เจาะจงยิง่ ขึน้ ถาภาวะเงินเฟอมีระดับทีส่ งู ขึน้ เงินในมูลคาเทาเดิมสามารถเปลีย่ นเปนสินคา
หรือบริการไดในปริมาณที่ลดลง
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ถารัฐบาลลดปญหาเงินเฟอดวยการลดการใชจายภาครัฐหรือเพิ่มการเก็บ
ภาษีจากเอกชน จะมีผลทําใหการจางงานลดลง จากสภาพปญหาทาง
เศรษฐกิจขางตน ความศรัทธาในแนวคิดเคนสเชียนทั้งในและนอกวงการ
วิชาการจึงเสือ่ มถอยไป เนือ่ งจากแนวคิดขางตนไมสามารถในการรับมือกับ
ปญหาฝดเฟอ (Harvey, 2005; Steger and Roy, 2010)
ในทายที่สุดการที่แนวคิดเคนสเชียนไมสามารถเสนอทางออกใหแก
ปญหาทางเศรษฐกิจในทศวรรษนี้ ไดกลายเปนเงือ่ นไขสําคัญในการกลับมา
ของแนวคิดเสรีนิยมแบบคลาสสิคในรูปแบบใหมที่เรียกวา “เสรีนิยมใหม
(Neoliberal)” ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากนักเศรษฐศาสตรทั้งจากสายการ
เงินนิยม (Monetarism)9 อยางมิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) จากสาย
การคาดการณอยางมีเหตุผล (rational expectation)10 อยางโรเบิรต ลูคัส 21
(Robert Lucas) (Harvey, 2005) ซึ่งทั้งสองลวนเชื่อวาไมมีการแลกเปลี่ยน
กันระหวางภาวะเงินเฟอและการวางงาน (Froyen, 2005) รวมทัง้ จากการวิจารณ »‚·Õè 19
9 ©ºÑº·Õè 2
สํานักคิดการเงินนิยม คือสํานักคิดทางเศรษฐศาสตรที่เชื่อวาเงิน (money) นอกจากจะมี
ฐานะเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ยังสามารถเปนสิ่งที่ใชสะสมมูลคา และสินทรัพยทาง àÁ.Â.
เศรษฐกิจ ฉะนัน้ แลวเงินจึงเปนปจจัยทีส่ าํ คัญในการกําหนดเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ -
ที่มักสามารถรับรูไดจากความเปลี่ยนแปลงในระดับราคา ดังนั้นแลวรัฐบาลจึงควรควบคุม ÁÔ.Â.
ปริมาณเงินใหเติบโตอยางมีเสถียรภาพ เพือ่ ใหระบบเศรษฐกิจดําเนินไปอยางมีเสถียรภาพ 2556
(อานเพิ่มเติมไดจาก Froyen, 2005)
10
แนวคิดแบบการคาดการณอยางมีเหตุผล คือแนวคิดที่เชื่อวาเสถียรภาพของระบบ
เศรษฐกิจขึ้นอยูกับการคาดการณของปจเจกชนในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจากการกระทํา
ของปจเจกชนขึ้นอยูกับการคาดการณของพวกเขา แตปจเจกก็ทําการคาดการณภายใต
ขอมูลขาวสารทีพ่ วกเขารับรูเ ทานัน้ (available information) และปจเจกชนใชขอ มูลขาวสาร
ที่พวกเขารับรูอยางจํากัดในการคาดการณการกระทําของปจเจกชนผูอื่นดวย แตเมื่อไรที่
รัฐบาลเขาไปแทรกแซงในระบบเศรษฐกิจ การคาดการณของปจเจกชนมีแนวโนมที่จะผิด
เพีย้ นไป เนือ่ งจากประชาชนไมสามารถรูไ ดวา รัฐบาลจะเขามาแทรกแซงเมือ่ ไร และรัฐบาล
แทรกแซงโดยการใชนโยบายรูปแบบไหน นักคิดในสายนี้จึงเรียกการแทรกแซงจากรัฐวา
“เหตุการณทไี่ มสามารถคาดเดาลวงหนาได (unanticipated shocks)” ในทายทีส่ ดุ การคาดการณ
ของปจเจกชนที่ผิดเพี้ยนไปอันเปนผลจากการเผชิญกับเหตุการณที่ไมสามารถคาดเดา
ได การคาดการณทผี่ ดิ เพีย้ นมีผลทําใหเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไมสามารถถูกทําให
เกิดขึ้นได ฉะนั้นแลวขอเสนอทางนโยบายของแนวคิดนี้ คือการจํากัดการแทรกแซงระบบ
เศรษฐกิจของรัฐ เพือ่ สรางเงือ่ นไขทีเ่ อือ้ ใหการคาดการณของปจเจกชนมีความถูกตองเทีย่ ง
ตรงที่สุด (อานเพิ่มเติมไดจาก Froyen, 2005)
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

จากเศรษฐศาสตรสายทางเลือกสาธารณะ (Public Choice)11 อยางเจมส


บูคานัน (James Buchanan) เปนตน (Harvey, 2005) โดยจุดรวมทางความ
คิดและนโยบายของนักเศรษฐศาสตรขา งตนคือ การลดระดับการแทรกแซง
ของรัฐใหมากทีส่ ดุ เทาทีเ่ ปนไปได เพราะการเขามาแทรกแซงของรัฐจะทําให
ประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากรเศรษฐกิจของกลไกตลาดถูกลดทอน
ลงไป มีผลใหสวัสดิการของสังคมลดลง เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ
เชน การแทรกแซงของรัฐทําใหการคาดการณอยางมีเหตุผลมีผลคาดเคลือ่ น
ไปมีผลทําใหระบบเศรษฐกิจขาดซึ่งเสถียรภาพ หรือการแทรกแซงของรัฐ
อาจนําไปสูการคอรัปชั่นหรือการจัดสรรทรัพยากรที่ลดประสิทธิภาพของ
ระบบเศรษฐกิจโดยรวม เชนการปกปองภาคอุตสาหกรรมทีไ่ รความสามารถ
22 ในการแขงขันเปนตน

Vol. 19 การผงาดของแนวคิ ดเสรีนิยมใหม่


No. 2 และต้นธารความคิ ดของแนวคิ ดเสรีนิยมใหม่
Apr.
- ถึงแมวา การสถาปนาความเปนแนวคิดกระแสหลักของแนวคิดเสรีนยิ ม
Jun. ใหมจะเปนผลสืบเนื่องประการจากการไมสามารถแกปญหาภาวะฝดเฟอ
2013
ของแนวคิดเคนสเชียนและการวิพากษแนวคิดเคนสเชียน ของนักวิชาการ
หลายทาน แตในการรับรูโดยทั่วไป นักคิดสองทานที่ไดรับการยกย อ งว า
เป น ผู  มี อิ ท ธิ พ ลทางความคิ ด ในการก อ ตั้ ง แนวคิ ด เสรี นิ ย มมี อ ยู  ด  ว ยกัน
สองทาน คือ เฟรเดริก ออกัสต ฟอน ฮาเยค (Frederick August Von Hayek)
ซึ่งเปนผูสืบทอดแหงสํานักเศรษฐศาสตรแหงเวียนนา (Vienna School)
อันเปนสํานักที่ Karl Polanyi (2001) บอกวาเปนเสาหลักของแนวคิดเสรีนยิ ม
11
สํานักคิดการคลังสาธารณะ คือสํานักคิดทางเศรษฐศาสตรที่เชื่อวารัฐไมไดเปนเพียงแค
คนกลางหรือผูร กั ษาระเบียบและความสงบเรียบรอยของสังคมเทานัน้ แตรฐั ยังเปนตัวละคร
ที่แสวงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจสวนตัว (private interests) ฉะนั้น แลวนโยบายหรือ
กฎหมายทีอ่ อกโดยรัฐบาลอาจไมสะทอนผลประโยชนสาธารณะก็ได (Farber and Frickey,
1991) ดังนั้นแลว การแทรกแซงทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจึงทําใหการจัดสรรทรัพยากร
ทางเศรษฐกิจของสังคมไมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ในทศวรรษ 1920 และ Milton Friedman ทีเ่ ปนนักเศรษฐศาสตรแหงสํานัก


ชิคาโก (Chicago School) ทีเ่ ปนเสาหลักของเศรษฐศาสตรทใี่ หความสําคัญ
ตอเสรีภาพทางเศรษฐกิจของปจเจกชน
Hayek (1944) ไดเสนอวาการที่รัฐเขาไปยุงเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ
ทําใหเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัด เนือ่ งจากสังคมไปพึง่ พาอํานาจบีบบังคับ
(coercion) จากรัฐมากขึน้ และการควบคุมทางเศรษฐกิจโดยรัฐยังทําใหพลัง
ที่ เ กิ ด จากการกระทํ า อย า งเป น ไปเองโดยสมั ค รใจของสั ง คมอ อ นลง
(spontaneous force) และทําใหคณ ุ ประโยชนอนั เกิดจากการดํารงอยูข องตลาด
เสรีเชน การแขงขัน (competition) และนวัตกรรม (innovation) การใชความรู
ที่คนพบใหมอยางเสรี (free use of new knowledge) รวมไปถึงการ
ปฏิสัมพันธทางเศรษฐกิจอยางสมัครใจของปจเจกชนไมอาจเกิดขึ้นได 23
ยิ่งไปกวานั้น Hayek ยังชี้ใหเห็นวาการที่รัฐเขามามีบทบาทในการ
วางแผนทางเศรษฐกิจยังทําใหการจัดสรรทางเศรษฐกิจไมไดมีลักษณะ »‚·Õè 19
ไมขึ้นกับบุคคลใดบุคคลหนึ่งและมีความเปนกลาง (impersonal and ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
anonymous) อีกตอไป เพราะการจัดสรรเศรษฐกิจจากการวางแผนของรัฐ -
มักจะเอือ้ ประโยชนใหแกบคุ คลบางกลุม ในขณะทีอ่ าจกีดกันบุคคลอืน่ ๆ ในการ ÁÔ.Â.
เขาถึงผลประโยชนหรือโอกาสทางเศรษฐกิจ แตในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด 2556
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษยถกู ชีน้ าํ ดวยการเปลีย่ นแปลงของกลไกราคา
สวนขอบเขตหนาทีข่ องรัฐ Hayek เสนอวารัฐควรมีหนาทีใ่ นการบัญญัตแิ ละ
บั ง คั บ ใช ร ะบบกฎหมายที่ มี ค วามเหมาะสมและเคารพในหลั ก การของ
เสรีภาพสวนบุคคล (personal freedom) และเสรีภาพในการกระทําสัญญา
ตางๆ (freedom of contract) เพื่อปกปองเงื่อนไขที่จําเปนของการแขงขัน
ในระบบเศรษฐกิ จ และเป ด โอกาสให ป  จ เจกชนมี ป ฏิ สั ม พั น ธ ใ นระบบ
เศรษฐกิจไดอยางเสรี
สวน Friedman (2002) ไดเสนอวาเสรีภาพของมนุษยสามารถแบงออก
ไดเปนสองประเภท อันไดแก เสรีภาพทางการเมือง (political freedom)
ที่สามารถแสดงผานการปราศจากการขมขูบังคับจากกลไกรัฐ และเสรีภาพ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ทางเศรษฐกิจ (economic freedom) ทีแ่ สดงผานการดํารงอยูข องระบบเศรษฐกิจ


แบบตลาดเสรีทเี่ ปดโอกาสใหมกี ารแลกเปลีย่ นทรัพยากรทางเศรษฐกิจและ
การรวมมือกันอยางสมัครใจและ Friedman ไดกลาวถึงความสําคัญของ
เสรีภาพทางเศรษฐกิจหรือการดํารงอยูของตลาดเสรีอยางเพิ่มเติมวาเปน
เงื่อนไขที่จําเปนของการบรรลุถึงเสรีภาพทางการเมือง เพราะเสรีภาพทาง
เศรษฐกิจจะสามารถทําใหประชาชนสามารถแยกอํานาจทางเศรษฐกิจจาก
อํานาจทางเมืองซึ่งมักถือครองโดยรัฐ ประชาชนจึงสามารถใชอํานาจทาง
เศรษฐกิจที่ตนเองถือครองไปคัดงางกับอํานาจทางการเมืองของรัฐได
Friedman จึงไดเสนอวาภัยอันตรายที่ใหญหลวงตอเสรีภาพของ
มนุษยคือการกระจุกตัวของอํานาจ (concentration of power) ไมวาจะเปน
24 ในดานการเมืองหรือเศรษฐกิจ ดังนัน้ แลว Friedman จึงยืนยันวาหนาทีห่ ลัก
ของรัฐบาลคือการปกปองเสรีภาพของประชาชนผานทางการเปนปฏิบตั ติ วั
Vol. 19 เปนผูรักษาระเบียบและกฎหมาย เปนผูบังคับสัญญาเอกชน (private
No. 2 contracts) ใหเปนไปตามที่ตกลงไว รวมถึงเปนผูสรางเงื่อนไขที่ทําใหเกิด
Apr.
-
การแขงขันในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี อํานาจของรัฐบาลตองถูกกระจาย
Jun. (dispersed) ใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได โดยการที่รัฐบาลตองไมเขาไป
2013 แทรกแซงระบบเศรษฐกิจ ปลอยใหเอกชนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
อยางเสรี
โดยสรุป ทั้งจากขอเสนอทางทฤษฎีและทางนโยบายของทั้ง Hayek
และ Friedman สามารถสรุปไดวาหลักการขั้นพื้นฐานของการดําเนิน
นโยบายทางเศรษฐกิจ ไดแก การจํากัดบทบาทของรัฐในการเขาไปแทรกแซง
หรือยุง เกีย่ วในปริมณฑลทางเศรษฐกิจ โดยหนาทีส่ าํ คัญของรัฐควรถูกจํากัด
เพียงแคการปกปองระเบียบ กฎหมาย และกติกาที่เอื้อตอเสรีภาพทาง
เศรษฐกิจของประชาชนและสงเสริมใหเกิดการแขงขันระหวางเอกชน เพือ่ ให
การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางเสรีเปนไปได อันเปนมาจากการทีท่ งั้
สองทานเชือ่ วาตลาดเสรีเปนสถาบันทางสังคมทีม่ ฐี านอยูบ นความรวมมือกัน
อยางสมัครใจของปจเจกชน ไมใชการใชกําลังไปบังคับขูเข็ญใหปจเจกชน
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

กระทํากิจกรรมตางๆ อยางที่กลไกรัฐเปน ฉะนั้นแลวการกํากับดูแลระบบ


เศรษฐกิจดวยกลไกตลาดเสรี แทนที่จะเปนการควบคุมดวยกลไกรัฐ มีผล
ทําใหมนุษยชาติสามารถบรรลุเสรีภาพสวนบุคคลไดผานการไดรับซึ่ง
เสรีภาพทางเศรษฐกิจ
แตกวาทีแ่ นวคิดเสรีนยิ มใหมจะไดรบั การนําไปใชในการออกแบบและ
ผลักดันนโยบายสาธารณะก็กินเวลาลวงเลยมาถึงปลายทศวรรษที่ 1970
หรือตนทตวรรษที่ 198012 อันเปนชวงเวลาที่ Margaret Thatcher ไดนําพา
พรรคอนุรักษนิยม (Conservatives) ชนะเลือกตั้งในสหราชอาณาจักรใน
ค.ศ. 1979 และ Ronald Reagan ไดรับการเลือกตั้งเปนประธานาธิบดีแหง
สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ.1981 โดยทั้ง Thatcher และ Reagan ไดผลักดัน
นโยบายที่มีรากฐานจากแนวคิดเสรีนิยมใหม เชนนโยบายการเปดเสรีการ 25
เคลื่อนยายสินคาและเงินทุนขามพรมแดนรัฐชาติ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
ของรัฐใหกลายเปนของเอกชน การใชนโยบายเศรษฐกิจแบบรัดเข็มขัด »‚·Õè 19
การลดขอกฎเกณฑทางเศรษฐกิจตางๆ เชนการยกเลิกสหภาพการคา (trade ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
unions) และสหภาพแรงงาน (labor unions)13 รวมไปถึงการจัดการเศรษฐกิจ -
มหภาคที่เนนไปที่การจัดการดานอุปทาน (supply-side economics)14 ÁÔ.Â.
12
2556
ถึงแมวาชิลีในชวงการปกครองของออกุสโต ปโนเชต (Augusto Pinochet) จะไดรับการ
จดจําวาเปนรัฐชาติแหงแรกทีไ่ ดรบั แนวคิดนโยบายเสรีนยิ มใหมไปใชในการจัดการระบบ
เศรษฐกิจ โดยชิลไี ดเริม่ ใชนโยบายทีว่ างอยูบ นฐานคิดของเสรีนยิ มใหมใน ค.ศ.1973 ภายใต
ความชวยเหลือจากนักเศรษฐศาสตรผูเปนสานุศิษยแหงมหาวิทยาลัยชิคาโก (Chicago
boys) (Stiglitz, ; Pollins, ; Harvey, 2005) แตการเริ่มตนใชนโยบายเสรีนิยมใหมของชิลี
แทบไมไดมีอิทธิพลตอการแพรกระจายของแนวคิดนี้ไปยังสวนอื่นๆ ของโลกมากนัก
13
รายละเอียดของการกาวขึน้ มาเปนแนวคิดกระแสหลักในของแนวคิดเสรีนยิ มใหมในสหรา
ชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา สามารถอานเพิ่มเติมไดจากบทที่ 2 ของหนังสือ A Brief
History of Neoliberalism ของ David Harvey ทีม่ ชี อื่ บทวา The Construction of Consent
14
supply-side economics คือสํานักคิดทางเศรษฐศาสตรที่เชื่อวาระดับรายไดและคุณภาพ
ชีวติ ของสังคมจะสูงขึน้ ได ก็ตอ เมือ่ มีการเพิม่ ขึน้ ของผลผลิตทางเศรษฐกิจทีแ่ ทจริงเทานัน้
ไมใชเกิดจากการกระตุน ผานการใชนโยบายการเงินและการคลังแบบขาดดุล และสํานักคิด
นี้ยังเชื่อวาอัตราภาษีที่สูงเกินไปจะทําใหระบบเศรษฐกิจเผชิญกับภาวะชะงักงันหรือไม
สามารถเติบโตไดมากเทาทีค่ วรจะเปน เพราะอัตราภาษีทสี่ งู ทําใหปก เจกชนมีแรงจูงใจในการ
ทํางานนอยลงและบริษทั เอกชนลงทุนในกิจกรรมทีไ่ มกอ ใหเกิดประโยชน (Gwartney, 2008)
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ที่ตางไปกับแนวคิดเคนสที่เนนการจัดการอุปสงค (Harvey, 2005)


การสถาปนาอํานาจนําในการออกแบบและผลักดันนโยบายสาธารณะ
ของลัทธิเสรีนิยมในโลกตะวันตก ไดเกิดขึ้นไปพรอมกับความลมเหลวของ
ยุทธศาสตรการพัฒนาแบบการผลิตเพือ่ ทดแทนการนําเขาในประเทศกําลัง
พัฒนา อันเปนผลมาจากความลมเหลวในการบริหารจัดการทางนโยบาย
ของภาครัฐ (state failure) เชนการปกปองอุตสาหกรรมมากประเภทจาก
การแขงขันจากผูประกอบการจากภายนอกประเทศมากเกินไป จนกระทั่ง
อุตสาหกรรมทีไ่ ดรบั การปกปองไรซงึ่ ประสิทธิภาพในการผลิต จนไมสามารถ
ไปยกระดับผลิตภาพและการจางงานโดยรวมของประเทศได เปนตน
(Stiglitz, 2002)
26 ความลมเหลวของยุทธศาสตรการพัฒนาทีน่ าํ โดยรัฐและการเปลีย่ นแปลง
ความคิดเชิงนโยบายของรัฐบาลสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาที่เปน
Vol. 19 ประเทศทีม่ อี ทิ ธิพลในการวางกรอบการทํางานขององคการโลกบาล ไดทาํ ให
No. 2 ธนาคารโลกไดปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ ของหนวยงานวิจยั ในชวงตนทศวรรษ 1980
Apr.
-
โดยนักเศรษฐศาสตรทเี่ ปนกําลังสําคัญในการปรับเปลีย่ นคือแอน ครูกเกอร
Jun. (Anne Krueger) ผูซมองเห็นวาปญหาในการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศ
2013 กําลังพัฒนาคือรัฐเขามาบิดเบือนการจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ทําให
การจัดสรรทรัพยากรเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ (Stiglitz, 2002) ฉะนั้น
แลวนโยบายทีเ่ คยถูกผลักดันภายใตวธิ คี ดิ แบบใชรฐั นําการพัฒนา (State-Led
Development) ตองไดรับการปฏิรูป เปนนโยบายแบบเสรีนิยมใหมที่เนน
บทบาทของตลาดและกลไกราคาในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น
ในขณะเดียวกันองคกรการเงินระหวางประเทศ ไดปรับเปลีย่ นทิศทาง
นโยบายเชนกัน จากนโยบายที่วางอยูบนความไมเชื่อในประสิทธิภาพของ
ตลาด (เนนบทบาทของรัฐในการแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ) มาเปนนโยบาย
ที่เชื่อในประสิทธิภาพของตลาด (จํากัดบทบาทของรัฐลง) (Stiglitz, 2002;
Harvey, 2005)
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

การเปลีย่ นแปลงในวิธคี ดิ เชิงนโยบายขององคกรโลกทัง้ สอง เปนหนึง่


ในสวนสําคัญของการแพรกระจายวิธคี ดิ และแนวทางการปฏิบตั ทิ างนโยบาย
แบบเสรี นิ ย มใหม ไ ปยั ง ประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาทั้ ง ในทวี ป ลาติ น อเมริ ก า
แอฟริกา และเอเชีย เพราะองคกรโลกทั้งสองสามารถเกลี้ยกลอมหรือ
บีบบังคับใหรัฐบาลของประเทศกําลังพัฒนาตองดําเนินนโยบายการจัดการ
ทางเศรษฐกิจตามแนวทางของเสรีนยิ มใหมผา นทางการใหความชวยเหลือ
ทางการเงิน (financial assistance) โดยเฉพาะเงินกูอยางมีเงื่อนไข
(conditional loans) ที่มักถูกเรียกในชื่ออยางเปนทางการวาเงินกูเพื่อการ
ปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ (structural adjustment loans) ตัวอยางทีเ่ ห็น
ไดชดั ของกลุม ประเทศทีป่ รับเปลีย่ นนโยบายใหเปนไปตามแนวทางเสรีนยิ ม
ใหม คือประเทศในทวีปลาตินอเมริกาในชวงทศวรรษ 1980 ซึ่งรัฐบาล 27
ประเทศเหลานั้นเผชิญกับปญหาหนี้สาธารณะอยางสาหัส (Stiglitz, 2005;
Harvey, 2005; Chang, 2007) »‚·Õè 19
ยิง่ ไปกวานัน้ วิธคี ดิ และแนวทางการปฏิบตั ทิ างนโยบายแบบเสรีนยิ มใหม ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ยังกระจายไปสูประเทศกําลังพัฒนาผานทางการเสนอเงื่อนไขในการเขาถึง -
ตลาดสินคาของประเทศที่พัฒนาแลว (access to market) โดยองคกรโลก ÁÔ.Â.
ที่มักใชวิธีเครื่องมือขางตน คือองคกรการคาระหวางประเทศ กรณีตัวอยาง 2556
ที่เห็นไดชัดคือ มิติของการคาระหวางประเทศที่เกี่ยวเนื่องกับสิทธิใน
ทรัพยสินทางปญญา (Trade-Related Aspects of Intellectual Property
Rights-TRIPs) ทีร่ ะบุวา ประเทศทีเ่ ขารวมขอตกลงขององคกรการคาระหวาง
ประเทศ ตองเพิ่มระดับความเขมขนของกฎหมายที่เกี่ยวของกับปกปอง
ทรัพยสินทางปญญาประเภทตางๆ เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และเครื่องหมาย
ทางการคา ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล หรือลดระดับของการปกปองและ
อุดหนุนภาคเกษตรกรรมภายในประเทศ (Stiglitz, 2005; Chang, 2007;
Rodrik, 2011)
การสถาปนาความเปนแนวคิดหลักในการจัดระเบียบโลกเศรษฐกิจของ
แนวคิดเสรีนิยมใหม เปนผลมาจากความลมเหลวในการจัดการและพัฒนา
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ระบบเศรษฐกิจตามแนวคิดเคนสเชียน ทั้งในประเทศที่รํ่ารวยและประเทศ
ที่พัฒนาแลว และการที่แนวคิดเสรีนิยมใหมเขาไปมีบทบาทในการกําหนด
นโยบายและแนวทางการปฏิบตั ขิ ององคกรโลก โดยเฉพาะสถาบันเบรตตัน
วูดส ทีก่ ลายเปนผูป า วประกาศแนวคิดเสรีนยิ มใหมในชวงเสีย้ วสุดทายของ
ศตวรรษที่ 20 ทั้งที่สถาบันขางตนเปนผูเผยแพรแนวทางการพัฒนาที่มี
รากฐานบนแนวคิดเคนสเชียนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงทศวรรษ
1980
การผงาดขึ้นมาของแนวคิดเสรีนิยมใหมทําใหเกิดคําถามวา แนวคิด
เสรีนยิ มใหมมจี ดุ รวมกับและจุดตางจากเสรีนยิ มคลาสสิคอยางไรบาง สําหรับ
จุดรวมระหวางแนวคิดเสรีนิยมทั้งสองแบบคือ ดังที่ไดนําเสนอไปแลว
28 แนวคิดทัง้ สองตางเชือ่ ในความศรัทธาในคุณประโยชนของตลาดเสรีทตี่ งั้ อยู
บนพืน้ ฐานของการกระทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยภาคเอกชน และไมเห็น
Vol. 19 ดวยกับการเขามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยรัฐ เพราะเห็นวาการแทรกแซง
No. 2 ของรัฐขัดตอธรรมชาติและสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย ดังนั้นแลว แนวคิด
Apr.
-
เสรีนยิ มทัง้ สองจึงยืนยันวารัฐทีม่ ขี นาดเล็กคือรูปแบบการปกครองทีเ่ หมาะสม
Jun. กับเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
2013 สวนจุดตางระหวางแนวคิดเสรีนิยมทั้งสองคือ แนวคิดเสรีนิยมใหมได
สนับสนุนบางอยางที่แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคไมไดสนับสนุน เชนแนวคิด
เสรีนยิ มใหมสนับสนุนระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย15 อันเปนผลมาจาก
ความเชื่อวาระบบการเมืองแบบขางตนสงเสริมตลาดเสรี16 เพราะในระบบ
15
นักปรัชญาการเมืองอยาง Bobbio (1990) ไดเสนอวาแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยหรือ
เสรีนยิ มทีด่ เู หมือนจะเปนเนือ้ เดียวกันแตโดยเนือ้ แทแลวทัง้ สองแนวคิดกลับใหความสําคัญ
กันในคนละเรื่อง โดยแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยเนนไปที่ประเด็นของการกระจายของ
อํานาจรัฐไปสูกลุมคนตางๆ ในสังคมการเมือง สวนแนวคิดอยางเสรีนิยมมุงเนนไปที่
ประเด็นของการจํากัดอํานาจหรือขอบเขตรัฐ
16
แตในทางหลักการแลว ตรรกะขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาธิปไตยและ
ตลาดเสรีอาจไมไดเดินคูกันก็ได เพราะตรรกะขั้นพื้นฐานของระบบประชาธิปไตยคือ
“หนึง่ คน หนึง่ เสียง (One Man, One Vote)” คือปจเจกทุกคนมีสทิ ธิเทาเทียมกัน ในขณะที่
ตรรกะของตลาดเสรีคือ “หนึ่งบาท หนึ่งเสียง (One Dollar, One Vote) คือยิ่งครอบครอง
ทรัพยากรเยอะเทาไหร ยิ่งมีสิทธิเยอะเทานั้น (Chang, 2007)
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

การเมืองแบบประชาธิปไตยซึง่ อํานาจของรัฐบาลมาจากการยินยอมพรอมใจ
ของประชาชนที่แสดงออกผานทางการเลือกตั้ง รัฐบาลจึงถูกบีบใหตองไม
ละเมิดสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของประชาชน เชนตองไมเก็บภาษีจากภาคเอกชนใน
ระดับทีเ่ ขมขนหรือปกปองกรรมสิทธิข์ นั้ พืน้ ฐานของเอกชน ในทายทีส่ ดุ แลว
การปกปองสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของประชาชนจะทําใหระบบตลาดทํางานไดดขี นึ้
(Chang, 2007)
สวนความตางที่เห็นไดชัดอีกประการคือแนวคิดเสรีนิยมใหมยอมรับ
การดํารงอยูข องการผูกขาด (monopoly) บางรูปแบบได โดยเฉพาะการผูกขาด
ทีเ่ กิดจากทรัพยสนิ ทางปญญา (intellectual property rights) ทัง้ ทีโ่ ดยทัว่ ไป
แลว ทฤษฎีเศรษฐศาสตรขั้นพื้นฐานมักยืนยันเสมอวาการดํารงอยูของการ
ผูกขาดไมวา ในรูปแบบใด ทําใหกลไกราคาไมสามารถบรรลุซงึ่ ประสิทธิภาพ 29
ขัน้ สูงสุดในการจัดสรรทรัพยากรได17 แตแนวคิดเสรีนยิ มใหมกลับเห็นวาการ
ปกปองกรรมสิทธิ์ในทางปญญาเปนการปกปองสิทธิขั้นพื้นฐานของปจเจก »‚·Õè 19
ชนและเปนการสงเสริมการทํางานของกลไกตลาด ซึ่งเมื่อทรัพยสินทาง ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ปญญาของปจเจกชนไดรบั การปกปอง ปจเจกชนเกิดแรงจูงใจในการคิดคน -
นวัตกรรมตางๆ ทําใหสังคมไดรับอานิสงสจากการแพรกระจาย (spillover ÁÔ.Â.
effects) ของระดับเทคโนโลยีที่สูงขึ้น (Chang, 2007) 2556
นอกเหนือไปจากความแตกตางทางรายละเอียดเชิงนโยบายระหวาง
แนวคิดเสรีนยิ มใหมและเสรีนยิ มคลาสสิค แนวคิดทัง้ สองยังมีความแตกตาง
ในสวนของการรับรูสาธารณะ ดังเห็นไดจากการที่แนวคิดเสรีนิยมคลาสสิค
มักถูกรับรูในฐานะปรัชญาทางสังคมชุดหนึ่ง ในขณะที่แนวคิดเสรีนิยมใหม
มั ก ถูก รั บรู ใ นฐานะของชุดของข อเสนอทางนโยบายในการจั ด การทาง
17
ในทางหนึ่งแลว ประสิทธิภาพที่ลดลงของการจัดสรรทรัพยากรของกลไกราคาเมื่อมีการ
ดํารงอยูข องการผูกขาดสามารถรับรูไ ดจากการทีร่ ะบบเศรษฐกิจตองใชจา ยมากขึน้ ในการ
เขาถึงสินคาอยางใดอยางหนึง่ และในขณะเดียวกัน ระบบเศรษฐกิจก็เขาถึงสินคาดังกลาว
ไดในปริมาณที่นอยลง ความรูขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับผลกระทบของการผูกขาดที่มีตอการ
จัดสรรทรัพยากรของกลไกราคาสามารถอานไดจากหนังสือเรียนวิชาเศรษฐศาสตรจลุ ภาค
เชน Microeconomic ของ Pindyck และ Rubinfield (2005)
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

เศรษฐกิจและสังคม (Pollin, 2005) จากเนื้อหาขางตน บทความดําเนิน


เนื้อหาในสวนถัดไปโดยการกลาวถึงชุดของขอเสนอทางนโยบายของ
แนวคิดเสรีนิยมใหมเพื่อเขาใจถึงภาคปฏิบัติการของแนวคิดเสรีนิยมใหม

ข้อเสนอทางนโยบายของแนวคิ ดเสรีนิยมใหม่
ดังที่ไดกลาวไปแลว หลักการขั้นพื้นฐานทางนโยบายของแนวคิด
เสรีนิยมใหม คือการจํากัดบทบาทของรัฐไปพรอมกับการสงเสริมบทบาท
ของตลาดและภาคเอกชนในการจัดสรรและควบคุมทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
เพือ่ ใหระบบเศรษฐกิจสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เสถียรภาพ
และสามารถคาดการณความเปลี่ยนแปลงลวงหนานี้ ฉะนั้นเนื้อหาในสวนนี้
30 ทําการกลาวถึงขอเสนอทางนโยบายของแนวคิดเสรีนิยมใหมซึ่งมีลักษณะ
เปนสูตรสําเร็จ (policy menus) ทัง้ ในสวนของแนวทางการปฏิบตั แิ ละเหตุผล
Vol. 19 เบื้องหลังทางทฤษฎี โดยเนื้อหาในสวนนี้ไดทําการสรุปจากงานหลายชิ้น
No. 2 อันไดแก Friedman (2002), Stiglitz (2002 และ 2005), Pollin (2005),
Apr.
-
Harvey (2005), Chang (2007) และ Steger and Roy (2010)
Jun. สํ า หรั บ นโยบายประการแรก คื อ การส ง เสริ ม การเคลื่ อ นย า ยของ
2013 ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ เชนสินคา เงินทุน และแรงงาน ขามพรมแดน
รัฐชาติอยางเสรี (liberalization) เพื่อสงเสริมการแขงขันใหผูประกอบการ
ในประเทศตางๆ ตองพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันเพื่อบรรลุถึง
ความมีประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ และเปนการเปดโอกาสใหปจเจก
ชนสามารถเขาถึงทางเลือกในการบริโภคหรือลงทุนที่เปนอิสระและมีความ
หลากหลายมากขึ้น ตัวอยางของนโยบายประการนี้ ไดแกการตกลงสัญญา
การคาเสรีทงั้ แบบทวิภาคี (เชนขอตกลงการคาเสรี (Free Trade Agreement
-FTA) ระหวางไทยและออสเตรเลีย) หรือพหุภาคี (เชนเขตการคาเสรี
อาเซียน) และการสงเสริมใหเงินทุนสามารถเคลื่อนยายขามพรมแดนได
อยางเสรี
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

นโยบายประการทีส่ อง คือการลดกฎเกณฑทเี่ กีย่ วของกับกิจกรรมทาง


เศรษฐกิจ (deregulation) ที่มีเปาประสงคในการลดอํานาจของรัฐและเพิ่ม
เสรีภาพและความสะดวกของปจเจกชนในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
รวมไปถึงเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของตลาดในการจัดสรรทรัพยากร
เชนการยกเวนภาษีธรุ กิจซึง่ เปนการลดทรัพยากรทีด่ ดู จากภาคเอกชน เพือ่
ใหคนมีแรงจูงใจในการทํางานมากขึ้น หรือการทําใหสหภาพแรงงานหรือ
สหภาพการคาออนแอลง เพื่อใหคาจางแรงงานและราคาสินคาตางๆ
สามารถปรับตัวไดตามภาวะเศรษฐกิจที่แทจริง แทนที่จะถูกทําใหคงที่จาก
ขอเรียกรองของสหภาพแรงงาน หรือการยกเลิกกฎเกณฑในการเคลือ่ นยาย
เงินทุนเคลือ่ นยายระหวางประเทศ18 เพือ่ นักลงทุนมีทางเลือกในการจัดสรร
เงินลงทุนมากขึ้น อาจกลาวไดวานโยบายการสงเสริมการเคลื่อนยายของ 31
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจและการลดกฎเกณฑเปนหนึง่ ในปจจัยสําคัญทีท่ าํ ให
เกิดโลกาภิวัตนของสินคาและเงินทุนในชวงปลายศตวรรษที่ 2019 »‚·Õè 19
นโยบายประการทีส่ าม คือการใชนโยบายการจัดการเศรษฐกิจมหภาค ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ทีเ่ นนไปในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (stabilization) โดยนโยบาย -
เศรษฐกิจประเภทนี้คอนขางจํากัดบทบาทของรัฐในการใชจายงบประมาณ ÁÔ.Â.
เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ เปาหมายทางที่รัฐบาลพึงกระทําคือการรักษาระดับ 2556
เงินเฟอหรือระดับการเพิม่ ขึน้ ของราคาใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม อันเปนผล
จากความเชือ่ ของแนวคิดเสรีนยิ มใหมทมี่ ใี จความวาระดับเงินเฟอทีเ่ หมาะสม
มี ผ ลต อ การเสริ ม สร า งสถานะของบรรยากาศทางธุ ร กิ จ (business
18
ในทางวิชาเศรษฐศาสตร เงินทุนระหวางประเทศมักแบงสองประเภทไดแก เงินทุนระยะ
สัน้ (short-term capital) ทีม่ กั ปรากฏในรูปของเงินทุนทีเ่ ขามาลงทุนในตลาดการเงิน และ
เงินทุนระยะยาว (long-term capital) อันเปนเงินลงทุนทีม่ กั ปรากฏในรูปของการยายฐาน
การผลิต เชนการตั้งโรงงาน ซึ่งเงินทุนระยะยาวมักถูกเรียกในอีกชื่อหนึ่งวา “เงินลงทุน
โดยตรงระหวางประเทศ (Foreign Direct Investment – FDI) (รายละเอียดอานเพิ่มเติม
ไดจาก Stiglitz (2005) และ Rodrik (2007))
19
ในปจจุบนั มูลคาของการเคลือ่ นยายเงินทุนระหวางประเทศสูงกวามูลคาของการคาระหวาง
ประเทศ (Rodrik, 2011) ขอมูลตรงนี้อาจชี้ใหเห็นวา ในปจจุบัน ระบบเศรษฐกิจถูกขับ
เคลื่อนดวยภาคธุรกิจการเงิน
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

atmosphere) ถาบรรยากาศทางธุรกิจอยูในสถานะที่ดี มีผลใหเอกชนมี


ความเชื่อมั่นในการลงทุนและบริโภคมากขึ้น ทําใหการเติบโตเศรษฐกิจมี
ความมั่นคง
ยิ่งไปกวานั้น แนวคิดเสรีนิยมใหมยังเชื่อวาการจํากัดการใชจายของ
ภาครัฐใหอยูใ นระดับทีค่ งที่ ทําใหระบบตลาดทําใหไดอยางมีเสถียรภาพมาก
ขึ้น เนื่องจากปจเจกชนสามารถคาดการณการเปลี่ยนแปลงของภาวะ
เศรษฐกิจไดดีขึ้น อันเปนผลจากความแนนอนในขนาดการใชจายภาครัฐ
ถาภาครัฐใชจายเพื่อการกระตุนเศรษฐกิจตามอําเภอใจ ความสามารถใน
การคาดการณของภาคเอกชนลดลง มีผลทําใหระบบตลาดไมสามารถทํางาน
ไดมเี สถียรภาพเทาทีค่ วร โดยนโยบายรักษาเสถียรภาพมักออกมาในรูปของ
32 การทีภ่ าครัฐถูกจํากัดการใชจา ย และการกําหนดใหธนาคารกลางซึง่ มีความ
เปนอิสระจากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง20เปนผูรับบทบาทหลักในการ
Vol. 19 รักษาระดับเงินเฟอ
No. 2 นโยบายประการที่สี่ คือการแปรรูปกิจการของรัฐใหเปนของเอกชน
Apr.
-
(privatization) ซึง่ นโยบายดังกลาววางอยูบ นความคิดทีว่ า หนวยงานภาครัฐ
Jun. ทีค่ อ นขางชาในการปรับตัวกับสภาวการณแวดลอมทีเ่ ปลีย่ นไป และขาดแรง
2013 จูงใจในการบริหารงานใหตรงตามความตองการของประชาชน ฉะนั้นแลว
หนาทีใ่ นการจัดสรรทรัพยากรบางประการควรมอบใหภาคเอกชนจึงสามารถ
ตัดสินใจทางเศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพกวาอันเนื่องมาจาก หนวยงานของ
20
แนวคิดทางเศรษฐศาสตรเชื่อวา รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งมักมีแรงจูงใจที่จะผลักดัน
นโยบายที่เนนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและลดการวางงาน (ผานทางการเพิ่มขนาด
การใชจายภาครัฐ) มากกวานโยบายที่เนนไปทางรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เพราะ
ประชาชนสามารถรับรูผลกระทบที่เกิดจากความเติบโตทางเศรษฐกิจมากกวาความมี
เสถียรภาพของระดับราคา ถารัฐบาลตองการชนะการเลือกตัง้ ในครัง้ ตอไป รัฐบาลจึงจําเปน
ทีต่ อ งใชนโยบายทีเ่ นนการเติบโต จากเหตุผลทีก่ ลาวมาขางตน นักเศรษฐศาสตรจงึ เสนอ
ใหธนาคารกลางเปนอิสระทางการเมืองจากรัฐบาล เพราะนักเศรษฐศาสตรตองการให
ธนาคารกลางเปนผูด แู ลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Harvey, 2005) ดวยเหตุนี้ นักวิชาการ
หลายทานจึงวิจารณแนวคิดเสรีนิยมวาทําใหการเมืองของการกําหนดนโยบายหายไป
(Depoliticalizing of policy decision) ทําใหระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยไมตอบโจทย
พลเมือง (Chang, 2007)
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

เอกชนมีความสามารถในการปรับตัวและรับรูตอความเปลี่ยนแปลงของ
เงื่อนไขทางเศรษฐกิจรวดเร็วกวา ดังนั้นแลว การแปรรูปกิจการของรัฐมา
เป น ของเอกชนจะทํ า ให ก ารจั ด สรรทรั พ ยากรในระบบเศรษฐกิ จ มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องดวยหนวยงานที่ถูกแปรรูปมีแนวโนมที่จะผลิต
สินคาและบริการทีต่ อบสนองตอความตองการของประชาชน โดยการแปรรูป
มักจะเกิดในกรณีทรี่ ฐั ทําการขายรัฐวิสาหกิจใหแกเอกชน วิสาหกิจทีถ่ กู ขาย
มักจะเปนวิสาหกิจทีเ่ กีย่ วของกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เชนบริษทั
นํ้ามัน บริษัทผลิตไฟฟา หรือเหมืองแรของรัฐ ดังที่เคยเกิดขึ้นในประเทศ
โบลิเวีย ที่รัฐไดทําการขายวิสาหกิจนํ้าประปาและกาซธรรมชาติใหกับนัก
ลงทุนจากตางประเทศ
นโยบายประการทีห่ า คือการปกปองกรรมสิทธิเ์ อกชน (private property 33
right protection) เพื่อเปนการปกปองแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจของภาคเอกชน และปกปองสิทธิขั้นพื้นฐานของเอกชน ซึ่ง »‚·Õè 19
กรรมสิทธิ์เอกชนมีความหมายตั้งแตกรรมสิทธิ์ในที่ดิน สินทรัพยที่จับตอง ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ไดเชนที่ดิน สินทรัพยทางการเงิน รวมไปถึงทรัพยสินทางปญญา เชน -
สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ โดยหลักการทางทฤษฎีของนโยบายประการนี้คือ ÁÔ.Â.
การปกปองกรรมสิทธิเ์ อกชนจะมีผลทําใหปจ เจกชนมีแรงจูงใจในสรางสรรค 2556
นวัตกรรม (innovation) หรือเทคโนโลยี (technology) ใหม หรือมีแรงจูงใจ
ในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางขยันขันแข็ง เพราะปจเจกชน
สามารถมัน่ ใจไดวา จะไดรบั ผลตอบแทนจากนํา้ พักนํา้ แรงในการลงมือกระทํางาน
ตางๆ อยางแนนอน อันเปนผลจากทีก่ รรมสิทธิข์ องพวกเขาไดรบั การปกปอง
ในความเห็นของผูเ ขียน ถามองเขาไปในรายละเอียดของขอเสนอทาง
นโยบายทั้งหาประการของแนวคิดเสรีนิยมใหม สามารถเห็นไดวานโยบาย
ขางตนลวนมีแนวทางในการจํากัดอํานาจรัฐหรือลดขนาดของรัฐ เพราะ
อํานาจของรัฐมักเผยตัวผานการควบคุมพืน้ ทีใ่ นเขตแดนทีช่ ดั เจน การบังคับ
กฎเกณฑและระเบียบตางๆ การจัดการทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจผาน
ทางการใชจา ยภาครัฐและการเก็บภาษี การจัดสรรบริการสาธารณะ รวมไปถึง
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

การแยงชิงทรัพยากรจากภาคเอกชน ฉะนัน้ แลว เพือ่ การบรรลุวตั ถุประสงค


ในการสงเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
ขอเสนอทางนโยบายทั้งหมดจึงมุงเนนไปที่การลดทอนอํานาจของรัฐใน
ปริมณฑลตางๆ เพื่อใหภาครัฐมีความสามารถในการเขาไปยุงเกี่ยวกับ
กิจกรรมของภาคเอกชนลดลง
แนวคิ ดเสรีนิยมใหม่และโลกาภิ วตั น์ ในปลายศตวรรษที่ 20
หลั ง จากที่ ไ ด ใ ห ร ายละเอี ย ดถึ ง ข อ เสนอทางนโยบายของแนวคิ ด
เสรีนยิ มใหม จากเนือ้ หาในสวนนําของบทความนีท้ ผี่ เู ขียนไดตงั้ ขอเสนอวา
แนวคิดเสรีนยิ มใหมเปนแนวคิดทีก่ าํ กับดูแลระเบียบทางเศรษฐกิจโลก หรือ
อาจพูดในอีกแงหนึง่ ไดวา แนวคิดเสรีนยิ มใหมเปนแนวคิดพืน้ ฐานทีก่ าํ หนด
34 ทิศทางความเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณที่เรียกวาโลกาภิวัตน ขอเสนอ
Vol. 19 ดังกลาวอาจถูกยืนยันไดจากขอมูลที่ไดนําเสนอไปในเนื้อหาชวงตนวา
No. 2 ในชวงปลายศตวรรษที่ 20 โลกไดรบั รูถ งึ การขยายตัวของโลกาภิวตั น โดยเฉพาะ
Apr. โลกาภิวตั นทางเศรษฐกิจ21 ไปพรอมกับการแพรกระจายและสถาปนาอํานาจ
- นําของแนวคิดเสรีนยิ มใหม จากขอมูลดังกลาว อาจสรุปไดวา แนวคิดเสรีนยิ ม
Jun. ใหมมีความเกี่ยวของกับการขยายของโลกาภิวัตน
2013
อยางไรก็ตาม ขอสรุปขางตนคงหลีกเลีย่ งไมไดทจี่ ะนําไปสูค วามจําเปน
ในการตอบคําถามวา “ทําไมการสถาปนาความเปนอํานาจขึน้ เปนอุดมการณ
หลักในการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลกของแนวคิดเสรีนิยมใหมจึงทําใหโลกา
ภิวตั นทางเศรษฐกิจขยายตัวขึน้ ” แตกอ นทีค่ าํ ถามขางตนจะไดรบั การเฉลย
บทความจะขอทําการพูดถึงเงือ่ นไขอืน่ ๆ ทีเ่ อือ้ ตอการขยายตัวของโลกาภิวตั น
นอกเหนือไปจากการผงาดขึ้นของแนวคิดเสรีนิยมใหม
21
อยางไรก็ตาม Rodrik (2007) แยงวาถึงแมในปจจุบนั การเคลือ่ นยายสินคาและเงินทุนขาม
พรมแดนรัฐชาติเปนไปอยางคอนขางลื่นไหล แตความลื่นไหลเชนนั้นกลับไมปรากฏใน
การเคลื่อนยายแรงงานขามรัฐชาติ ซึ่งความไมลื่นไหลในการเคลื่อนยายแรงงานทําให
ประชาชนในประเทศทีย่ ากจนไมสามารถไดรบั ประโยชนจากโลกาภิวฒ ั นทางเศรษฐกิจได
อยางเต็มที่ เนื่องจากพวกเขาไมสามารถไปเสนอขายแรงงานที่มีคาจางที่ถูกในประเทศที่
คาจางแรงงานภายในประเทศมีราคาสูงได
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

การขยายตัวของโลกาภิวัตนในชวงปลายศตวรรษที่ 20 ไมใชเปนผล
จากระเบียบเศรษฐกิจโลกที่ถูกกํากับภายใตแนวคิดเสรีนิยมใหมแตเพียง
ประการเดียว แตยังเปนผลจากความเปลี่ยนแปลงในทางเทคโนโลยีในดาน
การขนสงและการสือ่ สาร เฉกเชนเดียวกับกรณีของการขยายตัว ถาโลกาภิวตั น
ภายใตการนําของจักรวรรดิองั กฤษในศตวรรษที่ 19 ถูกเรงเราจากการขยายตัว
ของทางรถไฟ เรือเดินสมุทร และระบบสายสงโทรเลข และโลกาภิวตั นภายใต
การนําของสหรัฐอเมริกาและสถาบันเบรตตันวูดสในชวงปลายศตวรรษที่ 20
ก็ถูกทําใหขยายตัวโดยเทคโนโลยีขนสงซึ่งทําใหการเคลื่อนยายสินคาและ
แรงงานสะดวกและรวดเร็วรวดเร็วยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนเครือขายรางรถไฟ
ความเร็วสูง การแพรกระจายของเรือเดินสมุทรขนาดใหญ รวมไปถึงการ
ขนสงทางเครื่องบินไอพน 35
ตัวอยางของการเคลือ่ นยายสินคาและแรงงานระหวางประเทศทีเ่ ปนผล
จากการพัฒนาเทคโนโลยีไดแก กรณีศึกษาของธุรกิจการซื้อขายและแปร »‚·Õè 19
สภาพปลาทูนาครีบนํ้าเงิน (bluefin tuna) ในระดับโลกที่ปรากฏในงานของ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
Issenberg (2007) เนือ่ งดวยธุรกิจขางตนไดรบั ผลประโยชนจากการพัฒนา -
เทคโนโลยีเครื่องบินไอพน (รวมไปถึงเทคโนโลยีการแชแข็งอาหารที่ดีขึ้น) ÁÔ.Â.
โดยเทคโนโลยีดังกลาวอนุญาตใหผูประกอบธุรกิจอาหารทะเลสามารถ 2556
เคลือ่ นยายปลาทูนา จากฝง ทะเลแอนแลนติค (Atlantic) ของประเทศแคนาดา
และสหรัฐอเมริกา ไปยังตลาดปลาซึคิจิ (Tsukiji) อันเปนตลาดกลางสําหรับ
ซื้อขายอาหารทะเล ในกรุงโตเกียว (Tokyo) ประเทศญี่ปุน ไดในชวงเวลาที่
สามารถรักษาคุณภาพของเนื้อปลาใหมีความสดเพียงพอตอการนําไปปรุง
เปนปลาดิบ (sashimi) หรือขาวปน (sushi) เครือ่ งบินไอพนไมไดเปนเพียง
แคพาหนะในการขนยายปลาทูนา ทีม่ คี วามรวดเร็วเทานัน้ เครือ่ งบินเหลานัน้
ยังเปนพาหนะในการเดินทางของผูเ ชีย่ วชาญการซือ้ ปลาทูนา หรือผูบ ริหาร
ระดับสูงของธุรกิจอาหารทะเลในญี่ปุน
ยิ่งไปกวานั้น โลกาภิวัตนในชวงปลายศตวรรษที่ 20 ไมไดจํากัดเพียง
แค ก ารเคลื่ อ นย า ยสิ น ค า และแรงงานข า มพรมแดน แต โ ลกาภิ วั ต น ยั ง
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ครอบคลุมไปถึงการเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศซึ่งอาจเปนดานที่
ชัดเจนทีส่ ดุ ของโลกาภิวตั นในชวงเวลานี้ โดยโลกาภิวตั นทางการเงินถูกหนุน
เสริมดวยระบบอัตราแลกเปลีย่ นทีเ่ ปลีย่ นไปจากระบบอัตราแลกเปลีย่ นแบบ
คงที่ไปเปนระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุน (flexible exchange rate)
อันมีสวนในการกอรูประบบการเงินโลกและสงเสริมการขยายตัวของการ
ลงทุนระหวางประเทศ (Agnew, 2001)
นอกเหนือไปจากการเกิดขึ้นของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบยืดหยุน
โลกาภิวัตนทางการเงินในปลายศตวรรษที่ 20 ยังถูกกระตุนจากการปฏิวัติ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology revolution) เชนเดียวกับการ
ขยายตั ว ของเครื อ ข า ยโทรเลขที่ มี ผ ลต อ การเติ บ โตของโลกาภิ วั ต น ใ น
36 ศตวรรษที่ 19 เชนการเกิดขึน้ ของระบบอินเทอรเนต (internet) หรือเครือขาย
การแลกเปลีย่ นขาวสารแบบอืน่ ๆ ทีท่ าํ ใหการเคลือ่ นยายขอมูลระหวางพืน้ ที่
Vol. 19 ตางๆ เปนไปอยางรวดเร็ว การเคลือ่ นยายขอมูลทีร่ วดเร็วกลายเปนเงือ่ นไข
No. 2 สําคัญของการเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศ ดังเห็นไดจากเครือขาย
Apr.
-
ของตูก ดเงินสด (ATM) และบัตรเครดิต และธุรกรรมการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส
Jun. ในระดับโลก การลงทุนในตลาดหลักทรัพยทวั่ โลก รวมไปถึงการโอนยายขอมูล
2013 ทางการเงิน เพราะการปฏิวัติเทคโนโลยีสารสนเทศไดทําใหเงิน (money)
แปลงสภาพมีคณ ุ ลักษณะของความเปนขอมูลขาวสาร (information) ดวย เงิน
จึงไมไดมีแคคุณลักษณะของการเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแตเพียง
อยางเดียว แตยังคุณสมบัติของการเปนขอมูล จึงทําใหสามารถเคลื่อนยาย
ไปในทุกพื้นที่ของโลกในทันทีทันใด (Graham, 1998; Monge, 1998)
โลกาภิวตั นทางการเงินทีเ่ ห็นไดชดั คือการเคลือ่ นยายเงินทุนของภาค
เอกชนในประเทศที่รํ่ารวยไปแสวงหาผลประโยชนในประเทศที่มีศักยภาพ
เปนตลาดแหงใหม (emerging markets) ที่การลงทุนมีโอกาสที่ไดรับ
ผลตอบแทนที่สูงกวาภายในประเทศที่รํ่ารวย ดังเห็นไดจากกรณีของการ
ไหลเขาของเงินลงทุนทัง้ เงินลงทุนระหวางประเทศทัง้ ระยะสัน้ และเงินลงทุน
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ระยะยาว22 โดยเฉพาะเงินลงทุนของภาคอุตสาหกรรมสงออกของญี่ปุนสู
ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต หลังจากขอตกลงพลาซา (Plaza
Accord) ใน ค.ศ. 1985 ซึง่ มีผลทําใหคา เงินของญีป่ นุ ปรับตัวแข็งขึน้ เมือ่ เทียบ
กับคาเงินสกุลตางๆ มีผลทําใหความสามารถในการแขงขันของภาคธุรกิจ
สงออกของญีป่ นุ ลดลง และผนวกกับการทีร่ ฐั บาลญีป่ นุ สงเสริมการยายฐาน
การผลิต จึงทําใหภาคธุรกิจสงออกของญีป่ นุ มาทําการลงทุนโดยตรง (foreign
direct investment)ในประเทศแถบนี้ ยิง่ ไปกวานัน้ ภาคธุรกิจการเงินในระดับ
โลกยังปลอยเงินกูใหแกภาคเอกชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเงินกู
เหลานั้นมีระดับอัตราดอกเบี้ยที่เปนตัวเงิน (nominal exchange rates) ใน
ระดับทีต่ าํ่ กวาอัตราดอกเบีย้ ของเงินกูท ปี่ ลอยโดยภาคเอกชนในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต จึงยังผลใหเกิดการไหลเขาของเงินกูจ ากตางประเทศ อันเปนผล 37
จากการขยายตัวของการกูของภาคเอกชนในประเทศแถบนี้ ทั้งนี้กระแส
การไหลเขาของเงินทุนสูประเทศในแถวเอเชียตะวันออกเฉียงใตยังไดรับ »‚·Õè 19
การหนุนเสริมจากลดระดับความเขมงวดของกฎเกณฑทางการเคลื่อนยาย ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
เงินทุนขามพรมแดนของประเทศในแถบนี้ดวย (Wade, 1998) -
นอกเหนือไปจากการอํานวยความสะดวกในการเคลือ่ นยายเงินระหวาง ÁÔ.Â.
พืน้ ที่ เทคโนโลยีขา วสารทีถ่ กู ปฏิวตั ยิ งั ทําใหเกิดภาคบริการอืน่ ๆ เชน การวิจยั 2556
และพัฒนา (research and development) การโฆษณา (advertising) การตลาด
(marketing) การออกแบบ (design) รวมไปถึงการบรรจุหบี หอ (packaging)
แพรกระจายไปยังพื้นที่ตางๆ ของโลกไดงายขึ้น (Agnew, 2001) ดังเห็นได
จากการยายฐานการบริการไปสูป ระเทศกําลังพัฒนา (offshoring of services)
ไมวา จะเปนงานบริการดานการสนับสนุน (back-offices services) เชนการ
ทําบัญชี การประมวลผลขอมูล หรือการจัดการใบเสร็จคาใชจาย หรืองาน
22
เงินลงทุนระหวางประเทศระยะสั้น คือประเภทเงินลงทุนที่เขามาพักในประเทศที่รับการ
ลงทุนในระยะเวลาไมถึงหนึ่งป โดยทั่วไปแลวเงินลงทุนประเภทนี้เขามาของเกี่ยวกับ
การลงทุนเก็งกําไรในตลาดการเงิน สวนเงินลงทุนระยะยาว คือประเภทของเงินลงทุนที่
เขามาพักในประเทศที่รับการลงทุนมากกวาหนึ่งป สวนใหญแลว เงินลงทุนประเภท
ดังกลาวมักมาลงทุนในการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหรือยายฐานการผลิต
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

บริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology services) โดย


หนึง่ ในตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั เจนทีส่ ดุ คือการเคลือ่ นยายของศูนยการใหบริการ
ทางโทรศัพท (call centres) มายังประเทศกําลังพัฒนาทีม่ แี รงงานซึง่ มีทกั ษะ
ภาษาอังกฤษในระดับทีด่ แี ตมคี า จางทีถ่ กู โดยเปรียบเทียบ (Coe, Kelly and
Yeung, 2007)
การพัฒนาเทคโนโลยีการชนสงและการปฏิวัติเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไดทําใหการเกิดการเชื่อมโยงของภาคสวนเศรษฐกิจทั่วโลกในชวงปลาย
ศตวรรษที่ 20 ไมวา จะเปนในภาคการผลิตหรือภาคบริการ ดังเห็นไดจากการ
ขยายตัวของเครือขายการผลิตหรือการใหบริการแบบหวงโซสนิ คาในระดับโลก
(global commodity chains) ดังเชนในกรณีของบริษทั Dell ซึง่ เปนผูป ระกอบ
38 การผลิตและจําหนายคอมพิวเตอรสว นตัว (personal pomputer-PC) ทีป่ รากฏ
ในหนังสือของ Coe, Kelly และ Yeung (2007) โดยบริษัท Dell ไดใช
Vol. 19 ประโยชนจากระบบอินเทอรเนตในการออกแบบคอมพิวเตอรใหตรงตาม
No. 2 ความตองการของลูกคาแตละรายไป รวมทัง้ การใชระบบอินเทอรเน็ตในการ
Apr.
-
จําหนายคอมพิวเตอรใหแกลูกคาโดยตรง ยิ่งไปกวานั้น บริษัท Dell ยังใช
Jun. ประโยชนจากเทคโนโลยีดา นการขนสงและติดตอสือ่ สารผานทางการตัง้ ศูนย
2013 รวมการประกอบและการขนสง (assembly operations and logistics clusters)
ถึงหกจุดทัว่ โลก หนาทีข่ องศูนยรวมเหลานีค้ อื การรวบรวมวัสดุการผลิตจาก
ผูผ ลิตชิน้ สวน (suppliers) เพือ่ นํามาประกอบกอนทีจ่ ะจัดจําหนายไปยังกลุม
ผูบ ริโภค และ Dell ยังใชอนิ เทอรเน็ตในการถายทอดขาวสารเกีย่ วกับความ
ตองการของผูบริโภคสูศูนยกลางการผลิตแตละแหง และยังใชอินเทอรเน็ต
ในการเชื่อมตอกับผูผลิตชิ้นสวนรายยอยทั้งในระดับทองถิ่นและระดับโลก
รวมไปถึงแหลงการผลิต (clusters) ที่กระจัดกระจายอยูทั่วโลก
จากกรณีของการขยายตัวของโลกาภิวตั นทงั้ ในชวงศตวรรษที่ 19 และ
ปลายศตวรรษที่ 20 สรุปไดวาการพัฒนาของเทคโนโลยีในดานการขนสง
และดานสารสนเทศ มีอิทธิพลตอการขยายตัวของโลกาภิวัตน เพราะ
เทคโนโลยีดงั กลาวทําใหเกิดปรากฏการณ “ความกระชับแนนของเวลาและ
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

สถานที่ (time-space compression)” อันเปนปรากฏการณที่การขยายตัว


ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขยายตัวไปยังพื้นที่ตางๆ หรือการประกอบ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจตางพื้นที่เกิดขึ้นไดในเวลาที่นอยลง (Monge, 1998;
Harvey, 2005) หรืออีกนัยหนึ่ง เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติขางตนทําใหเกิด
การกําจัดขอจํากัดดานพื้นที่ (space constraints) ผานทางการลดขอจํากัด
ดานเวลา (time constraints) (Marvin, 1988)
ดังนัน้ แลวการพัฒนาของเทคโนโลยีดา นการขนสง และดานสารสนเทศ
ทําใหเกิดการเพิม่ ขึน้ ของความหนาแนนของปรากฏการณความกระชับแนน
ของเวลาและสถานที่ (Monge, 1998) การขยายตัวของโลกาภิวตั นสว นหนึง่
เปนผลมาจากการปฏิวัติของเทคโนโลยีในดานการขนสงและแลกเปลี่ยน
ขอมูลขาวสาร อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีไมไดเปนแคปจจัยเพียงหนึ่งเดียว 39
ในการกําหนดทิศทางการขยายตัวของโลกาภิวัตน เนื่องจากทิศทางของ
โลกาภิวตั นยงั ขึน้ อยูก บั แนวคิดของการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจโลกอีกดวย »‚·Õè 19
ดั ง ที่ ไ ด ก ล า วไปแล ว แนวคิ ด เสรี นิ ย มใหม อั น เป น แนวคิ ด หลั ก ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
(hegemonic discourse) ในการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจโลกในชวงปลาย -
ศตวรรษที่ 20 มีสว นอยางมากในการทําใหปรากฏการณโลกาภิวตั น ขยายตัว ÁÔ.Â.
ไปพรอมกัน อันเนือ่ งมาจากแนวคิดเสรีนยิ มใหมใหสทิ ธิอาํ นาจในการจัดสรร 2556
และควบคุมทรัพยากรทางเศรษฐกิจใหกับภาคเอกชน (private) หรือทุน
(capital) อยางคอนขางเต็มตัว กลาวคือแนวคิดเสรีนยิ มใหมกาํ หนดใหตลาด
(market) หรือกลไกราคา (price mechanism) เปนกลไกหลักในการจัดสรร
ทรัพยากร และในขณะเดียวกัน แนวคิดเสรีนยิ มใหมกล็ ดบทบาทหรือกระทัง่
ความชอบธรรมของรัฐในการเขาไปจัดสรรและควบคุมทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
หรือกลาวอีกแบบไดวา นโยบายทีว่ างรากฐานอยูบ นแนวคิดเสรีนยิ มใหมได
มีสวนในการชวยขยายและหนุนเสริมตรรกะของตลาด (Peck and Tickell,
2002)
ถาการขยายตัวโลกาภิวัตนในทั้งในชวงศตวรรษที่ 19 และชวงปลาย
ศตวรรษที่ 20 ไดรับการสงเสริมจากการผงาดขึ้นเปนชุดความคิดหลักใน
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

การจัดการดานเศรษฐกิจของแนวคิดเสรีนิยมคลาสสิคและเสรีนิยมใหม
ตามลําดับ เพราะแนวคิดทั้งสองตางมีจุดรวมของการเปดโอกาสใหตลาด
ทํางานตามตรรกะของตัวเองผานทางการสงเสริมใหภาคเอกชนในการเปน
ผูจัดสรรและควบคุมทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
เนือ่ งจากตรรกะขัน้ พืน้ ฐานของภาคเอกชนหรือทุนคือความตองการสราง
เครือขายของการคาและการผลิตอันซับซอนผานทางการเชื่อมโยงสถานที่
ทางเศรษฐกิจแตละแหงเขาไวดว ยกัน เพือ่ อํานวยความสะดวกทางกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนการแลกเปลี่ยนสินคาหรือการสื่อสารทางธุรกิจ
ในขณะทีต่ รรกะขัน้ พืน้ ฐานของรัฐ คือการพยายามควบคุมดูแลอาณาบริเวณ
ที่มีขอบเขตอันชัดเจนผานทางการใชกําลังและอํานาจในรูปแบบตางๆ23
40 (Cameron, Nesvetaliova and Palan, 2008) ดังนั้นแลวการที่แนวคิด
เสรีนิยมใหมเพิ่มความสามารถใหตลาดสามารถทํางานตามตรรกะตาม
Vol. 19 “ธรรมชาติ” ทีม่ ลี กั ษณะขามพรมแดนรัฐชาติของตนเอง ผานทางการถายโอน
No. 2 บทบาทของรัฐในการจัดสรรและควบคุมทรัพยากร ใหแกภาคเอกชน มากขึน้
Apr.
-
ทําใหการเคลือ่ นยายทรัพยากรทางเศรษฐกิจเปนไปอยางรวดเร็วและลืน่ ไหล
Jun. ขึ้น จึงมีผลใหการขยายตัวของโลกาภิวตั นจึงเปนไปไดอยางสะดวก
2013 นอกเหนือไปจากการสงเสริมตรรกะของตลาด การจัดระเบียบทาง
เศรษฐกิจโลกในชวงปลายศตววรษที่ 20 ที่อยูบนรากฐานเสรีนิยมใหมยังมี
วิธคี ดิ ทีต่ า งไปกับระเบียบโลกแบบเคนสเชียนในชวงหลังสงครามโลกครัง้ ที่
2 ถึงปลายศตวรรษที่ 20 โดยการจัดระเบียบโลกแบบเสรีนยิ มใหมจะใหความ
23
มุมมองที่บทความชิ้นนี้นําเสนอตอความแตกตางของตรรกะขั้นพื้นฐานของรัฐและภาคเอ
กชนอาจมีปญ  หาอยูบ า ง เพราะในงานบางชิน้ พยายามแสดงใหเห็นวาในทางประวัตศิ าสตร
แลว รัฐและภาคเอกชนไมไดมีความแตกตางที่ชัดเจนอยางที่บทความชิ้นนี้ไดเสนอ (ราย
ละเอียดอานเพิ่มไดจากงานของ Arrighi (1994)) อยางไรก็ตามบทความนี้ ขออนุญาตไม
ทําการถกเถียงถึงประเด็นขางตนมากนัก โดยมโนทัศนวาดวยความแตกตางของตรรกะ
ขั้นพื้นฐานของรัฐและภาคเอกชน มาจากขอสมมุติขั้นพื้นฐานที่วารัฐและตลาดมีหลักการ
ในการจัดระเบียบตนเองที่ขัดแยงกัน (Antithetical Organizing Principles) โดยหลักการ
ของรัฐเนนไปทีก่ ารจัดระเบียบแบบใชการกําลังทีม่ ลี าํ ดับขัน้ สวนหลักการขัน้ พืน้ ฐานของ
ตลาดคือการจัดระเบียบแบบการใชความสมัครใจทีม่ ลี กั ษณะไมรวมศูนย (Underhill, 2000)
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

สําคัญของโลกาภิวตั นหรือการทํางานของตลาดกอนความเปนอิสระทางการ
กําหนดนโยบายของรัฐบาลแตละประเทศ กลาวคือภายใตระเบียบทาง
เศรษฐกิจโลกแบบนี้ รัฐบาลแตละประเทศมีแนวโนมทีถ่ กู บีบใหสมาทานชุด
ของนโยบายเสรีนยิ มใหม เชนการเปดเสรีทางการเคลือ่ นยายทรัพยากรทาง
เศรษฐกิจ การลดกฎเกณฑระเบียบทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการจํากัด
บทบาทหนาที่ในทางเศรษฐกิจของรัฐ เพื่อสงเสริมการดําเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจของภาคเอกชนและการเคลือ่ นยายทรัพยากรระหวางประเทศ ดวย
เหตุนี้ นักวิชาการบางสวนจึงเรียกวิธคี ดิ ในการผลักดันชุดนโยบายดังกลาววา
“ขนาดเดียว ใสไดหมด (one size, fits all)” (Stiglitz, 2005; Rodrik, 2007;
Chang, 2007)
ในขณะที่การจัดการระเบียบเศรษฐกิจแบบเคนสเชียนใหความสําคัญ 41
ของความมีอสิ ระในการกําหนดนโยบายภายในประเทศของรัฐชาติมากกวา
การสงเสริมกิจกรรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ ดังกรณีตัวอยางของความ »‚·Õè 19
แตกตางระหวาง GATT ซึง่ เปนขอตกลงทางการคาระหวางประเทศทีก่ อ รูป ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
โดยจอหน เมยนารด เคนส และ WTO อันเปนองคกรที่เกิดขึ้นในยุคสมัย -
แหงเสรีนยิ มใหมทปี่ รากฏในงานของ Rodrik (2011) ทีต่ งั้ ขอสังเกตวาเปาหมาย ÁÔ.Â.
หลักของ GATT คือการบรรลุเปาหมายของการใหแตละประเทศสามารถ 2556
ดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจไดอยางอิสระไปพรอมกับเพิ่มปริมาณการคา
ระหวางประเทศ ดังจะเห็นไดจากความหลากหลายของการจัดการระบบ
เศรษฐกิจในชวงเวลาดังกลาว เชนประเทศกําลังพัฒนาบางประเทศใช
นโยบายเนนการผลิตเพื่อตลาดภายในประเทศ (inward-looking policies)
และประเทศกําลังพัฒนาอีกสวนหนึ่งใชนโยบายแบบเนนการผลิตเพื่อการ
สงออก (outward-looking policies)
แตในทางกลับกัน WTO อันเปนองคกรที่พัฒนาจาก GATT หลังจาก
การเจรจาในรอบอุรุกวัย (Uruguay Round) มีจุดมุงหมายขั้นสูงสุดของการ
สงเสริมโลกาภิวตั นทางเศรษฐกิจหรือการรวมตัวกันของตลาดสําหรับสินคา
และเงินทุนในระดับนานาประเทศ (international integration of markets)
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

มากกวาการใหความสําคัญตอการจัดการทางเศรษฐกิจในระดับชาติของ
ประเทศสมาชิก ฉะนัน้ แลวในระเบียบภายใตรม เงา WTO ความอิสระในการ
จัดสรรและควบคุมทรัพยากรเศรษฐกิจของภาครัฐจึงถูกลดความสําคัญลง
เพื่อเปดทางใหการเคลื่อนยายของทรัพยากรมีความอิสระมากขึ้น ซึ่งอาจ
ตีความไดวา เปนการเพิม่ อิสระในการจัดสรรทรัพยากรของภาคเอกชนเชนกัน
โดยสรุป แนวคิดเสรีนิยมใหมมีความเกี่ยวของการการขยายตัวของ
โลกาภิวัตน เนื่องจากแนวคิดเสรีนิยมใหมดํารงอยูในฐานะอุดมการณหลัก
ของการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจโลกที่วางอยูบนเงื่อนไขของการพัฒนา
เทคโนโลยีการขนสงและขาวสาร อันเปนเทคโนโลยีที่สามารถทําใหเกิด
ความกระชับแนนระหวางสถานที่และเวลา อันมีผลทําใหการเคลื่อนยาย
42 ทรัพยากรทางเศรษฐกิจขามพรมแดนรัฐชาติทาํ ไดอยางมีประสิทธิผลมากขึน้
โดยแนวคิดเสรีนิยมใหมมอบสิทธิอํานาจใหทุนหรือบรรษัทเอกชนเปน
Vol. 19 ตัวละครสําคัญในการควบคุมและจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และในขณะ
No. 2 เดียวกัน จํากัดบทบาทของรัฐบาลเปนเพียงแคผูรักษากติกาที่เอื้อตอ
Apr.
-
การสงเสริมการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การมอบสิทธิอาํ นาจในการ
Jun. ควบคุมทรัพยากรใหภาคเอกชนมีผลทําใหเกิดการขยายตัวของโลกาภิวตั น
2013 ทางเศรษฐกิจในความหมายที่วาระบบเศรษฐกิจในสวนตางๆ ของโลกมี
ความเชื่อมโยงและพึ่งพิงกันมากขึ้น
ในสวนตอไปของบทความนี้จะเปนการเสนอถึงคํามั่นสัญญาของลัทธิ
เสรีนิยมใหมและผลกระทบอันเกิดจากการนโยบายเสรีนิยมใหมในการ
จัดการระเบียบเศรษฐกิจโลก

คํามันสั
่ ญญาและผลกระทบของโลกาภิ วตั น์ ที่ถกู ควบคุมภายใต้
ระเบียบแบบเสรีนิยมใหม่
แนวคิดเสรีนยิ มใหมใหคาํ มัน่ สัญญาตอมนุษยชาติวา ถาระบบเศรษฐกิจ
ไมวา จะเปนในระดับประเทศหรือในระดับโลกถูกจัดการภายใตแนวคิดเสรีนยิ ม
ใหมอันเปนแนวคิดที่อนุญาตใหปจเจกชนมีอิสระในการประกอบกิจกรรม
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ทางเศรษฐกิจอยางเต็มที่ มนุษยชาติสามารถบรรลุถงึ ชีวติ ทีม่ คี วามสุขสบายกับ


เสรีภาพทางเศรษฐกิจและระบบเศรษฐกิจทีม่ เี สถียรภาพได ดังทีไ่ ดกลาวไว
ขางตน เนือ่ งจากแนวคิดเสรีนยิ มใหมเปดโอกาสใหมนุษยผถู กู เชือ่ วามีความ
สามารถในการใชเหตุผลวิเคราะหสภาพสังคมไดอยางเปนระบบดําเนิน
กิจกรรมของตนเองไดอยางเต็มที่ และเปดโอกาสใหปจ เจกชนสามารถปรับ
ตัวเขากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไดอยางเต็มที่ คําถามสําคัญคือคํามั่น
สัญญาไดถูกทําใหเกิดขึ้นไหม
สํ า หรั บ นิ ย ามของเสรี ภ าพทางเศรษฐกิ จ ที่ บ ทความชิ้ น นี้ ยึ ด ถื อ จะ
แสดงออกผานความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ ซึง่ สามารถวัดไดจากความเปลีย่ นแปลง
ในระดับรายไดซึ่งสามารถแสดงออกผานระดับความเติบโตทางเศรษฐกิจ
โดยนิยามขางตนนีไ้ ดรบั อิทธิพลมาจากแนวคิด “เสรีภาพในฐานะความสามารถ 43
(freedom as capabilities)”24 ของ Amartya Sen ที่ปรากฏในหนังสือ
Development as Freedom (1999) ที่ระบุวารายไดสามารถแสดงถึงความ »‚·Õè 19
สามารถในการเขาถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจหรือปจจัยทีจ่ าํ เปนตอการดํารง ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ชีวติ ได ทําใหพวกเขาสามารถดําเนินชีวติ ไดตามทีพ่ วกเขาตองการมากขึน้ -
หรืออีกนัยหนึ่ง การมีรายไดเพิ่มขึ้นทําใหมนุษยมีเสรีภาพในการเลือกใช ÁÔ.Â.
ชีวิตมากขึ้น อันเปนผลมาจากการมีความสามารถในการเขาถึงทรัพยากร 2556
ทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น
สวนนิยามของความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในบทความนีจ้ ะถูกผูก
โยงกับเรือ่ งของความเปลีย่ นแปลงของระดับรายได กลาวคือถาระดับรายได
มีการเปลีย่ นแปลงไปในทิศทางทีล่ ดลงอยางรวดเร็ว แสดงวาระบบเศรษฐกิจ
เผชิญกับความไมมีเสถียรภาพ จากนิยามขางตน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ
24
ในแนวคิดของ Sen เสรีภาพไมไดแสดงออกผานความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจประการเดียว
แตเสรีภาพยังแสดงออกผานความสามารถในการอานออกเขียนได เงื่อนไขทางสุขภาพ
สิทธิในการแสดงออกทางการเมือง และปจจัยอื่นๆ อีกมากมาย เนื่องจากความมั่งคั่งทาง
เศรษฐกิจแสดงถึงเสรีภาพทางเศรษฐกิจหรือการเขาถึงสิง่ ทีจ่ าํ เปนในการดํารงชีวติ เทานัน้
ไมไดแสดงถึงเสรีภาพในดานอื่นๆ อยางไรก็ตามบทความนี้ใชความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
เปนตัวชีว้ ดั ทางเศรษฐกิจเทานัน้ เพือ่ สืบสาววาแนวคิดเสรีนยิ มใหมไดบรรลุสญ
ั ญาวาดวย
การทําใหมนุษยชาติมีระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจในระดับที่สูงขึ้นหรือไม
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

และความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเปนสิง่ ทีม่ คี วามสัมพันธอยางแนบแนน


กัน เพราะในดานหนึง่ ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสะทอนถึงความมัน่ คง
ของเสรีภาพทางเศรษฐกิจดวย
สําหรับการบรรลุคํามั่นสัญญาวาดวยระบบเศรษฐกิจอันมีเสถียรภาพ
สามารถถูกทาทายไดจากการเกิดขึน้ อยางสมํา่ เสมอของวิกฤติการณการเงิน
(Financial Crisis)25 ในชวงเวลายี่สิบหาปสุดทายของศตวรรษที่ 20 อัน
เปนผลมาจากการจัดระเบียบเศรษฐกิจโลกแบบเสรีนิยมใหมดวย โดย
วิกฤติการณทางการเงินที่เกิดขึ้นในแตละครั้งมีผลทําใหประชาชนในทวีป
เอเชียประสบกับความไมมเี สถียรภาพทางเศรษฐกิจอันสามารถเห็นไดจาก
การปรับตัวไปในทิศทางที่ไมพึงประสงคของอัตราการจางงานและความ
44 เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Stiglitz, 2000) โดยสาเหตุหลักของความผันผวน
ในยุคของระเบียบเศรษฐกิจโลกคือนโยบายการเปดเสรีการเคลื่อนยายเงิน
Vol. 19 ทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศ (capital liberalization) ดังที่เกิดขึ้นกับ
No. 2 ประเทศในทวีปเอเชีย (Asian financial crisis) ที่เกิดขึ้นในชวง ค.ศ.1997
Apr.
-
(Stiglitz, 2002) เนือ่ งจากการเคลือ่ นยายเสรีของเงินทุนอํานวยความสะดวก
Jun. ใหกบั นักลงทุนทางการเงินในการเก็งกําไรระยะสัน้ ในตลาดการเงิน การเก็ง
2013 กําไรดังกลาวจะทําใหระบบเศรษฐกิจของประเทศประสบความไรเสถียรภาพ
ทางการเงิน เพราะเงินทุนเคลือ่ นยายไหลเขาออกประเทศอยางรวดเร็วตาม
ภาวะเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในชวงทีเ่ ศรษฐกิจเผชิญกับภาวะชะงักงัน เงินทุน
จะไหลออกจากประเทศอยางรวดเร็ว ทําใหภาวะชะงักงันของเศรษฐกิจถูก
ซํ้าเติมยิ่งขึ้นไปอีก ขอเสนอของ Stiglitz คลายคลึงกับขอเสนอของ Rodrik
(2007) ที่มองวาเงินทุนเคลื่อนยายระหวางประเทศระยะสั้นหรือเงินรอน
25
นักวิชาการอยาง Stiglitz (2005) Pollin (2005) และ Harvey (2005) ไดตั้งขอสังเกตวาใน
ทางหนึง่ วิกฤติการณทางการเงินเปนสิง่ ทีท่ าํ ใหวธิ กี ารจัดการระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ ม
ใหมแพรกระจาย เพราะในยามที่ประเทศตางๆ ประสบปญหาอันเกิดจากวิกฤติการณ
ทางการเงิน ประเทศเหลานัน้ จําเปนตองไปขอความชวยเหลือทางการเงินจากองคกรโลก
โดยเฉพาะองคกรการเงินระหวางประเทศ ซึ่งความชวยเหลือทางการเงินมักมีเงือนไขที่
บังคับใหประเทศที่รับการชวยเหลือตองปฏิบัติตามนโยบายที่วางอยูบนฐานคิดแบบ
เสรีนิยมใหม
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

(hot money) เปนปจจัยสําคัญทีท่ าํ ใหเกิดความไรเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ


สาเหตุทกี่ ารเปดเสรีเคลือ่ นยายเงินทุนระหวางประเทศระยะสัน้ นําไปสู
ความไรเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เพราะโดยธรรมชาติแลว นักลงทุนใน
ตลาดการเงินระยะสัน้ ระหวางประเทศไมไดวางแผนหรือกระทํากิจกรรมบน
หลักของเหตุผล (rationality) ที่มีการวิเคราะหอยางรอบคอบตามที่แนวคิด
เสรีนิยมใหมเสนอไว แตในทางตรงกันขามนักลงทุนในการเงินระหวาง
ประเทศกลับกระทํากิจกรรมของตนตามความกลัวหรือสัญชาติญาณ (animal
spirits) ทีม่ ผี ลทําใหเกิดพฤติกรรมแหตามกัน (herding behaviors) ของนักลงทุน
โดยพฤติกรรมดังกลาวทําใหนโยบายการเปดเสรีเงินทุนเคลือ่ นยายระหวาง
ประเทศระยะสั้นมีลักษณะซํ้าเติมวงจรการเติบโตและตกตํ่าทางเศรษฐกิจ
(pro-cyclical)” กลาวคือในชวงที่เศรษฐกิจของประเทศหนึ่งกําลังขยายตัว 45
นักลงทุนจะแหตามเขาไปลงทุนในประเทศนัน้ จนทําใหภาวะเศรษฐกิจของ
ประเทศนัน้ มีอตั ราการเติบโตทีร่ อ นแรงเกินไป เนือ่ งจากมีปริมาณเงินทีไ่ หล »‚·Õè 19
เขาระบบมากเกินไป และในทางกลับกันในยามที่ระบบเศรษฐกิจเผชิญกับ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ภาวะถดถอย นักลงทุนเหลานั้นแหถอนเงินลงทุนออกมาจากประเทศนั้น -
จนมีผลทําใหภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจถูกซํ้าเติมขึ้นไปอีก เนื่องจากการ ÁÔ.Â.
ขาดแคลนเงินทุนในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (credit crunch) และ 2556
ที่เลวรายไปกวานั้น พฤติกรรมแบบแหตามกันของเงินลงทุนระยะสั้นยัง
ทําใหวิกฤติทางเศรษฐกิจกระจายจากประเทศหนึ่งไปสูประเทศอื่นๆ ดวย
ดังเชนกรณีของวิกฤติการณการเงินทวีปเอเชีย ซึง่ เริม่ ตนจากประเทศไทย กอนที่
จะกระจายไปยังประเทศอินโดนีเซีย และประเทศเกาหลีใต (Stiglitz, 2002)
ขอมูลขางตนนําไปสูคําถามวาระเบียบโลกแบบเสรีนิยมใหมเปน
ระเบียบโลกที่เหมาะสมหรือไม เนื่องจากแนวทางระเบียบโลกขางตนทําให
สังคมโลกประสบพบเจอกับการเกิดขึ้นอยางสมํ่าเสมอของวิกฤติการณ
ทางการเงิน คําถามประการสําคัญคือ ในเมื่อโลกประสบพบเจอกับความ
สมํ่าเสมอของการเกิดวิกฤติการณทางเศรษฐกิจอันมีสาเหตุมาจากการลด
กฎเกณฑการควบคุมทางเศรษฐกิจและพฤติกรรมของปจเจกชนทีต่ ดั สินใจ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

กระทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจบนฐานของสัญชาติญาณ ไมใชความเปนเหตุ
เปนผลตามที่แนวคิดเสรีนิยมใหมกลาวอาง
ดวยเหตุนี้ จึงเกิดคําถามวารัฐควรเขามามีบทบาทในการควบคุม
กิจกรรมเศรษฐกิจบางประเภทหรือไม คําถามประการแรกสามารถถูก
สนับสนุนไดจากงานของ Stiglitz (2002) ที่ตั้งขอเสนอวาประเทศในเอเชีย
ทีร่ อดพนจากวิกฤติการณทางการเงินในชวงปลายทศวรรษ 1990 อันไดแก
ประเทศจีน ประเทศอินเดีย และประเทศมาเลเซีย ลวนแตใชนโยบายการ
ควบคุมการเคลือ่ นยายเงินทุนระหวางประเทศทัง้ สิน้ คําถามดังกลาวอาจถูก
ผลักไปไดไกลอีกวา การดํารงอยูข องการควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
ภาครัฐจําเปนตอการปกปองเสถียรภาพของเสรีภาพทางเศรษฐกิจจากการ
46 กระทําของปจเจกชนหรือไม ดังที่ Keynes เคยเสนอไวหรือไม
และในขณะเดียวกัน สวนคํามัน่ สัญญาวาดวยการยกระดับเสรีภาพทาง
Vol. 19 เศรษฐกิจของแนวคิดเสรีนิยมใหมมีขอสงสัยไดจากกับการเติบโตทาง
No. 2 เศรษฐกิจทีถ่ ดถอยลงและระดับความเหลือ่ มลํา้ ในระบบเศรษฐกิจโลกสูงขึน้
Apr.
-
โดยหลั ก ฐานของการเติ บ โตที่ ถ ดถอยสามารถพบได ใ นงานศึ ก ษาของ
Jun. Pollins (2005) ที่ไดแสดงขอมูลเปรียบเทียบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2013 ระหวางชวงเวลาของระเบียบโลกแบบเคนสเชียนและยุคสมัยแหงระเบียบ
โลกแบบเสรีนยิ มใหม งานชิน้ นีไ้ ดระบุวา อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ที่วัดจากความเปลี่ยนแปลงในระดับรายไดและอัตราความเจริญเติบโตของ
รายไดตอหัวประชากร (per capita income) ของประเทศกําลังพัฒนา26ใน
26
อยางไรก็ตาม การคํานวณความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในงานของ Pollins ไมไดรวม
ขอมูลของประเทศจีนในการคํานวณ ถึงแมวาในชวงทศวรรษ 1980 เปนตนมา เศรษฐกิจ
จีนมีอัตราการเจริญเติบโตที่รวมเร็วมาก อันเปนผลมาจากนโยบายที่อนุญาตเอกชน
สามารถมีสว นรวมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดมากขึน้ แตแนวทางการดําเนินนโยบายของ
รัฐบาลจีนหางไกลจากขอเสนอทางนโยบายของแนวคิดเสรีนิยมใหม เนื่องจากรัฐบาลจีน
ยังไปแทรกแซงในปริมณฑลทางเศรษฐกิจในระดับที่สูงมาก ไมวาจะเปนในเรื่องของการ
อนุญาตใหบรรษัทตางชาติลงทุนไดในเขตเศรษฐกิจพิเศษเทานัน้ การทีห่ นวยงานภาครัฐ
โดยเฉพาะบริษทั ของหนวยงานปกครองในระดับเมืองและหมูบ า น (Township and Village
Enterprises-TVEs) ดําเนินธุรกิจบางอยาง หรือการควบคุมกระแสเงินทุนเคลื่อนยาย
ประเทศ (Rodrik, 2007)
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ชวงเวลาของเสรีนยิ มใหมเติบโตในระดับทีต่ าํ่ กวาชวงเวลาของระเบียบโลก


แบบเคนสเชียนหรือรัฐแหงการพัฒนา (developmental state era) โดยใน
ชวงเวลาของระเบียบโลกแบบเคนสเชียน อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เฉลี่ยของประเทศกําลังพัฒนาอยูที่รอยละ 5.5 และประเทศเหลานั้นประสบ
กับอัตราการเติบโตของรายไดตอ หัวทีร่ ะดับรอยละ 3.2 ในขณะทีใ่ นยุคสมัย
ของระเบียบโลกแบบเสรีนิยมใหม อัตราการเจริญเติบโตของประเทศเหลา
นี้อยูที่ 2.6 และอัตราการเติบโตของรายไดตอหัวที่ระดับรอยละ 0.7
สําหรับความเหลือ่ มลํา้ ในระบบเศรษฐกิจโลกสูงขึน้ สามารถสะทอนได
จากการขยายตัวของความเหลื่อมลํ้าทางรายไดในระดับชาติ (national
income inequality) และความเหลือ่ มลํา้ ทางรายไดของพลเมืองโลก (global
income inequality)27 จากศึกษางานของ Milanovic (2007) ทีไ่ ดแสดงขอมูล 47
ซึ่งระบุวาความเหลื่อมลํ้าในระดับนานาประเทศที่วัดจากคาสัมประสิทธิ์จีนี่
(Gini) และทีล (Theil) ที่คํานวณจากรายไดประชากรเฉลี่ยตอหัวของแตละ »‚·Õè 19
ประเทศ ไดเพิม่ สูงขึน้ ในชวง ค.ศ. 1978-2000 หมายความวาในชวงระเบียบ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
โลกแบบเสรีนิยมใหม ชองวางทางรายไดระหวางเทศที่รํ่ารวยและประเทศ -
ที่ยากจนไดถางกวางขึ้นไปอีก ในยุคสมัยแหงเสรีนิยมใหม ความเหลื่อมลํ้า ÁÔ.Â.
ระหวางกลุมในโลกก็ถางกวางขึ้นไปอีก และงานศึกษาของ Milanovic 2556
ยังระบุวา คาสัมประสิทธิจ์ นี ขี่ องปจเจกชนไดเพิม่ ขึน้ จาก 61.9 ใน ค.ศ.1988
ไปเปน 64.2 ในค.ศ. 1998 และงานศึกษาดังกลาวยังชีใ้ หเห็นวาใน ค.ศ. 2005
สัดสวนรายไดของปจเจกชนที่รวยที่สุดในโลกรอยละ 10 กับรายไดของ
ปจเจกชนที่จนที่สุดในโลกรอยละ 10 อยูที่ 70 เทา โดยกลุมปจเจกชนที่จน
ที่สุดรอยละ 10 มีสวนแบงในรายไดของโลก (global income) เพียงรอยละ
0.7 ในขณะที่ปจเจกชนที่รวยที่สุดในโลกรอยละ 10 ครอบครองสวนแบงใน
รายไดของโลกถึงรอยละ 50 หรืออีกนัยหนึง่ ครึง่ หนึง่ ของรายไดบนโลกถูกแบง
27
ความเหลือ่ มลํา้ ในระดับโลก คือความเหลือ่ มลํา้ ระหวางกลุม ปจเจกชนทีร่ วยทีส่ ดุ ในโลกกับ
กลุม ปจเจกชนทีจ่ นทีส่ ดุ ในโลก ไมวาปจเจกชนจะถือสัญชาติอะไรหรืออาศัยอยูท ไี่ หนของ
โลกก็ตาม (Milanovic, 2007)
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

สรรในระหวางรอยละ 90 ของปจเจกชนทัง้ หมด สวนอีกครึง่ หนึง่ ของรายได


บนโลกถูกแบงสรรไปยังกลุมปจเจกชนที่รวยที่สุดในโลกรอยละ 10 เทานั้น
โดย Milnovic สรุปถึงปรากฏการณการขยายตัวของความเหลื่อมลํ้าในชวง
ปลายศตวรรษที่ 20 วา สังคมโลกมีการผนวกเขาหากัน (convergence) ทาง
ดานนโยบาย แตในทางรายไดประชาชาติสังคมโลกกลับถางออกจากกัน
(divergence)
สาเหตุทชี่ ดุ นโยบายแบบเสรีนยิ มใหมเปนสาเหตุของการขยายตัวของ
ความเหลื่อมลํ้าในระดับนานาชาติและการถดถอยของการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจในประเทศกําลังพัฒนา อาจพบไดในขอเสนอของ Chang (2007)
ที่ เ สนอว า นโยบายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การลดบทบาทของรั ฐ ในการพั ฒ นา
48 เศรษฐกิจ การลดกฎเกณฑทางเศรษฐกิจ การสงเสริมการเคลื่อนยาย
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอยางเสรี หรือแมแตการเพิ่มความเขมงวดใน
Vol. 19 การคุมครองทรัพยสินทางปญญา ทําใหกลุมประเทศกําลังพัฒนายากที่จะ
No. 2 พัฒนาภาคอุตสาหกรรมอันเปนภาคการผลิตทีก่ อ ใหเกิดการจางงาน การเพิม่
Apr.
-
ผลิตภาพทางการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีซึมซับความรูเทคโนโลยี
Jun. เพราะผูป ระกอบการอุตสาหกรรมในประเทศเหลานีถ้ กู ขัดขวางโอกาสทีจ่ ะได
2013 เรียนรูเทคโนโลยีใหมและการ ซึ่งเปนผลผลจากการคุมครองทรัพยสินทาง
ปญญา ทําใหตน ทุนการเรียนรูเ ทคโนโลยีสงู ขึน้ ยิง่ ไปกวานัน้ นโยบายทีล่ ด
กฎเกณฑการควบคุมสินคานําเขา ยังมีผลใหผูประกอบการในประเทศไม
สามารถอยู  ร อดปลอดภั ย จากการแข ง ขั น จากต า งประเทศ ทํ า ให ภ าค
อุตสาหกรรมที่เปนกําลังหลักในการจางงานไมเกิดขึ้น
ฉะนัน้ แลว ในเงือ่ นไขทีป่ ระเทศกําลังพัฒนาไมสามารถพัฒนาผลิตภาพ
การผลิตของตนเองผานทางการเกิดขึ้นของภาคอุตสาหกรรมที่เขมแข็ง
ประเทศกําลังพัฒนาเหลานัน้ จึงยากทีจ่ ะไลตาม (catch-up) ประเทศทีร่ าํ่ รวยทัน
เนือ่ งจากการหายไปของภาคเศรษฐกิจทีม่ ผี ลิตภาพการผลิตสูง ยิง่ ไปกวานัน้
ชุ ด นโยบายแบบเสรี นิ ย มใหม นํ า ไปสู  ค วามเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ
เนือ่ งจากแตละประเทศเผชิญกับเงือ่ นไขและสภาพแวดลอมทางสถาบันทาง
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

สังคมที่แตกตางกัน ดังที่ Rodrik (2007) ไดเสนอไว


สวนสาเหตุของการถางกวางขึน้ ความเหลือ่ มลํา้ ของปจเจกชนในระดับ
โลกอาจมีตน ตอจากชุดนโยบายของแนวคิดเสรีนยิ มใหม โดยเฉพาะนโยบาย
ทีเ่ กีย่ วของกับการลดบทบาทและขนาดของรัฐในทางเศรษฐกิจ (downsizing
state) ดังเชนกรณีของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจของสหภาพโซเวียตเกาใน
ประเทศรัสเซีย ทีท่ าํ ใหเกิดกลุม คนชนชัน้ ทางเศรษฐกิจใหม (oligarchy) อัน
เปนกลุมที่ไดประโยชนจากการเขาไปเปนเจาของรัฐวิสาหกิจที่ถูกแปรรูป
เหลานี้ สวนปจเจกชนที่ไมไดเขาเกี่ยวของในการครอบครองรัฐวิสาหกิจที่
แปรรูปเหลานั้น แทบไมไดรับประโยชนอะไรเลย และพวกเขาอาจตองแบก
ตนทุนที่สูงขึ้นในการเขาถึงบริการจากวิสาหกิจเหลานั้น (Stiglitz, 2005)
หรือในกรณีศกึ ษาของเกษตรกรในประเทศอินเดียทีป่ รากฏในงานของ 49
Pollin (2005) ที่ระบุวาเกษตรกรในประเทศอินเดียตองประสบปญหาความ
ยากจนอันเห็นไดจากขายอวัยวะรางกาย หรือแมกระทั่งตองฆาตัวตายเพื่อ »‚·Õè 19
หนีจากปญหาหนี้สิน อันเปนผลมาจากการที่รัฐบาลตัดความชวยเหลือ ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
(subsidies) ในภาคเกษตร ทําใหเกษตรกรตองแบกรับตนทุนปจจัยการผลิต -
ที่มีราคาแพงขึ้น และรัฐบาลอินเดียยังลดขอกีดกันทางการคาสําหรับสินคา ÁÔ.Â.
เกษตร และลดการชวยเหลือพยุงราคาสินคาเกษตร มีผลทําใหสนิ คาเกษตร 2556
ในอินเดียมีราคาทีต่ าํ่ ไปอีก ผลจากราคาสินคาเกษตรทีต่ กตํา่ ผนวกกับตนทุน
ปจจัยการผลิตที่สูงขึ้น ทําใหเกษตรกรในอินเดียตองเผชิญกับความตกตํ่า
ในรายไดที่นําไปสูภาระหนี้สินที่สูงขึ้น
จากเนื้ อ หาข า งต น คํ า มั่ น สั ญ ญาว า ด ว ยการเพิ่ ม พู น เสรี ภ าพทาง
เศรษฐกิจของแนวคิดเสรีนิยมใหมสามารถถูกตั้งขอสงสัย เนื่องจากความ
ถดถอยของการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนาและความถาง
กวางของความเหลือ่ มลํา้ ทางเศรษฐกิจในชวงสมัยทีร่ ะบบเศรษฐกิจโลกถูก
จัดการบนแนวคิด เสรีนิยมใหมไดสะทอนใหเห็นวาปจเจกชนทุกคนไมไดมี
เสรีภาพทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ในทางตรงกันขามแลวปจเจกชนบางกลุม
อาจมี เสรีภาพทางเศรษฐกิจที่ลดลงดวยซํ้า แตในขณะเดียวกัน มีเพียง
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ปจเจกชนบางกลุมที่เขาถึงเสรีภาพทางเศรษฐกิจในระดับที่สูงขึ้นเทานั้น
ฉะนัน้ แลว ขอสงสัยประการนีไ้ ปนําไปสูค าํ ถามทีว่ า การแทรกแซงของรัฐ
ในปริมณฑลทางเศรษฐกิจมีความเปนจําเปนตอการสรางความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิ จ อั น เป น เงื่ อ นไขอั น จํ า เป น ของการบรรลุ ถึ ง เสรี ภ าพทาง
เศรษฐกิจ เนื่องจากในบางกรณี การแทรกแซงของรัฐเปนเงื่อนไขที่สําคัญ
ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังปรากฏในงานของ Chang (2007) และ
Wade (1990) เสนอไววาการเขาไปควบคุมหรือชี้นําทิศทางการจัดสรร
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจของภาครัฐเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเศรษฐกิจใน
ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเชน ประเทศญี่ปุน ประเทศเกาหลีใต และ
ประเทศไตหวันประสบความสําเร็จในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ที่มีผล
50 ทําใหอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศเหลานี้เพิ่มขึ้นอยาง
เขมแข็ง โดยรัฐไดจดั สรรทรัพยากรทัง้ ทางการควบคุมอัตราแลกเปลีย่ นเงิน
Vol. 19 ตราตางประเทศ ควบคุมการเคลื่อนยายสินคาระหวางประเทศ รวมไปถึง
No. 2 ควบคุมการจัดสรรเงินทุนแกภาคอุตสาหกรรมตางๆ ยิง่ ไปกวานัน้ การเขาไป
Apr.
-
ควบคุมทิศทางการจัดสรรทรัพยากรเศรษฐกิจโดยภาครัฐในประเทศเอเชีย
Jun. ตะวันออก ยังทําใหประเทศเหลานัน้ บรรลุถงึ เปาหมายการเจริญเติบโตทาง
2013 เศรษฐกิ จ ควบคู  ไ ปกั บ การกระจายรายได ที่ มี ค วามเป น ธรรมมากขึ้ น
(Birdsall, Ross and Sabot, 1995)
จากประสบการณของประเทศในแถบเอเชียตะวันออก ทําใหเกิดคําถาม
ขึ้นวาการจัดการเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหมที่พยายามลดบทบาทของรัฐ
ในการเขาไปควบคุมการจัดสรรทรัพยากร สามารถนําพาระบบเศรษฐกิจไป
สูความเจริญเติบโตไดหรือไม ในเมื่อประสบการณขางตนไดชี้เห็นวา
ภาครัฐมีบทบาทที่สําคัญในการสรางความเติบโตทางเศรษฐกิจ หรืออีกนัย
หนึง่ การทีร่ ฐั เขาไปมีบทบาทในปริมณฑลทางเศรษฐกิจเปนเงือ่ นไขทีส่ าํ คัญ
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

ตอการสรางเสรีภาพทางเศรษฐกิจใหเกิดขึน้ ดังที่ Polanyi (2001) ไดเสนอวา


กฎระเบียบ (regulation) และการควบคุม (control)28 เปนสิ่งที่จําเปนตอ
การบรรลุเสรีภาพในสังคมที่มีจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจโดยใชกลไก
ตลาด เพราะถาไมมีกฎระเบียบและการควบคุมแลว ระบบเศรษฐกิจแบบ
ตลาดไมสามารถสถาปนาเสรีภาพใหแกใครไดเลย นอกจากเสรีภาพของ
บริษัทเอกชน (private enterprise) เทานั้น

บทสรุป: ประเด็นถกเถียงอันยาวนาน
ของการจัดระเบียบเศรษฐกิ จโลก
โดยสรุปแลว ประเด็นขอถกเถียงหลักของแนวคิดวาดวยการจัดระเบียบ
ทางเศรษฐกิจโลกที่ผานมา คือขอถกเถียงวาดวยการจัดการความสัมพันธ 51
ระหวางรัฐและตลาดในปริมณฑลทางเศรษฐกิจ หรือขอถกเถียงวาดวยการ
จัดวางตําแหนงแหงที่ของกลไกรัฐในปริมณฑลทางเศรษฐกิจ หรือบทบาท »‚·Õè 19
ของรัฐทีม่ ตี อ การจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจของสังคม โดยหนึง่ ในปจจัย ©ºÑº·Õè 2
àÁ.Â.
ทีก่ าํ หนดความแตกตางในขอเสนอวาดวยการจัดการความสัมพันธระหวางรัฐ -
และตลาดหรือตําแหนงแหงที่ของรัฐในปริมณฑลทางเศรษฐกิจของแนวคิด ÁÔ.Â.
การจัดการทางเศรษฐกิจ คือความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยในการ 2556
ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเห็นไดจากความแตกตางระหวางขอเสนอ
ของแนวคิดเคนสเชียนและเสรีนิยม โดยแนวคิดแรกเชื่อวามนุษยกระทํา
กิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยใชสัญชาติญาณนํา ฉะนั้นแลวรัฐคิดควรเขามา
แทรกแซงในปริมณฑลทางเศรษฐกิจ ในขณะทีแ่ นวคิดเสรีนยิ มคลาสสิคและ
เสรีนิยมใหม เชื่อวามนุษยกระทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจดวยเหตุผล ฉะนั้น
รัฐจึงควรถูกจํากัดบทบาทเพียงแคการดูแลความสงบเรียบรอย ไมตอ งเขามา
28
อยางไรก็ตาม Polanyi เสนอวากฎระเบียบและการควบคุมตองมีความเปนประชาธิปไตย
(democratic) เพื่อที่จะไดรับประกันถึงเสรีภาพของปจเจกทุกคน แตในกรณีของประเทศ
แถบเอเชียตะวันออก ประเทศเหลานีใ้ ชกฎระเบียบและการควบคุมตลาดผานกลไกรัฐทีม่ ี
ลักษณะความเปนเผด็จการ ใชผเู ชีย่ วชาญในการเขาไปชีน้ าํ การจัดสรรทรัพยากรของระบบ
เศรษฐกิจ
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

ยุงเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
ดังที่ไดเสนอไปในตอนตนของบทความแลว ในปจจุบันแนวคิดที่เปน
เสาหลักในการจัดการระบบเศรษฐกิจโลกคือแนวคิดเสรีนยิ มใหม แนวคิดดัง
กลาวไดใหคํามั่นสัญญาวาจะพามนุษยชาติบรรลุถึงความมีเสถียรภาพและ
เสรีภาพทางเศรษฐกิจ แตคํามั่นสัญญาขางตนกลับไมบรรลุ ยิ่งไปกวานั้น
ระบบเศรษฐกิจทีว่ างอยูบ นการจัดการแบบแนวคิดเสรีนยิ มใหมยงั ประสบกับ
ความไมมีเสถียรภาพและการที่ปจเจกชนบางกลุมถูกลดทอนเสรีภาพลง
จากปรากฏการณทเี่ กิดขึน้ บทความชิน้ นีจ้ งึ ขออนุญาตเสนอขอสรุปโดยรวมวา
ขอเสนอของ Keynes วาดวยความจําเปนของการเขาไปมีบทบาทของรัฐใน
การสรางเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และขอเสนอ Polanyi วาดวยเสรีภาพที่
52 มีฐานมาจากกฎระเบียบและการควบคุมพลังของกลไกตลาด ควรไดรบั การ
พิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับการปรับเปลี่ยนของโลกเศรษฐกิจที่เปนอยู
Vol. 19 อยางตอเนื่อง
No. 2
Apr.
-
Jun. เอกสารอ้างอิ ง
2013 Agnew, J. (2001). The New Global Economy: Time-Space Compression,
Geopolitics, and Global Uneven Development. Journal of
World-Systems Research, 8(2), pp. 133-154.
Arrighi, G. (1994). The Long Twentieth Century. London: Verso.
Birdsall, N., Ross, D. and Sabot, R. (1995). Inequality and Growth
Reconsidered: Lessons from East Asia. The World Bank
Economic Review, 9(3), pp. 477-508.
Bobbio, N. (1990). Liberalism and Democracy. London: Verso.
Cameron, A., Nesvetailova, A. and Palan, R. (2008). Editor’s
Introduction: The State of International Political Economy. in
A. Cameron, A. Nesvetailova and R. Palan. eds. (2008).
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

International Political Economy Volume I. London: Sage, pp.


Cate, T. (1983). Keynes and Thurow: The Socialization of Investment.
Eastern Economic Journal. 11(3), 205-212.
Chaiyan Rajchagool. (1994). The Rise and Fall of the Thai Absolute
Monarchy: Foundations of the Modern Thai State from
Feudalism to Peripheral Capitalism. Bangkok: White Lotus.
Chang, H-J. (2007). Bad Samaritans: The Guilty Secrets of Rich
Nations and The Threat to Global Prosperity. London:
Random House.
Chari, S. and Corbridge, S. (2008). Introduction to Part 4 Promethean
Visions. in S., Chari and S., Corbridge. (2008). eds. The 53
Development Reader. Abidgon: Routledge. pp. 125 -130.
Coe, N.M., Kelly P.F. and Yeung, H.W.C. (2007). Economic Geography: »‚·Õè 19
©ºÑº·Õè 2
A Contemporary Introduction. Oxford: Balckwell.
àÁ.Â.
Davis, J.B. (1992). Keynes on the Socialization of Investment. -
International Journal of Social Economics, 19(10/11/12), ÁÔ.Â.
150-163. 2556
Eichengreen, B. (1996). Globalizing Capital: A History of the
International Monetary System. Princeton, NJ: Princeton
University Press.
Farber, D.A. and Frickey, P.P. (1991). Law and Public Choice: A Critical
Introduction. Chicago, IL: The University of Chicago Press.
Ferguson, N. (2002). Empire: The Rise and Demise of the British
Empire World Order and the Lessons for Global Power.
London: Allen Lane.
Friedman, M. (2002). Capitalism and Freedom Fortieth Anniversary
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

Edition. Chicago, IL: The University of Chicago Press.


Froyen, R.T. (2005). Macroeconomics: Theories and Practice.
(8th Ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson.
Graham, S. (1998). The End of Geography or the Explosion of Place?
Conceptualizing Space, Place and Information Technology.
Progress in Human Geography. 22(2), pp. 165-185
Gwartney, J.D. (2008). The Concise Encyclopedia of Economics:
Supply-Side Economics. Retrieved October 10, 2011, from
http://www.econlib.org/library/Enc/SupplySideEconomics.html#
Harvey, D. (2005). A Brief History of Neoliberalism. Oxford: Oxford
54 University Press.
Hayek, F.A. (1944). The Road to Serfdom. Abingdon: Routledge.
Vol. 19 Heilbroner, R.L. (1999). The Worldly Philosophers: The Lives, Times,
No. 2 and Ideas of the Great Economic Thinkers Revised Seventh
Apr.
-
Edition. New York, NY: Touchstone.
Jun. Hobsbawm, E. (1975). The Age of Capital 1848-1875. London: Abacus.
2013 Hobsbawm, E. (1994). The Age of Extremes: The Short Twentieth
Century 1914-1991. London: Abacus.
Hobsbawm, E. (2007). Globalisation, Democracy and Terrorism.
London: Little Brown.
Issenberg, S. (2007). The Sushi Economy: Globalization and the
Making of a Modern Delicacy. New York, NY: Gotham Books.
Krugman ,P.R. and Obstfeld, M. (2003). International Economics:
Theory and Policy Sixth Edition. Boston, MA: Addison Wesley.
Leeson, P.F. (1998). Development Economics and the Study of
Development. in P.F. Leeson and M.M. Minogue, 1988. eds.
Perspectives on Development: Cross-Disciplinary Themes
สงขลานครินทร |ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

in Development. Manchester: Manchester University Press.


Marvin, C. (1988). When Old Technologies were New: Thinking
about Electric Communication in the Late Nineteenth
Century. Oxford: Oxford University Press.
Milanovic, B. (2007). Globalization and Inequality. in D. Held and A. Kaya.
eds. 2007. Global Inequality. Cambridge: Polity, pp. 26-49.
Monge, P. (1998). Communication Structures and Processes in
Globalization. Journal of Communication. 48 (4), 142-153.
Peck, J. and Tickell, A. (2002). Neoliberalizing Space. Antipode. 33 (4),
380-404.
Pindyck, R.S. and Rubinfield, D.L. (2005). Microeconomics. (5th Ed). 55
Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Polanyi, K. (2001). The Great Transformation: The Political and »‚·Õè 19
©ºÑº·Õè 2
Economic Origins of Our Time 2nd Beacon Paperback
àÁ.Â.
Edition. Boston, MA: Beacon. -
Pollin, R. (2005). Contours of Descent: U.S. Economic Fractures ÁÔ.Â.
and the Landscape of Global Austerity New Updated 2556
Edition. London: Verso.
Rodrik, D. (2007). One Economics, Many Recipes: Globalization,
Institutions and Economic Growth. Princeton, NJ: Princeton
University Press.
Rodrik, D. (2011). The Globalization Paradox: Democracy and the
Future of the World Economy. New York, NY :W.W. Norton
and Company.
Sen, A. (1999). Development as Freedom. Oxford: Oxford University Press.
Skidelski, R., 2011. The Keynes-Hayek Rematch. Retrieved October
2, 2011, from http://www.project-syndicate.org/commentary/
รัฐ ตลาด และโลกาภิวัตน ... | ตฤณ ไอยะรา

skidelsky44/English
Steger, M.B. and Roy, R.K. (2010). Neoliberalism: A Very Short
Introduction. Oxford: Oxford University Press.
Stiglitz, J. E. (2000). Capital Market Liberalization, Economic Growth,
and Instability. World Development, 28(6), pp. 1075-1086.
Stiglitz, J. E. (2002). Globalization and its Discontents. London:
Penguin.
Stiglitz, J. E. (2005). Making Globalization Work. London: Penguin.
The Economist, (2011a). A Self-Made Siege. Retrieved December
11, 2011, from http://www.economist.com/node/21530144.
56 The Economist, 2011b. Keep Out. Retrieved December 11, 2011 from,
http://www.economist.com/node/21530136.
Vol. 19 Underhill, G.R.D. (2000). State, Market, and Global Political Economy:
No. 2 Genealogy of an (Inter-?) Discipline. International Affairs.
Apr.
-
76(4), pp. 805-824.
Jun. Wade R.H. (1990). Governing the Markets: Economic Theory and
2013 the Role of the Government in East Asian Industrialization.
Princeton, NJ: Princeton University Press.
Wade, R.H. (1998). The Asian Debt-and-Development Crisis of 1997-?:
Causes and Consequences. World Development, 26(8),
1535-1553.
World Bank (2010). World Development Indicators 2010. Washington,
D.C.: World Bank Retrieved October 5, 2011, from http://data.
worldbank.org/sites/default/files/wdi/complete.pdf.

You might also like