You are on page 1of 52

http://www.motorcycle.in.

th
คํานํา
คูมือประกอบการอบรมรถจักรยานยนตรุน Wave125-I ใหมนี่จัดทําขึ้นเพื่อใหนายชางประจํา
ศูนยบริการรถจักรยานยนตฮอนดาไดใชในการศึกษาเรียนรูระบบการทํางานตางๆของเครื่องยนตระบบหัวฉีดซึ่ง
ในรถรุน Wave125-I ใหมนี้เปนรุนที่สองของฮอนดาแลวที่ไดมีการติดตั้งระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ
ใชหัวฉีดระบบ PGM-FI ซึง่ ถือไดวาเปนเทคโนโลยีใหมลาสุดของรถจักรยานยนตฮอนดาในขณะนี้
คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือประกอบการอบรมเลมนี้จะเปนประโยชนกับนายชางทุกคน

ฝายบริการหลังการขาย
บริษัท เอ.พี.ฮอนดา จํากัด

http://www.motorcycle.in.th
สารบัญ

1. ขอมูลทางเทคนิค 1
2. ขอแตกตางระหวางรุนเกากับรุนใหม 5
3. หลักการเบื้องตนของระบบฉีดเชื้อเพลิง 6
4. ตําแหนงอุปกรณของระบบ 9
5. แผนผังระบบ PGM-FI 10
6. ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส 11
7. ตัวตรวจจับสัญญาณ 12
8. ระบบเชื้อเพลิง 18
9. ระบบประจุอากาศ 21
10. ECM 24
11. ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง 25
12. การเรียกดูรายการปญหา 29
13. การลบขอมูล 30
14. การปรับตั้งตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 32
15. การถอดทอน้ํามันแรงดันสูง 34
16. การประกอบทอน้ํามันแรงดันสูง 36
17. ปญหาขอขัดของ 37
18. วงจรไฟ 43

http://www.motorcycle.in.th
ขอมูลทางเทคนิค WAVE 125 i

หัวขอ รายการ คามาตรฐาน


ความยาวตัวรถ 1,881 มม. ( 74.1 นิ้ว )
ความกวางตัวรถ 706 มม. ( 27.81 นิ้ว )
ความสูงตัวรถ 1,082 มม. ( 42.6 นิ้ว)
ระยะหางลอหนา - ลอหลัง 1,239 มม. ( 48.8 นิ้ว )
ขนาด ความสูงของเบาะนั่ง 761 มม. ( 30.0 นิ้ว )
ความสูงของพักเทา 266 มม. ( 10.5 นิ้ว )
ระยะหางจากพื้น 130 มม. ( 5 .11 นิ้ว )
97 กก. ( 213.8 ปอนด )< NF125>
น้ําหนักสุทธิ
99 กก. ( 218.3 ปอนด )< NF125M>
แบบตัวถัง แบบแบคโบน ( BACK BONE)
ระบบกันสะเทือนหนา / ระยะยุบ แบบเทเลสโคปค / 80.5 มม. ( 3.17 นิ้ว )
ระบบกันสะเทือนหลัง / ระยะยุบ แบบสวิงอารม / 81.8 มม. ( 3.22 นิ้ว )
ขนาดยางหนา 60/100 - 17 M/C 33 P
ตังถัง ขนาดยางหลัง 70/90 - 17 M/C 43 P
เบรคหนา แบบดิสกเบรค / ไฮดรอลิค
เบรคหลัง แบบดรัมเบรค
มุมแคสเตอร / ระยะเทรล 26° 30' / 68 มม. ( 2.7 นิ้ว )
ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง 4 ลิตร
กระบอกสูบ X ระยะชัก 52.4 X 57.9 มม. ( 2.06 X 2.28 นิ้ว )
ปริมาตรกระบอกสูบ 124.8 ซม.3 ( 7.61 นิ้ว )
อัตราสวนการอัด 9.3 : 1
หลังเปลี่ยนถาย 0.7 ลิตร ( 700 ซีซี. )
ความจุน้ํามันเครื่อง
หลังประกอบเครื่องยนต 0.9 ลิตร ( 900 ซีซี. )
ระบบขับเคลื่อนวาลว โซราวลิ้นแบบซับเสียง
วาลวไอดี เปด ที่ 1 มม. 5 ° กอนศูนยตายบน
เครื่องยนต
ปด (0.04 นิ้ว) 22° หลังศูนยตายลาง
วาลวไอเสียเปด 37° กอนศูนยตายลาง
ปด -3° หลังศูนยตายบน
วาลวไอดี 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว )
ระยะหางวาลว ( ขณะเย็น )
วาลวไอเสีย 0.05 ± 0.02 มม. ( 0.002 นิ้ว )
ระบบหลอลื่น ใชแรงดัน / แบบอางเปยก
ปมน้ํามันเครื่อง แบบหมุน

http://www.motorcycle.in.th
2

หัวขอ รายการ คามาตรฐาน


ระบบระบายความรอน ระบายความรอนดวยอากาศ
ไสกรองอากาศ แบบกระดาษ
เพลาขอเหวี่ยง แบบแยกสวน
เครื่องยนต
การวางเครื่องยนต สูบเดียววางเอียง 80° จากแนวดิ่ง
น้ําหนักเครื่องยนตขณะยังไมเติม NF125 22.3 กก. ( 49.2 ปอนด )
น้ํามัน NF125M 24.2 กก. ( 53.4 ปอนด )
PGM-FI [PROGRAMMED FUEL
ระบบจายน้ํามัน
INJECTION ]
ขนาดของคอคอด 22 มม. [0.9 in ]
แบบปมแรงดันสูง แบบใบพัด ( TURBINE PUMP )
ระบบจาย อัตราการไหล อยางนอย 13.9 cc./ 10 วินาที ที่แบตเตอรี1่ 2 โวลท
น้ํามันเชื้อเพลิง หัวฉีด แบบรู
ความตานของหัวฉีด
10.2-11.4 โอหม
(ที่ 20oC/68oF)
ตัวควบคุมแรงดัน 294 kpa (3.0 kgh/cm2,43 psi)
ความเร็วรอบเดินเบา 1,400 + 100 รอบตอนาที
ระบบคลัทช แบบเปยกหลายแผนซอนกัน
ระบบการทํางานของคลัทช แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง
ระบบสงกําลัง 4 เกียร แบบขบกันตลอด
อัตราทดขั้นตน 3.350 ( 67 / 20 )
อัตราทดขั้สุดทาย 2.428 ( 34 / 14 )
ระบบสงกําลัง
อัตราทด เกียร 1 2.500 ( 35 / 14 )
เกียร 2 1.550 ( 31 / 20 )
เกียร 3 1.150 ( 23 / 20 )
เกียร 4 0.923 ( 24 / 26 )
การเปลี่ยนเกียร N - 1 - 2 - 3 - 4 (– N) ( เกียรวนขณะรถหยุดนิ่ง )
ระบบจุดระเบิด ดิจิตอลทรานซีสเตอรเต็มรูปแบบ
NF125 สตารทเทา
ระบบสตารทเครื่องยนต
NF125M มอเตอรสตารท / สตารทเทา
ระบบไฟฟา CPR6EA-9 (NGK) หรือ
หัวเทียน มาตรฐาน
U20EPR9 (DENSO)
CPR7EA-9 (NGK) หรือ
สําหรับขับขี่ดวยความเร็วสูง
U22EPR9 (DENSO)
ระยะหางเขี้ยวหัวเทียน 0.80 - 0.90 มม. (0.031 - 0.035 นิ้ว)

http://www.motorcycle.in.th
3

หัวขอ รายการ คามาตรฐาน


ระบบไฟชารจ เฟสเดียวจากอัลเทอรเนเตอร
เรคกูเลเตอร / เรคติไฟเออร SCR เฟสเดียวเรียงกระแสครึ่งครื่น
ระบบแสงสวาง อัลเทอรเนเตอร
ระบบไฟฟา
องศาการจุดระเบิด 10o กอนศูนยตายบน ที่ 1,400รอบ/นาที
แบตเตอรี่ 125C, 125MC YTZ3,YTZ5S ( YUASA )
ฟวสหลัก / ฟวสรอง 15 / 10 A

http://www.motorcycle.in.th
4

KPHX : Fuel Injection System Step 2

รถจักรยานยนต รุน Wave 125i ใหมไดมีการพัฒนาระบบการจายน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI Step 2


เขามาใชซึ่งเปนระบบที่พัฒนามาจากระบบ PGM-FI Step 1 โดยการออกแบบใหงายตอการตรวจเช็คซอมและการ
บํารุงรักษาตางๆ ไดมีการแยกอุปกรณควบคุม(กลองECM) ออกจากเรือนลิ้นเรงและเซนเซอรทั้งสามตัวไดแก เซนเซอร
ตรวจจับอุณหภูมิอากาศ,เซนเซอรตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง, เซนเซอรตรวจจับความดันในทอไอดี ซึ่งจากการออกแบบ
ดังกลาวทําใหสามารถตรวจเช็คและเปลี่ยนเซนเซอรตางๆ ไดในกรณีที่เกิดความเสียหาย นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยน
ตําแหนงการติดตั้งตัวควบคุมแรงดันของน้ํามันในระบบโดยยายไปอยูในถังน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับ
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทําใหไมจําเปนตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนกับ PGM-FI Step1 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงนี้ทําให
ความดันของน้ํามันในระบบคงที่อยูตลอดเวลาที่ความดัน 294 Kpa ในทุกสภาพการทํางานของเครื่องยนต

http://www.motorcycle.in.th
5

ขอแตกตางของ KPHL กับ KPHX

STEP 1 KPHL STEP 2 KPHX

THB

ECM
เรือนลิ้นเรงและ ECM ยึดติดเปนชุดเดียวกัน เรือนลิ้นเรงกับกลอง ECM แยกออกจากกัน

หัวฉีดแบบ DN-C3 หัวฉีดแบบ KN-7

INJ

เซนเซอรมุมเอียง เซนเซอรมุมเอียง

มีทอทางน้ํามันไหลกลับ ไมมีทอทางน้ํามันไหลกลับ มีตัวควบคุมแรงดัน


น้ํามันติดตั้งเปนชุดเดียวกันกับปม

FPM

http://www.motorcycle.in.th
6

หลักการทํางานเบื้องตนของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรุน KPHX

น้ํามันเชื้อเพลิงในถังจะถูกสงผานกรองน้ํามัน ไปยังหัวฉีด ( Injector ) ซึ่งติดตั้งอยูบริเวณทอไอดีโดยใช


ปมน้ํามันเชื้อเพลิงแบบไฟฟา ซึ่งติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันพรอมกับตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งยึดติดเปนชุด
เดียวกันกับปมน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งจะทําหนาที่ควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่อยูตลอดเวลาในทุกสภาพการ
ทํางานของเครื่องยนต ที่ความดัน 294 Kpa สงไปยังหัวฉีด เมื่อกลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวด
เข็มหัวฉีดจะยกตัวขึ้น ทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีแรงดันสูง ถูกฉีดเขาไปผสมกับอากาศภายในทอไอดีเพื่อบรรจุเขากระบอก
สูบ ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่ถูกฉีดออกมาจะมีปริมาณมากหรือนอย ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่กลอง ECM ตอวงจรไฟฟาของ
ชุดหัวฉีดลงกราวด กลาวคือ ถาตองจรไฟฟาของชุดหัวฉีดลงกราวดนาน จะทําใหเข็มของหัวฉีดเปดนาน สงผลใหปริมาณ
ของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ฉีดออกมามีปริมาณมากตามไปดวย

ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง PGM-FI แบบ D-Jetronic


เปนระบบที่มีการควบคุมระยะเวลาการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด โดยวิธีการวัดแรงดันของอากาศในทอไอดี
ดวยตัวจับความดันในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามัน
เชื้อเพลิงของหัวฉีดใหเหมาะสมกับปริมาณอากาศที่เขากระบอกสูบ

หลักการทํางาน
ขณะที่เครื่องยนตมีความเร็วรอบต่ํา ลิ้นเรงจะเปดใหอากาศไหลเขากระบอกสูบนอยเปนผลใหความดันในทอไอดี
ต่ํา ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี จะสงสัญญาณไฟฟาที่สัมพันธกับความดันอากาศในทอไอดีในขณะนั้น เขาไปที่กลอง
ECM ในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย และในทางกลับกันหากบิดคันเรงมากขึ้นจะทําใหมี
อากาศไหลเขากระบอกสูบมากขึ้น เปนผลใหความดันในทอไอดีสูงขึ้นในสภาวะแบบนี้กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามัน
เชื้อเพลิงมากขึ้น

http://www.motorcycle.in.th
7

การควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

ระบบจะมีการควบคุมระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ การควบคุมระยะเวลาการ


ฉีดพื้นฐาน และการเพิ่มระยะเวลาในการฉีดตามสภาวะการทํางานของเครื่องยนต โดยมีรายละเอียดการควบคุมดังนี้

การควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน

กลอง ECM จะไดรับสัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับความดันในทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของ


เครื่องยนต สัญญาณไฟฟาทั้งสองจะเปนสัญญาณที่ใชสําหรับ กําหนดระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด
ระยะเวลาในการฉีดที่ไดจากสัญญาณทั้งสองนี้จะเรียกวา ระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน

อากาศ

ตัวตรวจจับความดันใน
ทอไอดี หัวฉีด ตัวควบคุมความดัน
ทอไอดี
สัญญาณความดันในทอ
ไอดี ปมน้ํามัน

ECM เครื่องยนต
สัญญาณความเร็ว กรองน้ํามัน
รอบเครื่องยนต

ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
สัญญาณการฉีด

ไดอะแกรมการควบคุมระยะเวลาในการฉีดพื้นฐาน

หมายเหตุ
สัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตจะใชเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณอากาศตอรอบการทํางานของ
เครื่องยนต พรอมทั้งเปนตัวกําหนดจังหวะการจุดระเบิด และจังหวะเริ่มตนการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด

http://www.motorcycle.in.th
8

การเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
เนื่องจากเครื่องยนตตองทํางานภายใตสภาวะตางๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาจึงทําใหอัตราสวนผสมที่ได
จากสัญญาณการฉีดพื้นฐานไมสามารถตอบสนองตอความตองการของเครื่องยนตในทุกสภาวะการทํางานได ดังนั้นจึงตอง
มีตัวตรวจจับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต ( Sensor ) เปนตัวสงขอมูลสภาวะการทํางานตางๆของเครื่องยนตใหกลอง
ECM ทราบ เพื่อที่กลอง ECM จะไดนําขอมูลเหลานั้นไปประมวลผลคํานวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่เครื่องยนตตองการ
ในสภาวะนั้นๆ แลวสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันออกมาผสมกับอากาศใหไดสวนผสมที่พอเหมาะที่สุด

TA
ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ อากาศ
THR
ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

ตัวตรวจจับความดัน ทอไอดี หัวฉีด ตัวควบคุมความดัน


ในทอไอดี
สัญญาณความดันในทอไอดี
ปมน้ํามัน
สัญญาณอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
ECM เครื่องยนต
กรองน้ํามัน
สัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต

ถังน้ํามัน
สัญญาณการฉีด

ไดอะแกรมเพิ่มระยะเวลาในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

สวนประกอบของระบบ
- ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR )
- ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL PUMP )
- ทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง ( FUEL HOSE )
- กลองควบคุม ( ENGINE CONTROL MODULE )
- หัวฉีด ( INJECTOR )
- หลอดไฟเช็คเครื่องยนต ( FI-INDICATOR )

http://www.motorcycle.in.th
9

ตําแหนงของอุปกรณระบบ PGM-FI
ใชรูปกับคูมือซอม

ตัวตรวจจับการเอียงของรถ กลอง ECM ตัวตรวจจับอุณหภูมิ


น้ํามันเครื่อง

ตัวเรือนหัวฉีด หัวฉีด เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร

ทอทางเดินน้ํามัน ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามันเชื้อเพลิง


และตัวควบคุมแรงดัน

http://www.motorcycle.in.th
10

แผนผังระบบ PGM - FI

ใชรูปกับคูมือ
ซอม

1.สวิทชจุดระเบิด 12.คอยลจุดระเบิด
2.ฟวสหลัก (15 A) 13.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
3.ฟวสรอง (10 A) 14.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
4.แบตเตอรี่ 15.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี
5.เรกกูเลเตอร/เรกติไฟเออร 16.หัวฉีด
6.เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 17.หัวเทียน
7.หลอดไฟแสดงความผิดปกติ 18.สวิทชไฟเกียรวาง
8.หลอดไฟเกียรวาง 19.พัลซเซอรคอยล
9.ตัวตรวจจับการเอียงของรถ 20.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
10.ขั้วตรวจสอบ 21.อัลเทอรเนเตอร
11.ปมน้ํามันเชื้อเพลิง

http://www.motorcycle.in.th
11

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส

ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกสประกอบดวย ECM, ตัวตรวจจับสัญญาณ, และอุปกรณทํางาน ECM จะรับ


สัญญาณไฟฟาจากตัวตรวจจับสัญญาณ และควบคุมการทํางานตางๆ เชน หัวฉีดและปมน้ํามันเชื้อเพลิง

หนวยตรวจสอบ หนวยควบคุม อุปกรณทํางาน

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ควบคุมการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง หัวฉีด

ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ควบคุมการทํางานของ ปมน้ํามันเชื้อเพลิง


ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ คอยลจุดระเบิด
ควบคุมการทํางานของ
ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ระบบจุดระเบิด หลอดไฟวิเคราะห
ปญหา(FI)
ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ควบคุมการทํางานของหลอดไฟ
แสดงความผิดปกติระบบวินิจฉัย
ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ ขอขัดของดวยตัวเอง

ขั้วตรวจสอบ

วงจรจายพลังงาน ( POWER SUPPLY CIRCUIT )


แหลงจายพลังงานในรถจักรยานยนตรุน ใหม มีอยูดวยกัน 2 แหงดวยกันคือ
1. แบตเตอรี่
2. อัลเทอรเนเตอร
ซึ่งระบบจายพลังงานสามารถแยกการทํางานออกเปน 2 กรณีคือ แบบปกติและแบบฉุกเฉิน ซึ่งมีหลักการทํางาน
ดังนี้
1. การทํางานแบบปกติ (แบตเตอรี่อยูในสภาพพรอมใชงาน)
เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดแบตเตอรี่จะจายพลังงานออกมาเลี้ยงระบบตางๆทั้งหมดจนกวาจะสตารทเครื่องยนต
และเครื่องยนตติด ถาเครื่องยนตสามารถผลิตไฟฟาไดมากกวาแรงเคลื่อนของแบตเตอรี่เมื่อไหรอัลเทอรเนเตอรก็จะเปนตัว
จายไฟเลียงระบบแทนแบตเตอรี่และจายไฟไปประจุที่แบตเตอรี่
2. การทํางานแบบฉุกเฉิน (แบตเตอรี่อยูไมอยูในสภาพที่พรอมใชงาน)
อัลเทอรเนเตอรจะเปนตัวจายพลังงานไฟฟาออกมาเลี้ยงระบบทั้งหมดโดยไดพลังงานไฟฟามาจากการสตารท
เครื่องยนต ซึ่งรุนนี้ไดมีการออกแบบชุดเรคติไฟเออรใหมใหมีความสามารถในการจายกระแสไฟไปออกมาเลี้ยงระบบได
มากขึ้นโดยที่เรคกูเรเตอร-เรคติไฟเออร จะมีตัวเก็บประจุอยูภายในซึ่งจะชวยทําใหแรงเคลื่อนที่จายออกมาจาก
อัลเทอรเนเตอรในระหวางการสตารทดวยคันสตารทมีความคงที่และเพียงพอในการติดเครื่องยนต

http://www.motorcycle.in.th
12

TO
15A 10A STARTER.SW.

STARTERRELAY

BAT2 V02

TO BAT1 VO1
DIMMER .SW.

FUELPUMP

BANKANGLESENSOR
ALTERNATOR

วงจรจายพลังงาน

ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR )
มีหนาที่ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงตางๆ แลวสงขอมูลเขาไปที่กลอง ECM แลวนําขอมูลเหลานั้นไป
ประมวลผล เพื่อหาปริมาณการฉีดและจังหวะในการจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุด ในรถรุนนี้ ไดมีการติดตั้งตัวตรวจจับ
สัญญาณตางๆ ดังนี้
1.ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
2.ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี
3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
4.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
5.ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต
6.ตัวตรวจจับมุมเอียงของรถ

ใชรูปกับคูมือซอม

http://www.motorcycle.in.th
13

ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศในทอไอดี ( Intake Air Temperature Sensor : IAT )

เปนอุปกรณที่ใชสําหรับตรวจจับอุณหภูมิของอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบ และเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา
กลอง ECM เพื่อปรับเปลี่ยนระยะเวลาในการฉีดเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับอุณหภูมิของอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศเปนเทอรมิสเตอรที่สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศไดถึงแมจะ
เปนเพียงความรอนแคเล็กนอย ซึ่งติดตั้งอยูดานหนาของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจสอบอุณหภูมิของอากาศที่จะบรรจุเขา
กระบอกสูบโดยตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง

คาความตานทาน (K Ω )

-20 0 20 40 60 80 1
ตัวตรวจจับอุ ณหภูมิอ ากาศ o
อุ ณหภูมิอ ากาศ C

จากหลักการของระบบ ปริมาณอากาศที่บรรจุเขากระบอกสูบจะเปนขอมูลใหกลอง ECM คํานวณหาระยะเวลา


ในการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดสวนผสมระหวางอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงตามทฤษฎี แตดวยเหตุที่อุณหภูมิของอากาศไม
คงที่จึงทําใหความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไป คือถาอุณหภูมิของอากาศสูงขึ้นความหนาแนนจะนอยลง จากการที่
ความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงไปจะทําใหการจายสวนผสมผิดพลาดได ดังนั้นจึงจําเปนตองมีตัวตรวจจับอุณหภูมิ
ของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต ตรวจจับอุณหภูมิของอากาศแลวสงขอมูลใหกับกลอง ECM เพื่อที่จะนําขอมูลที่ไดไป
คํานวณหาปริมาณอากาศที่แทจริงแลวสั่งจายเชื้อเพลิงในปริมาณที่เหมาะสมกับปริมาณอากาศในขณะนั้น
กลาวคือถาอุณหภูมิของอากาศต่ํา หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะมากดวยกลอง ECM จะสั่งจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงมาก ( หัวฉีดเปดนาน ) ในทางกลับกัน ถาอุณหภูมิของอากาศสูง หมายความวาความหนาแนนของอากาศจะ
นอยกลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอย ( หัวฉีดปดเร็ว )

http://www.motorcycle.in.th
14

ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP )

ทําหนาที่ตรวจวัดปริมาณอากาศดวยการตรวจจับความดันภายในทอไอดี แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขา
กลอง ECM เพื่อกําหนดระยะเวลาในการฉีดพื้นฐานของหัวฉีด
ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี เปนความตานทานที่เปลี่ยนแปลงไดแบบ สารกึ่งตัวนํา ซึ่งจะเปลี่ยนความดันให
เปนสัญญาณไฟฟาสงไปที่กลอง ECM
กลอง ECM จะรับขอมูลความดันสมบูรณภายในทอไอดี จากสัญญาณที่สงมาจากตัวตรวจจับความดันใน
ทอไอดี และสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต ซึ่งจะเปนขอมูลในการสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงขั้นพื้นฐานใหมีความ
เหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนต
กลาวคือถาความดันภายในทอไอดีสูง กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก เพราะมีปริมาณ
อากาศมาก ในทางกลับกัน ถาความดันในทอไอดีต่ํา กลองควบคุม ( ECM ) จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงนอยเพราะปริมาณ
อากาศนอย
ตัวตรวจจับความดันจะติดตั้งอยูดานหลังของลิ้นปกผีเสื้อ เพื่อตรวจจับความดันของอากาศกอนที่จะเขาเครื่องยนต
โดยตัวตรวจจับความดันจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง

ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี

ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS )

ทําหนาที่ตรวจจับตําแหนงการเปดของลิ้นเรงแลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลในการ


สั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหมีความเหมาะสมกับความตองการของเครื่องยนตในขณะนั้น และเปนขอมูลในการสั่งตัดการจาย
น้ํามันเชื้อเพลิงเมื่อผอนคันเรง โดยการเปรียบเทียบสัญญาณกับสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตและสัญญาณอุณหภูมิ
ของน้ํามันเครื่อง
ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง จะบอกการเปดของลิ้นเรงออกมาเปนสัญญาณทางไฟฟา ซึ่งเกิดจากความตานทานที่
เปลี่ยนแปลงไดที่ติดตั้งอยูที่สวนปลายของเพลาลิ้นเรง แลวสงสัญญาณไฟฟาดังกลาวไปที่กลองECM

http://www.motorcycle.in.th
15

เซนเซอรลิ้นเรง

ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

การทํางาน
ที่ตําแหนงลิ้นเรงปดสุดชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะตอที่สวนปลายของแผนความตานทานใน
ตําแหนงนี้ความตานทานจะมาก ทําใหไฟที่จายมาจากขั้ว VCC 5 โวลท ไหลผานความตานทานมากจึงทําใหไฟไหล
กลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR นอย ( 0.5 โวลท ) ในตําแหนงนี้กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดจายน้ํามันเชื้อเพลิง
นอยเมื่อบิดคันเรงมากขึ้นชุดหนาสัมผัสสัญญาณการเปดลิ้นเรง จะเคลื่อนที่เขาหาขั้ว VCC มากขึ้น ทําใหคาความ
ตานทานระหวางขั้ว VCC กับขั้ว THR ลดลงยอมใหกระแสไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM ที่ขั้ว THR มากขึ้น เปน
ผลใหกลอง ECM สั่งจายน้ํามันมากขึ้น จนลิ้นเรงเปดสุดความตานทานจะนอยที่สุดทําใหไฟไหลกลับไปที่กลอง ECM
ไดมากที่สุด ( 4.47 โวลท )
ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงจะประกอบเปนชุดเดียวกันกับตัวเรือนลิ้นเรง โดยจะเชื่อมตออยูกับแกนหมุนของ
ลิ้นปกผีเสื้อ ซึ่งติดตั้งอยูที่ทอไอดี

http://www.motorcycle.in.th
16

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( Engine Oil Temperature Sensor : EOT )

ทําหนาที่ตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่อง แลวเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อเพิ่มหรือลด


ปริมาณการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง กลาวคือถาน้ํามันเครื่องมีอุณหภูมิต่ํากลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น

คาความตานทาน กิโลโอม

7.000
6.000
5.000
4.000
3.000
2.000
1.000
0.000
0 20 40 60 80 100 120 140 160 180 200

อุณหภูมิน้ํามันเครื่อง ( องศาเซลเซียส )

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครือ
่ ง

อุณหภูมิ 20oC 100oC


2.5-2.8 KΩ 0.21-0.22 KΩ
คาความตานทาน

ตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องติดตั้งอยูที่ดานลางของเสื้อสูบ ภายในประกอบดวยความตานทานแบบมีคา
สัมประสิทธิ์ทางอุณหภูมิเปนลบ ซึ่งจะมีคาความตานทานลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากคุณสมบัติดังกลาวจะถูกนําไปใช
เปลี่ยนเปนแรงดันไฟฟาสงเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลในการคํานวณหาปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับ
อุณหภูมิของเครื่องยนตขณะนั้น ถาเครื่องยนตเย็นความตานทานจะมาก เปนเหตุใหแรงดันไฟฟาตกครอมที่ตัวตรวจจับ
อุณหภูมิน้ํามันเครื่องมาก กลอง ECM จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาก และเมื่อเครื่องยนตทํางานจนอุณหภูมิสูงขึ้น ความ
ตานทานจะลดลงเปนเหตุใหไฟฟาสามารถผานตัวตรวจจับอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องไปเขากลอง ECM ไดมากกลอง
ECM ก็จะสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหนอยลง ทั้งนี้ก็เพื่อความเหมาะสมกับสภาวะการทํางานของเครื่องยนต

http://www.motorcycle.in.th
17

ตัวตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต ( Engine Speed Sensor )

ทําหนาที่ตรวจจับความเร็วรอบเครื่องยนต แลวสงเปนสัญญาณไฟฟาเขากลอง ECM เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานใน


การคํานวณจังหวะและอัตราการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเหมาะสมกับความเร็วรอบของเครื่องยนต และกลอง ECM ยังใช
สัญญาณนี้ไปคํานวณหาจังหวะจุดระเบิดที่เหมาะสมที่สุดสําหรับแตละสภาวะการทํางานของเครื่องยนต

ลอแมเหล็ก

จุดตัดบอกตําแหนงองศา พัลเซอรคอยล
เพลาขอเหวี่ยง

ตัวตรวจจับการเอียงของรถ ( Bank Angle Sensor )

ทําหนาที่ตรวจจับการเอียงของรถ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในกรณีรถลม โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถจะสง


กระแสไฟฟาประมาณ 1 โวลท ไปยังชุดกลอง ECM เมื่อองศาการเอียงถึงจุดที่กําหนดไว เพื่อแจงใหทราบวาขณะนี้รถ
อยูในลักษณะเอียง กลอง ECM ก็จะสั่งใหระบบ PGM-FI หยุดทํางานเปนการปองกันไฟใหมในกรณีรถเกิดอุบัติเหตุ
ลม
โดยตัวตรวจจับการเอียงของรถ จะสั่งใหกลอง ECM ตัดการทํางานของชุดไฟจุดระเบิดและหัวฉีด เมื่อ
รถจักรยานยนตเอียงเปนมุมมากวา 55o + 5o ภายในระยะเวลา 4 + 0.5 วินาที โดยการตัดวงจรนีจ้ ะเปนการตัดแบบถาวร
ถึงแมวารถจะตั้งขึ้นมาแลวก็ตาม ECM สั่งใหระบบจุดระเบิดทํางานอีกครั้งเมื่อมีการปด-เปดสวิทชจุดระเบิดใหม ระบบ
จึงจะทํางานเปนปกติ ( ปมน้ํามันเชื้อเพลิงยังคงทํางานตามไดตามเงื่อนไขเดิม )

55+5o o
55+5o o
55 +5 55 +5

ตําแหนงติดตั้ง Bank Angle Sensor

http://www.motorcycle.in.th
18

ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในรถจักยานยนตรุน KPHX สามารถแบงระบบการทํางานไดดังนี้

1. ระบบเชื้อเพลิง ทําหนาที่จายน้ํามันเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนตในปริมาณที่เพียงพอตอความตองการในทุก
สภาวะการทํางานของเครื่องยนต ดวยความดันคงที่ 294 Kpa ตลอดเวลา ประกอบดวย ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ปมน้ํามัน
เชื้อเพลิง ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง ทอจายน้ํามันเชื้อเพลิง (ทอแรงดันสูง) หัวฉีด

หัวฉีด

ทอน้ํามัน ถังน้ํามันเชื้อเพลิง

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง

- ปมน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Pump) ทําหนาที่สรางแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงจากถังสงไปยังหัวฉีดในปริมาณที่


เพียงพอตอความตองการของเครื่องยนตโดยปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะติดตั้งอยูภายในถังน้ํามันเชื้อเพลิงเปนปมแบบใบพัด (
Turbine Pump) ขับดวยมอเตอร 12 VDC.จายน้ํามันเชื้อเพลิงดวยอัตราการไหลคงที่ ที่แรงดัน 294 Kpa หรือ 3.0
Kgf/cm2 โดยทอดูดของปมติดตั้งอยูในตําแหนงต่ําสุดของถังน้ํามันและจะมีกรองตาขายอยูดานลางเพื่อกรองสิ่งสกปรกที่
มีขนาดตั้งแต 10 ไมครอนขึ้นไป มอเตอรปมจะถูกสั่งงานโดยกลอง ECM

ลิ้นกันกลับ

ตัวควบคุมแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง

กรองน้ํามันดานดูด

http://www.motorcycle.in.th
19

จากการที่ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจายน้ํามันดวยอัตราการไหลคงที่ตลอดเวลา แตเครื่องยนตตองการปริมาณน้ํามันที่ไม
คงที่ ดังนั้นจึงตองมีการควบคุมแรงดันน้ํามันอีกครั้งโดยตัวควบคุมแรงดันที่ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงภายในถังกอนที่
จะสงไปยังหัวฉีด ทําใหไมมีน้ํามันสวนเกินสงไปยังหัวฉีด จึงไมตองมีทอน้ํามันไหลกลับเหมือนที่ใชในรุน KPHL

สวนประกอบของปมน้ํามันเชื้อเพลิง
ขดลวดอาเมเจอร

เรือนปม ใบพัด

ทอทางจาย

หองปมน้ํามัน ลิ้นกันกลับ

มอเตอร

ปมน้ํามันเชื้อเพลิง

ทางจาย ทางดูด

รองของใบพัด

รองของใบพัด

ใบพัด
เรือนปม

ปมน้ํามันประกอบดวย ขดลวดอาเมเจอร ชุดปม ลิ้นกันกลับ มอเตอร ใบพัด หองปม ทอทางดูดทอทางสง และ


เรือนปม ปมน้ํามันจะทํางานทุกครั้งที่เปดสวิทชกุญแจโดยกลอง ECM จะเปนตัวสั่งใหปมทํางานเปนเวลา 2 วินาที แลว
ดับหลังจากนั้นจะทํางานอีกเมื่อเครื่องยนตติด โดยปมน้ํามันจะทํางานตลอดเวลาถามีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนต
สงมาที่กลอง ECM ปมน้ํามันเชื้อเพลิงจะหยุดการทํางานอัตโนมัติเมื่อไมมีสัญญาณความเร็วรอบของเครื่องยนตสงมาที่
ECM เมื่อปมหยุดทํางานลิ้นกันกลับจะปดเพื่อรักษาแรงดันน้ํามันในระบบไว

http://www.motorcycle.in.th
20

หัวฉีด ( Injector )

ทําหนาที่ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหเปนฝอยละออง เพื่อคลุกเคลากับอากาศบริเวณทอไอดีกอนผานวาลวไอดีเขาสู
กระบอกสูบ หัวฉีดที่ใชเปนแบบบังคับการเปดของหัวฉีดโดยโซลินอยดไฟฟาและปดโดยแรงดันสปริง โดยมีโครงสราง
ดังนี้

KPHX (KN-7 Type)

หลักการทํางาน
น้ํามันจากทอสงไหลเขาหัวฉีดโดยผานกรองละเอียดที่ชองทางเขา ผานลงไปยังเข็มหัวฉีดที่ปลายดานลางของ
หัวฉีด ในขณะที่หัวฉีดยังไมทํางาน เข็มหัวฉีดจะถูกสปริงดันใหแนบสนิทอยูกับบาของเข็มหัวฉีดจังหวะนี้จะไมมีการฉีด
น้ํามัน เมื่อกลอง ECM สั่งใหไฟฟาที่มาจากหัวฉีดลงกราวดจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้นที่ขดลวด เสนแรงแมเหล็กที่
เกิดขึ้นจะดูดใหพลังเยอรที่อยูตรงกลางยกขึ้น เข็มหัวฉีดที่ติดกับพลังเยอรก็จะยกตัวขึ้นจากบาของเข็มหัวฉีดทําใหน้ํามันที่มี
แรงดันประมาณ 294 Kpa ถูกฉีดออกมาจากหัวฉีดในลักษณะเปนฝอยละออง สําหรับปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาจะมาก
หรือนอยขึ้นอยูกับระยะเวลาในการเปดของหัวฉีด ถาหัวฉีดเปดนานปริมาณน้ํามันที่ฉีดออกมาก็จะมาก
สําหรับหัวฉีดรุนนี้ (KN7) เปนหัวฉีดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาสําหรับใชในรถรุน KPHX นี้โดยเฉพาะ มีขนาดเล็ก
กระทัดรัดเสียงเบา

http://www.motorcycle.in.th
21

ตัวควบคุมแรงดัน ( Pressure Regulator )

ติดตั้งอยูกับปมน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามัน มีหนาที่ในการรักษาแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงในระบบใหคงที่294 Kpa


ตลอดเวลา โดยการระบายแรงดันน้ํามันสวนเกินกลับลงไปในถังน้ํามันเชื้อเพลิงตามเดิม

ไปทอสงจายน้ํามัน ไปทอสงจายน้ํามัน

ตัวควบคุมแรงดัน ตัวควบคุมแรงดัน

กลับลงถังน้ํามัน

แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงปกติ แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิงสูงกวาปกติ

ตัวควบคุมแรงดัน

กลับลงถังน้ํามัน

2.ระบบประจุอากาศ
ทําหนาที่ประจุอากาศใหกับเครื่องยนตประกอบดวย กรองอากาศ เรือนลิ้นเรงและทอไอดี
กรองอากาศ ( Air Cleaner )
ทําหนาที่กรองสิ่งสกปรกออกจากอากาศที่จะบรรจุเขากระบอกสูบกรองอากาศจะตองมีการตรวจเช็คทําความ
สะอาดอยูเสมอ และควรเปลี่ยนเมื่อถึงระยะเวลาที่กําหนด เพื่อประสิทธิภาพของเครื่องยนต เพราะหากกรองอากาศอุดตัน
จะเปนสาเหตุใหเครื่องยนตสตารทติดยาก เดินเบาไมเรียบ หรืออาจจะสตารทไมติด และจะสงผลตอการทํางานของระบบ
อีกดวย

http://www.motorcycle.in.th
22

เรือนลิ้นเรง ( THROTTLE BODY )

เรือนลิ้นเรง

ชุดเซนเซอร
สกรูปรับรอบเดินเบา

ที่ตัวเรือนลิ้นเรงจะประกอบไปดวยอุปกรณที่สําคัญหลายชิ้น คือ

ลิ้นเรง ( Throttle Valve )


สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw )
ชองทางอากาศรอบเดินเบา ( Idle Air Passage )
ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ( Throttle Position Sensor : TPS )
ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ ( Intake Air Temperature Sensor : IAT )
ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ( Manifold Absolute Pressure Sensor : MAP )

http://www.motorcycle.in.th
23

ลิ้นเรง ( Throttle Valve )

มีหนาที่ควบคุมปริมาณอากาศที่ไหลเขากระบอกสูบซึ่งเปนการควบคุมความเร็วรอบของเครื่องยนต

สกรูปรับรอบเดินเบา ( Throttle Stop Screw )


สกรูปรับรอบเดินเบาจะทําหนาที่เปดชองทางใหอากาศไหลเขากระบอกสูบไดโดยไมผานลิ้นเรงเนื่องจากขณะ
เครื่องยนตเดินเบาลิ้นเรงปดดังนั้นจึงตองมีชองทาง Bypass ใหอากาศผานเขากระบอกสูบ เพื่อใหเครื่องยนตเดินเบาอยู
ไดโดยไมดับ ถาปรับสกรูใหอากาศไหลผานไดมากจะทําใหความเร็วรอบเดินเบาสูงขึ้น

สกรูปรับรอบ
เดินเบา
ชองทางอากาศเดินเบา
Slow Line

Main Line

หัวฉีด

ลิ้นเรง

สกรูปรับรอบเดินเบา

ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ

ตัวตรวจจับความดันในทอไอดี ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง

http://www.motorcycle.in.th
24

ECM : Engine Control Module

กลองควบคุม (ECM) ถือไดวาเปนสมองกลของระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงแบบ PGM-FI เปน


ไมโครคอมพิวเตอรที่ประกอบขึ้นมาจากอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส มีหนาที่รับสัญญาณตางๆ จากตัวตรวจจับสัญญาณ
แลวนําไปประมวลผลเพื่อสั่งจายน้ํามันเชื้อเพลิงและกําหนดจังหวะในการจุดระเบิดใหมีความเหมาะสมในทุกสภาวะการ
ทํางานของเครื่องยนตเพื่อการเผาไหมที่สมบูรณ

โดยกลอง ECM จะแยกติดตั้งอยูบริเวณบังโคลนหลังดานซายของตัวรถ เพื่อปองกันปญหาเรื่องความรอนที่


ออกจากเครื่องยนต เรื่องน้ําที่กระเด็นเขาทางดานหนา และใหงายตอการบํารุงรักษาหรือถอดเปลี่ยน

การตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง

กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงของหัวฉีด ในบางสภาวะการทํางานของเครื่องยนต เพื่อความ


ประหยัดและเปนการปองกันการสึกหรอของเครื่องยนต คือ
1. ขณะลดความเร็วรอบของเครื่องยนตอยางทันทีทันใด
เชนขณะทําการเบรกหรือขับรถลงจากที่สูงซึ่งเปนภาวะที่เครื่องยนตไมตองการน้ํามันเชื้อเพลิงกลองECM จะทํา
การตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด โดยกลอง ECM จะไดรับสัญญาณจากตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรงเปนตําแหนงเดินเบา
และสัญญาณความเร็วรอบเครื่องยนต มาเปรียบเทียบกัน ถาลิ้นเรงอยูในตําแหนงเดินเบาแตเครื่องยนตมีความเร็วรอบสูง
กลอง ECM จะตัดการฉีดน้ํามันของหัวฉีด สวนความเร็วรอบในการตัดจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิของน้ํามันหลอลื่นที่สงมา
จากตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันหลอลื่นโดยมีเงื่อนไขดังนี้

ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องต่ํา ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะสูง
ถาอุณหภูมิของน้ํามันเครื่องสูง ความเร็วรอบในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะต่ําลง

ในการตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงจะเปนการตัดเพียงชั่วขณะเทานั้น หลังจากความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงถึง
คาที่กําหนดกลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีด ฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อไมใหเครื่องยนตดับ

http://www.motorcycle.in.th
25

2.เมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนด
กลอง ECM จะทําการเปรียบเทียบความเร็วรอบของเครื่องยนตที่สงมาจากตัวตรวจจับความเร็วรอบของ
เครื่องยนตกับความเร็วสูงสุดที่ถูกกําหนดไวในหนวยความจํา หากพบวาความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงเกินคาที่กําหนดไว
กลอง ECM จะตัดการฉีดของน้ํามันของหัวฉีด เพื่อเปนการปองกันเครื่องยนตเสียหายจากการที่ความเร็วรอบสูงเกินไป
และเมื่อความเร็วรอบลดต่ําลงกวาคาที่กําหนด กลอง ECM จะสั่งใหหัวฉีดฉีดน้ํามันตามปกติเพื่อใหเครื่องยนตทํางาน
ตอไปได

ระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง

เปนระบบที่ติดตั้งเขามาเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกกับนายชาง โดยที่ระบบนี้จะคอยตรวจสอบการทํางานของ
เซนเซอรอยูตลอดเวลาถาเมื่อใดระบบตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นกับเซนเซอร ระบบก็จะแสดงผลออกมาทางหลอดไฟ
FI ซึ่งติดตั้งอยูที่หนาปทมเรือนไมล โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI

ใชรูปกับคูมือ
ซอม

รหัสขอขัดของ

เมื่อเปดสวิทชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง " ON " หลอดไฟจะติดขึ้นมา 2 วินาทีแลวดับลง ถาระบบวินิจฉัย


ขอขัดของดวยตัวเอง ตรวจพบความผิดปกติของอุปกรณ หลอดไฟ " FI " จะกะพริบเปนรหัสเพื่อแจงปญหาใหทราบ โดย
หลอดไฟจะกะพริบเมื่อสวิทชอยูในตําแหนง " ON " และเครื่องยนตมีความเร็วรอบไมเกิน 2000 รอบตอนาที ถา
ความเร็วรอบของเครื่องยนตสูงกวานี้ หลอดไฟจะติดตลอดและจะกะพริบอีกครั้งเมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนตลดลงต่ํา
กวา 2000 รอบตอนาที
ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปญหาที่เกิดจากการเปดของวงจรหรือปญหาที่เกิดจากการรัดวงจรเทานั้น
ขอมูลความผิดปกติที่เกิดขึ้นจะถูกบันทึกไวในกลอง ECM ตลอดไปจนกวาจะมีการแกไขปญหาลบขอมูลโดยการตัด
ไฟเลี้ยงกลอง ECM โดยการปดสวิทชจุดระเบิด

http://www.motorcycle.in.th
26

รหัสวินิจฉัยขอขัดของที่ใชในรถรุน KPHX จะมีอยู 2 แบบคือ แบบรหัสเดี่ยว และแบบรหัสคู


แบบรหัสเดี่ยว
เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 1 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่
เทากันเชนรหัส 3 ก็จะกะพริบ 3 ครั้ง รหัส 7 ก็จะกะพริบ 7 ครั้ง

วินาที วินาที

แบบรหัสคู วินาที

เปนการแสดงรหัสขอขัดของ 2 รหัส โดยการกะพริบของหลอดไฟ FI ตามจํานวนครั้งของรหัสดวยความถี่ที่


แตกตางกันเชนรหัส 11 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 1 ครั้ง รหัส 12 ก็จะกะพริบยาว 1 ครั้ง สั้น 2 ครั้ง

วินาที

วินาที

http://www.motorcycle.in.th
27

ตารางการวินจิ ฉัยขอขัดของดวยตัวเอง

จํานวนครั้งการกะพริบของหลอดไฟ FI จะแสดงออกมาเปนรหัสของปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบ

รหัสปญหา จุดที่เกิดปญหา สาเหตุ อาการปญหา


ไมกะพริบ ขดลวดพัลซเซอร ไมมีสัญญาณไฟจาก เครื่องยนตสตารทไมติด
ขดลวดพัลซเซอร
ไมกะพริบ หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง 1.กรองเชื้อเพลิงอุดตัน เครื่องยนตสตารทไมติด
2.เข็มหัวฉีดติดตาย
ไมกะพริบ ECM ECM ผิดปกติ เครื่องยนตสตารทไมติด
ไมกะพริบ ระบบไฟเลี้ยงหรือกราวด 1.ฟวส 15A ขาด เครื่องยนตสตารทไมติด
ของ ECM 2.วงจรเปดที่สายไฟเลี้ยง
กลอง ECM
3.สวิทชจุดระเบิดเสีย
ไมกะพริบ วงจรหลอดไฟ “FI” 1.ECM ผิดปกติ เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
2.มีการขาดหรือรัดวงจร
ของระบบไฟ “FI”
ติดตอเนื่อง ขั้วตรวจสอบหรือวงจร 1.มีการรัดวงจรที่ขั้ว เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
ตรวจสอบ
2.มีการรัดวงจรของสาย
ขั้วตรวจสอบMIL
3.ECM ผิดปกติ
รหัส 1,8,9 เซนเซอรที่เรือนลิ้นเรง 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตติดไดแตเรงแลวดับ
หลวมหรือไมดี
2.สายไฟของวงจรขาด
หรือรัดวงจร
3.ตัวตรวจจับเสีย
รหัส 1 ตัวตรวจจับความดันในทอ ตัวตรวจจับความดันใน เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
ไอดี ทอไอดีเสีย
รหัส 7 ตัวตรวจจับอุณหภูมิ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตสตารทติดยากที่
น้ํามันเครื่อง หลวมหรือไมดี อุณหภูมิต่ํา
2.สายไฟของวงจรขาด
หรือรัดวงจร
3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ
น้ํามันเครื่องเสีย

http://www.motorcycle.in.th
28

รหัสปญหา จุดที่เกิดปญหา สาเหตุ อาการปญหา


รหัส 8 ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตมีการตอบสนองไมดี
หลวมหรือไมดี ในขณะบิดคันเรงทันทีทันใด
2.สายไฟของวงจรขาด
หรือรัดวงจร
3.ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้น
เรงเสีย
รหัส 9 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
หลวมหรือไมดี
2.สายไฟของวงจรขาด
หรือรัดวงจร
3.ตัวตรวจจับอุณหภูมิ
อากาศเสีย
รหัส 12 หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง 1.ขั้วตอสายของหัวฉีด เครือ่ งยนตสตารทไมติด
หลวมหรือไมดี
2.สายไฟของวงจรหัวฉีด
ขาดหรือรัดวงจร
3.หัวฉีดเสีย
รหัส 33 EP-ROM ใน ECM ECM ผิดปกติ เครือ่ งยนตทํางานไดเปนปกติ
แตไมสามารถวิเคราะหปญหา
ได
รหัส 54 ตัวตรวจจับการเอียงของรถ 1.ขั้วตอของเซนเซอร เครื่องยนตทํางานไดเปนปกติ
หลวมหรือไมดี
2.สายไฟของวงจรขาด
หรือรัดวงจร
3.ตัวตรวจจับการเอียง
ของรถเสีย

http://www.motorcycle.in.th
29

การเรียกดูรายการปญหาที่เคยเกิดขึ้นในอดีต

ถาตองการเรียกดูความผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นในหนวยความจําใหทําตามขั้นตอน ดังนี้

วิธีการเรียกดูปญหาในหนวยความจํา
ใชรูปกับคูมือซอม
1. ปดสวิทชกุญแจไปที่ตําแหนง “OFF”

2. ถอดฝาครอบดานหนา

3. ถอดฝาครอบขั้วตรวจสอบออก ( DLC )

4. ตอเครื่องมือพิเศษเขากับขั้วตรวจสอบ

5. เปดสวิทชไปที่ตําแหนง “ON”
ถา ECM ไมมีขอมูลในระบบวิเคราะหปญหาหลอด FI จะติดคางตามรูปแบบดังภาพ

รูปแสดงรหัสขอมูลที่ไมมีความผิดปกติ

http://www.motorcycle.in.th
30

ถา ECM มีขอมูลในระบบวิเคราะหปญหาหลอด FI จะกะพริบแสดงรายการปญหาโดยจะแสดงรหัสเดี่ยวกอน


รหัสคูเสมอ โดยเริ่มจากรหัสนอยไปหามากและจะวนมาแสดงปญหาเดิมเมื่อแสดงรายการปญหาครบแลวจะเปนอยางนี้
จนกวาจะปดสวิทชจุดระเบิดดังตัวอยาง

รูปแสดงรหัสขอมูลที่มีความผิดปกติ

ขั้นตอนการลบขอมูลในหนวยความจําของระบบวินิจฉัยขอขัดของดวยตัวเอง

1. ปดสวิทชกุญแจไปที่ตําแหนง “OFF” ใชรูปกับคูมือซอม

2. ถอดฝาครอบดานหนา

3. ถอดฝาครอบขั้วตรวจสอบออก ( DLC )

4. ตอเครื่องมือพิเศษเขากับขั้วตรวจสอบ

5. เปดสวิทชไปที่ตําแหนง “ON”
6. ถอดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้วตรวจสอบ
7. ตอเครื่องมือพิเศษเขากับขั้วตรวจสอบอีกครั้งภายใน 5 วินาที ถาหลอดไฟ FI ดับ และเริ่มกระพริบ แสดงวา
ขอมูลในหนวยความจําของระบบวิเคราะหปญหาดวยตัวเองถูกลบสําเร็จ ถาปดสวิทชแลวเปดใหมอีกครั้งหลอดไฟ FI
จะตองติดตลอด

http://www.motorcycle.in.th
31

ใชรูปกับคูมือซอม

รูปแบบของการลบขอมูลที่ประสบความสําเร็จ

ถาตอขั้วตรวจสอบไมทันภายใน 5 วินาที แลวหลอดไฟ FI ดับ และติดขึ้นมาใหมโดยไมกะพริบ แสดงวาการ


ลบขอมูลไมสําเร็จ
ใชรูปกับคูมือซอม

รูปแบบของการลบขอมูลที่ไมประสบความสําเร็จ

ถาปดสวิทชแลวเปดใหมหลอดไฟ “FI” จะกะพริบตามรหัสปญหาที่เกิดขึ้น ใหยอนกลับไปเริ่มตนใหมที่


ขั้นตอนที่ 4

http://www.motorcycle.in.th
32

ขั้นตอนการ ปรับตั้งตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ใชรูปกับคูมือซอม

1. ปดสวิทชไปที่ตําแหนง “OFF”

2. ถอดฝาครอบของขั้วตรวจสอบออก

3. ตอเครื่องมือพิเศษเขากับขัวตรวจสอบ

4. ถอดขั้วตอของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง
แลวชอตขั้วสายไฟดังรูป

ตําแหนง : สายสีเหลือง/น้ําเงิน กับ สายสีเขียว/สม

5. เปดสวิทซจุดระเบิดไปที่ตําแหนง “ON”

ยกเลิกการชอตขั้วสายดังกลาวภายในระยะเวลา 10 วินาที
ถาการปรับตั้งสําเร็จการกะพริบของหลอดไฟจะมีรูปแบบดังภาพ

ใชรูปกับคูมือซอม

รูปแบบของการปรับตั้งที่ประสบความสําเร็จ

http://www.motorcycle.in.th
33

ถายกเลิกการชอตสายดังกลาวไมทันในเวลา 10 วินาทีหลอดไฟจะติดตลอดดังภาพดานลาง แสดงวาการปรับตั้ง


ไมสําเร็จ
ใชรูปกับคูมือซอม

รูปแบบการปรับตั้งที่ไมประสบความสําเร็จ

ถาการปรับตั้งไมสําเร็จใหกลับไปเริ่มตนใหมที่ขั้นตอนที่ 4 ใชรูปกับคูมือซอม

ถาการปรับตั้งสําเร็จใหทําขั้นตอนตอไป

6. ปดสวิทชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง "OFF"

7. ตอขั้วตอเขากับตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเครื่อง

8. ถอดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้วตรวจสอบ

9. ประกอบฝาครอบขั้วตรวจสอบกลับคืน

10. ตั้งรถดวยขาตั้งกลางเขาเกียรวาง
อุนเครื่องยนตเปนเวลา 10 นาที
ตรวจสอบความเร็วรอบเดินเบา
มาตรฐาน : 1,4000 + 100 รอบตอนาที

http://www.motorcycle.in.th
34

การถอดทอน้ํามันแรงดันสูง

ขั้นตอน
1. ลดแรงดันน้ํามันในระบบโดยการถอดปลั๊กไฟที่เขาปมน้ํามันเชื้อเพลิงออกแลวสตารทเครื่องยนตรอจน
เครื่องยนตดับไปเอง

2. ปลดยางรองขอตอทอน้ํามันโดยการดึงใหหลุดออกจากขอตอดังภาพ

ยางรองทอน้ํามัน

3. ปลดลอกขอตอทอน้ํามันโดยการกดที่ปุมปลดลอกจนเขี้ยวลอกหุบเขาไปแลวดึงขอตอออกตามทิศทางของหัว
ลูกศร

ปุมปลดลอก
กด

กด

เขี้ยวลอก

http://www.motorcycle.in.th
35

4. ใชถุงพลาสติกหุมที่ขอตอทั้งสองดานเพื่อปองกันสิ่งสกปรกเขาไป

หมายเหตุ กอนทําการถอดทอน้ํามันใหทําการลดแรงดันน้ํามันในระบบกอนทุกครั้ง

ขั้นตอนการประกอบทอน้ํามัน

1. ใสตัวลอกเขาไปในขอตอโดยใหเขี้ยวลอกอยูตรงกับชองลอกที่ขอตอดังภาพ

ขอตอ

เขี้ยวลอก

ชองลอก
ปุมปลดลอก

http://www.motorcycle.in.th
36

3. จัดยางรองขอตอทอน้ํามันใหเขาที่แลวเสียบขอตอเขากับทอน้ํามันที่ตัวปมน้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปให
สุด จนไดยินเสียงดัง “คลิ๊ก” ตามภาพ

ทอน้ํามันเชื้อเพลิงที่ปมน้ํามัน

ยางรองขอตอทอน้ํามัน

ขอตอทอน้ํามัน

4. ทดสอบความแนนโดยการดึงเขาออกตามภาพ

การประกอบทอน้ํามันดานหัวฉีด

1. ใสตัวลอกเขาไปในขอตอโดยใหเขี้ยวลอกอยูตรงกับชองลอกที่ขอตอดังภาพ

ขอตอ

เขี้ยวลอก

ชองลอก
ปุมปลดลอก

http://www.motorcycle.in.th
37

2. จัดยางรองขอตอทอน้ํามันเขาที่แลวเสียบขั้อตอเขาไปโดยใหปุมปลดลอกที่ขอตอตรงกับปุมลอกที่ยางรองขอ
ตอใหสุด จนไดยินเสียงดัง “คลิ๊ก”ตามภาพ

ปุมลอก

ยางรองขอตอทอน้ํามัน
ขอตอทอน้ํามัน

ปญหาขอขัดของ

เครื่องยนตสตารทไมติดหรือติดยาก สาเหตุที่เปนไปได

1.ตรวจสอบระบบไฟชารจ
ปกติ ผิดปกติ 1.แบตเตอรี่บกพรอง
2.ระบบไฟชารจบกพรอง

2.ตรวจสอบระบบ PGM-FI
ปกติ ผิดปกติ
1.กลอง ECM บกพรอง

3.ตรวจสอบเสียงการทํางานของ 1.ขั้วตอปมน้ํามันเชื้อเพลิงหลวม
ปมน้ํามันเชื้อเพลิง หรือหลุด
ไมไดยินเสียง
ไดยินเสียง 2.สายไฟปมน้ํามันเชื้อเพลิง
ลัดวงจรขาดหรือลัดวงจร
3.ปมน้ํามันเชื้อเพลิงบกพรอง
4.ตรวจสอบแรงดันและอัตราการ
ไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง ผิดปกติ
ปกติ 1.ปมน้ํามันเชื้อเพลิงบกพรอง
2.กลอง ECM บกพรอง

http://www.motorcycle.in.th
38

5.ทดสอบประกายไฟที่หัวเทียน 1.หัวเทียนบกพรอง
ประกายไฟดี 2.หัวเทียนสกปรก
ไฟออนหรือไมมีประกายไฟ
3.สายหัวเทียนขาดหรือลัดวงจร
4.ขดลวดพัลซเซอรบกพรอง
5.สายไฟระบบจุดระเบิดหลวม
หรือหลุด
6.ทดสอบกําลังอัดในกระบอก 1.วาลวเปดคาง
สูบ กําลังอัดต่ํา 2.เสื้อสูบและแหวนลูกสูบสึกหรอ
กําลังอัดปกติ 3.ปะเก็นฝาสูบเสียหาย
4.จังหวะเปด-ปดวาลวผิด

7.สตารทเครื่องยนตตามปกติ 1.ทอไอดีรั่ว
เครื่องยนตไมติด เครื่องยนตติดแตดับ 2.จังหวะจุดระเบิดผิด(ขดลวด
พัลซเซอรผิดปกติ)
3.น้ํามันสกปรก

8.ถอดหัวเทียนและตรวจสอบ หัวเทียนเปยก 1.ไสกรองอากาศอุดตัน


2.กลอง CEM บกพรอง
หัวเทียนแหง 1.หัวฉีดบกพรอง

http://www.motorcycle.in.th
39

เครื่องยนตไมมีกําลัง สาเหตุที่เปนไปได

1.ใหพนพื้นแลวยกลอขึ้นแลวใช
มือหมุน หมุนไมคลอง
ลอหมุนไดอยางอิสระ 1.เบรกติด
2.ลูกปนลอสึกหรอหรือเสีย

2.ตรวจแรงดันลมยาง
ปกติ ลมยางออน 1.จุดลมยางเสีย
2.ยางรั่ว

3.เรงเครื่องทันทีจากเกียรต่ําไป 1.คลัทชลื่น
เกียร 2 ความเร็วไมเปลี่ยน 2.แผนผาคลัทช/แผนเหล็กคลัทช
ความเร็วลดลงเมื่อเปลี่ยนเกียร เมื่อเปลี่ยนเกียร สึกหรอ
3.แผนผาคลัทช/แผนเหล็กคลัทช
โกงงอ
4.สปริงคลัทชออน
5.น้ํามันเครื่องสกปรก
4.คอยๆเรงเครื่องยนต 1.ไสกรองอากาศสกปรก
ความเร็วเพิ่มขึ้น 2.น้ํามันเชื้อเพลิงไหลลงไมทัน
ความเร็วไมเพิ่มขึ้น
3.ทอไอเสียอุดตัน
4.ทอระบายถังน้ํามันเชื้อเพลิงถูก
กดทับ
5.ตรวจสอบจังหวะจุดระเบิด 1.กลอง ECM บกพรอง
ถูกตอง ไมถูกตอง 2.ขดลวดพัลซเซอรบกพรอง

6.ทดสอบกําลังอัดภายใน 1.วาลวเปดคาง
กระบอกสูบ ไมถูกตอง 2.เสื้อสูบและแหวนลูกสูบสึกหรอ
ปกติ 3.ปะเก็นฝาสูบรั่ว
4.จังหวะเปดปดวาลวผิด

http://www.motorcycle.in.th
40

7.ตรวจสอบแรงดันและอัตราการ
ไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง
ปกติ 1.ปมน้ํามันเชื้อเพลิงบกพรอง
ปกติ
2.กลอง ECM บกพรอง

8. ถอดหัวเทียน
หัวเทียนสะอาดหรือไมเปลี่ยนสี หัวเทียนสกปรกหรือเปลี่ยนสี
1.หัวเทียนบกพรอง

9.ตรวจเช็คระดับน้ํามันและ 1. น้ํามันเชื้อเพลิงมากเกินไป
สภาพของน้ํามัน ไมถูกตอง 2. น้ํามันเชื้อเพลิงนอยเกินไป
ถูกตอง 3. น้ํามันเชื้อเพลิงสกปรก

10.ถอดฝาครอบฝาสูบและเช็ค
การหลอลื่น กลไกวาลวไดรับการ
กลไกวาลวไดรับการหลอลื่น หลอลื่นไมสมบูรณ 1. ทางเดินน้ํามันอุดตัน
สมบูรณ 2. รูน้ํามันอุดคัน

11.เช็คความรอนเครื่องยนต 1.มีเขมาในหองเผาไหมมากเกินไป
ไมรอน รอนมากไป 2.ใชน้ํามันที่มีคุณภาพต่ํา
3.ใชน้ํามันผิดประเภท
4.คลัตชลื่น
12.เรงเครื่องยนตทันทีหรือวิ่งที่ 1.ลูกสูบและเสื้อสูบสึกหรอ
ความเร็วสูง 2.ใชน้ํามันผิดประเภท
เครื่องยนตนอก
3.มีเขมาในหองเผาไหมมากเกินไป
4.จุดระเบิดลวงหนา (กลอง ECM
เครื่องยนตไมน็อก บกพรอง )
5.สวนผสมน้ํามันกับอากาศบางเกินไป
( หัวฉีดบกพรอง )

http://www.motorcycle.in.th
41

เครื่องยนตไมมีกําลังที่ความเร็วต่ําและรอบเดินเบา สาเหตุที่เปนไปได

1.ตรวจสอบจังหวะจุดระเบิด 1.จังหวะจุดระเบิดไมถูกตอง
ถูกตอง ไมถูกตอง 2.(ขดลวดพัลซเซอรบกพรอง)

2.ตรวจสอบแรงดันและอัตราการ 1.ปมน้ํามันเชื้อเพลิงบกพรอง
ไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง ผิดปกติ 2.กลอง ECM บกพรอง
ปกติ

3.ตรวจสอบการรั่วของทอไอดี 1.โบลทยึดหรือเข็มขัดรัดทอไอดี
ไมรั่ว รั่ว หลวม
2.ทอไอดีเสียหาย

4.ทดสอบหัวเทียน 1.หัวเทียนบกพรอง
2.หัวเทียนมีเขมาหรือเปยก
ดี ออนหรือมี 3.กลอง ECM บกพรอง
เปนชวง ๆ 4.คอยลจุดระเบิดบกพรอง
5.สายหัวเทียนลัดวงจรหรือขาด
6.ขดลวดพัลซเซอรบกพรอง
7.สวิตซจุดระเบิดบกพรอง
8.สายไฟระบบจุดระเบิดหลวม
หรือหลุด
9.หัวฉีดบกพรอง

http://www.motorcycle.in.th
42

เครื่องยนตไมมีกําลังที่ความเร็วสูง สาเหตุที่เปนไปได

1.ตรวจสอบจังหวะจุดระเบิด
ถูกตอง ไมถูกตอง
1.กลอง ECM บกพรอง

2.ตรวจสอบแรงดันและอัตรา
การไหลของน้ํามันเชื้อเพลิง ผิดปกติ 1.ปมน้ํามันเชื้อเพลิงบกพรอง
ปกติ 2.กลอง ECM บกพรอง

3.ตรวจสอบจังหวะเปดปดวาลว
ถูกตอง ไมถูกตอง
1.ประกอบเพลาลูกเบี้ยวไมถูกตอง

4.ตรวจสอบสปริงวาลว
1.สปริงวาลวบกพรอง
สปริงออน
สปริงไมออน
2.หัวฉีดบกพรอง

http://www.motorcycle.in.th
43

วงจรสตารท

R R/W

B/L Y/R

B/L
Bat1 V01

Y/R
Bat2 V02

R/L ECM MOTOR

15 A
G1

R
G1

G1

http://www.motorcycle.in.th
44

วงจรควบคุมหัวฉีด

ECM
B/L
Bat1 V01

Bat2 V02

15 A

G1

วงจรจุดระเบิด

B/L
Bat1 V01 ECM

Bat2 V02

15 A

G1

http://www.motorcycle.in.th
45

วงจรควบคุมปมน้ํามันเชื้อเพลิง

B/L ECM
Bat1 V01

Bat2 V02

15 A

G1

วงจรไฟเลี้ยงเรือนไมล

B/L
Bat1 V01 ECM

Bat2 V02

15 A SP METER
G1

G1

http://www.motorcycle.in.th
46

ระบบไฟสัญญาณ

B/L
Bat1 V01 ECM

10A
Bat2 V02

15A

G1

http://www.motorcycle.in.th
47

ระบบไฟแสงสวาง

ECM

B/L
Bat1 V01

Bat2 V02

15 A

G1

http://www.motorcycle.in.th
48

วงจรไฟฟา (ใหใชไฟลรูปจากแผน Shop Manual KPHX)


NF125C

http://www.motorcycle.in.th
49

วงจรไฟฟา (ใหใชไฟลรูปจากแผน Shop Manual KPHX)

http://www.motorcycle.in.th

You might also like