You are on page 1of 25

"เจดีย"์ บุญเขตอ ันเยีย

่ ม (ตอน มิตท ี รเกล้า


ิ างสถาปัตยกรรม)-น้อมเศย

รวบรวมและเรียบเรียงโดย : น ้อมเศียรเกล ้า
ขอบพระคุณข้อมูล/ภาพประกอบจาก:

1.ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


2.//krookong.net
3.@Single Mind for Peace
4.น ้อม360
5.ภาพประกอบอืน ่ ๆจากอินเตอร์เน็ ต

“เจดีย ์ ถือเป็ นปูชนียสถานหรือวัตถุเพือ ่ ระลึกถึงพระพุทธเจ ้าหรืออาจจะหมายถึงตัวแทนของพระพุทธองค์


มีความมุง่ หมายให ้เป็ นทีบ
่ รรจุพระบรมสารีรก ิ ธาตุหรือบรรจุพระบรมธาตุ เจดียจ ์ งึ เป็ นประธานในวัด ต ้นกาเนิดของเจดียม ์ าจากอิ
นเดียเรียกว่า “สถูป” ในภาษาบาลี หรือ “ถูป” ในภาษาสันสกฤต แต่เดิมก่อนมีพระพุทธศาสนาเป็ นทีฝ ่ ั งอัฐ ิ
ในล ้านนาเรียกเจดียว์ า่ กู่ เช่น กูเ่ ต ้า กูก
่ ดุ ต่างจากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมเรียกเจดียว์ า่ ธาตุ เช่น พระธาตุพนม
ในทางพุทธศาสนาแบ่งเจดียอ ์ อกเป็ น 4 ประเภท คือ ธาตุเจดีย ์ ธรรมเจดีย ์ อุเทสิกเจดีย ์ และบริโภคเจดีย ์
ต่อมาสามัญชนหรือบุคคลชัน ้ ปกครองได ้นิยมนาอัฐเิ จดียข ์ องผู ้มีเกียรติสงู บรรจุไว ้ในเจดียด์ ้วยแต่ตา่ งวัตถุประสงค์กน
ั ”

(โชติ กัลยาณมิตร, 2539:94 – 97)

"สถาปั ตยกรรมทีเ่ รียกว่าเจดียน


์ ัน
้ ไทยเราเรียกรวมถึงสถาปั ตยกรรมในรูปอืน ่ ทีส
่ ร ้างขึน
้ เพือ
่ ความมุง่ หมายอย่างเดียวกันด ้วยดังเช่
นพระปรางค์ ในงานวิทยานิพนธ์เรือ ่ งThe Origin and Developement of Stupa Architecture in Indiaโดย Sushila
Pant พิมพ์เมือ่ ค.ศ. 1976 กล่าวว่า “สิง่ ทีไ่ ทยนิยมเรียกว่าเจดียน
์ ัน
้ มิได ้เรียกเหมือนกันไปหมดทุกภาค”
ในสถาปั ตยกรรมแบบล ้านนานั น ้ ชาวภาคเหนือเรียกว่า “กู”่ แทนคาเรียกว่าเจดีย ์ เช่นกูเ่ ต ้า กูก ่ ฏ
ุ ิ ฯลฯ
แต่ถ ้าเป็ นสถาปั ตยกรรมแบบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยแล ้วชาวภาคอีสาน นิยมเรียกว่า “ธาตุ” เช่น ธาตุพนม
ธาตุบวั บก ฯล"
ล ักษณะและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม

พระเจดียใ์ นประเทศไทย จากหลักฐานทีป ่ รากฏทีม


่ อ
ี ายุเก่าแก่ทส
ี่ ด
ุ เท่าทีพ
่ บได ้ในปั จจุบน
ั คือสมัย ทวารวดี (พุทธศตวรรษที่

๑๑-๑๘) ซึงส่วนใหญ่พังทลายเหลือแต่แนวฐาน จึงต ้องสันนิษฐานรูปแบบจากพระสถูปจาลองขนาดเล็ก
หรือจากภาพปูนปั น้ เหนือผนั งถ้าบางแห่งหรือจากภาพสลักบนใบเสมาสมัยเดียวกัน ทาให ้พอเห็นได ้ว่ามีองค์ประกอบสาคัญ ๔
อย่าง คือ ฐาน องค์ระฆัง บัลลังก์ และยอด
ภาพสถาปั ตยกรรมของเจดียใ์ นยุคสมัยต่างๆ

รูปทรง

รูปทรงของเจดียอ
์ าจแบ่งออกเป็ นประเภทต่างๆดังนี้

เจดียท
์ รงระฆัง :

เจดียท
์ ม
ี่ อ ่ ว่ นล่างเหนือองค์ระฆังเป็ นส่วนยอดมีบล
ี งค์ระฆังเป็ นลักษณะเด่นโดยมีฐานรองรับอยูส ู สีเ่ หลีย
ั ลังก์รป ่ ม,ปล ้องไฉนและ
ปลีทรงกรวยแหลม

เจดียท
์ รงปราสาท :

ปราสาทหมายถึงเรือนทีซ ่ ้อนหลายชัน
้ หรือมีหลังคาลาดหลายชัน
้ ซ ้อนกันเจดียท
์ รงปราสาทในประเทศไทยมีทงั ้ ลักษณะเรือนธา
ตุซ ้อนชั ้
นหรือหลังคาซ ้อนชั ้

เจดียท
์ รงปรางค์ :

เป็ นเจดียท
์ ม ี รงคล ้ายดอกข ้าวโพดประกอบด ้วยส่วนฐานรองรับเรือนธาตุสว่ นยอดเป็ นชัน
ี่ ท ้ ซ ้อนลดหลัน ้ ไปซึง่ คลีค
่ กันขึน ่ ลายมา
จากรูปแบบของปราสาทขอมแต่เจดียท ์ รงปรางค์โปร่งเพรียวกว่าปราสาทแบบขอม
เจดียท
์ รงยอดดอกบัวตูม :

เจดียท
์ รงนี้เรียกชือ่ ตามลักษณะของยอดเจดียท ์ ค
ี่ ล ้ายดอกบัวตูมบางองค์ทากลีบบัวประดับตรงดอบัวตูมด ้วยบางครัง้ เรียกว่า
“เจดียท์ รงพุม
่ ข ้าวบิณฑ์” เป็ นความนิยมทีส
่ ร ้างกันมากในสมัยสุโขทัยเป็ นราชธานี

เจดียท
์ รงเครือ
่ ง:
“เจดียท
์ รงเครือ
่ งเป็ นเจดียท
์ ป
ี่ ระดับลาย*เฟื่ องรอบองค์ระฆังเพือ
่ แสดงลักษณะเด่นพิเศษจากเจดียอ
์ งค์อน
ื่

เจดียท
์ รงเครือ
่ งนีม
้ ักสร ้างขึน
้ เป็ นอนุสรณ์แก่ผู ้ทรงเกียรติเช่น ทีว่ ัดราชสิทธาราม (วัดพลับ)
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ 4 ทรงสร ้างถวายเป็ นพระราชอุทศ ิ แด่พระบาทสมเด็จพระนั่ งเกล ้าเจ ้าอยูห
่ ัว
รัชกาลที่ 3 (ด ้านทิศตะวันออก) และสร ้างขึน ้ เป็ นส่วนพระองค์โดยเฉพาะ (ด ้านทิศตะวันตก)

ขยายความลักษณะพิเศษก็คอ ื การประดับองค์ระฆังด ้วยปูนปั น


้ เป็ นลายเฟื่ องนั น

น่าจะสือ่ ความหมายเช่นเดียวกับพระพุทธรูปทรงเครือ ่ ง
ทีม
่ ค ่ กันว่าเป็ นพระพุทธรูปทีม
ี วามเชือ ่ ค
ี วามหมายมาจากความเชือ ่ จักรพรรดิราชาทีม
่ อ
ี ยูท
่ งั ้ ในพุทธศาสนาทัง้ ในมหายานและเถร
วาท

(หนั งสือพจนานุกรม สถาปั ตยกรรมและศิลปเกีย


่ วเนื่อง ของ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์โชติกล
ั ยาณ มิตร)

*ลายเฟื่ องคือลายไทยอย่างหนึง่ ทีม


่ แ
ี รงบันดาลใจมาจากธรรมชาติรอบตัว***

เจดียย
์ อ
่ มุม :
ปรางค์ :
ล ักษณะและรูปทรงของพระปรางค์

พระปรางค์ในประเทศไทยได ้รับอิทธิพลจากศิลปะสถาปั ตยกรรมขอมมีลักษณะจาแนกเป็ น 4 แบบ คือ

1.ทรงศิขร เป็ นปรางค์รป ู แบบดัง้ เดิม สร ้างขึน


้ ตามแบบแผนเดิมของขอมเน ้นคติความเชือ่ ว่าเป็ นการ จาลองภูเขา และ
ั ้ ฟ้ า ตัวอย่างได ้แก่ปราสาทนครวัด ประเทศกัมพูชา ปราสาทหินพนมรุ ้ง บุรรี ัมย์ เป็ นต ้น
สวรรค์ชน

2.ทรงงาเนียม มีลักษณะคล ้ายงาช ้าง ลักษณะใหญ่แต่สน


ั ้ ตอนปลายโค ้งและค่อนข ้างเรียวแหลม
ถือเป็ นประดิษฐกรรมของช่างไทยโดยมีการพัฒนาจากรูปแบบเดิมจนมีลักษณะเฉพาะของตนเองในสมัยอยุธยาตอนต ้นตัวอย่าง
ได ้แก่ ปรางค์เหนือปราสาทพระเทพบิดรวัดพระศรีรัตศาสดารามกรุงเทพฯ พระปรางค์วัดพระศรีมหาธาตุเมืองเชลียงสุโขทัย
เป็ นต ้น

3.ทรงฝั กข ้าวโพด มีลักษณะ ผอมบางและตรงยาวคล ้ายฝั กข ้าวโพดส่วนยอดนัน ้ จะค่อยๆเรียวเล็กลง


ก่อนรวบเป็ นเส ้นโค ้งทีป
่ ลายเป็ นลักษณะเฉพาะของพระปรางค์สมัยต ้นรัตนโกสินทร์ ตัวอย่างเช่น วัดเทพธิดารามกรุงเทพฯ
วัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ เป็ นต ้น

4.ทรงจอมแห มีลักษณะคล ้ายแหทีถ


่ ก
ู ยกขึน
้ ตัวอย่างได ้แก่วัดอรุณราชวรารามธนบุรี

ปรางค์อาจถือเป็ นรูปแบบหนึง่ ของเจดีย ์ เช่นเจดียท


์ รงพุม
่ ข ้าวบิณฑ์ (เจดียย
์ อดทรงดอกบัวตูม)
ของสมัยสุโขทัยเช่นเจดียท
์ รงระฆัง ของสมัยสุโขทัยก็ม ี ของสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือสมัยรัตนโกสินทร์ก็ม ี

เจดียแ
์ บ่งตามประเภทและตาแหน่งทีต
่ งของอาคาร
ั้
(www.phuttha.com)

์ ใี่ ช ้ประกอบในผังเขตพุทธาวาส โดยทั่วไปแยกออกได ้เป็ น 5 ประเภทตามตาแหน่งทีต


พระเจดียท ่ งั ้ และหน ้าที่ คือ

1.เจดียป์ ระธาน หมายถึง พระเจดียท ์ ถ


ี่ ก
ู กาหนดให ้เป็ นอาคารหลักประธานของวัด จึงมักเป็ นพระเจดียท
์ ม
ี่ ข
ี นาดใหญ่สด ุ ในผัง
ส่วนใหญ่ตงั ้ อยู่ ณ บริเวณกึง่ กลางผังหรือบนแนวแกนหลักด ้านหลังพระอุโบสถหรือพระวิหาร ตาแหน่งเจดียป ์ ระธาน เช่น
วัดกุฎด
ี าว อยุธยา, เจดียป ์ ระธาน วัดโสมนั สวิหาร

2.เจดียท
์ ศ
ิ (เจดียป
์ ระจามุม) หมายถึง พระเจดียร์ องสาคัญในผังทีถ
่ ก
ู กาหนดให ้ตัง้ ประกอบในผังทีท
่ ศ
ิ ทัง้ 4 หรือมุมทัง้ 4
ั มงคล
เจดียว์ ัดใหญ่ชย

3. เจดียร์ าย หมายถึง พระเจดียข


์ นาดย่อมทีป่ ระกอบในผังในฐานะพระเจดียร์ อง โดยจะวางอยูเ่ รียงรายรอบอาคารประธาน
เจดียร์ าย วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา, เจดียร์ าย วัดพระเชตุพนฯ กรุงเทพฯ
เจดียร์ ายวัดพระเชตุพนฯ

4. เจดียค
์ ู่ หมายถึง พระเจดียท ์ ท
ี่ าเป็ นคู่ ตัง้ อยูด
่ ้านหน ้าอาคารสาคัญอย่างพระอุโบสถหรือพระวิหาร หรือพระปรางค์ เจดียค
์ ู่
วัดชิโนรส ธนบุรี เจดียค์ ู่ วัดไชยวัฒนาราม อยุธยา

เจดียค
์ วู่ ด
ั พระแก ้วมรกต

5. เจดียห ์ มู่ หมายถึง พระเจดียท


์ ส
ี่ ร ้างเป็ นกลุม
่ หรือหมูใ่ นบริเวณเดียวกัน โดยเน ้นความสาคัญของทัง้ กลุม

ไม่ได ้เน ้นทีอ ่ งค์ใดองค์หนึง่
เจดียห
์ มู1
่ 3องค์วัดอโศการาม

ภาพแสดงองค์ประกอบของเจดีย ์
องค์ประกอบของเจดียโ์ ดยทัว่ ไป ประกอบด ้วยส่วนต่างๆ ดังแสดงในรูปต่อไปนี้
1. ลูกแก ้ว องค์ประกอบส่วนทีต
่ งั ้ อยูบ
่ นปลายยอดสุดของพระเจดียน
์ ย
ิ มทาเป็ นรูปทรงกลมเกลีย
้ ง
บางแห่งทาเป็ นรูปคล ้ายหยดน้ า ซึง่ เรียกว่า “หยดน้ าค ้าง”

2. ปลี องค์ประกอบของยอดพระเจดียส ์ ว่ นทีท


่ าเป็ นรูปกรวยกลมเกลีย
้ งคล ้ายปลีกล ้วยต่อจากส่วนของปล ้องไฉนขึน ้ ไป
บางแห่งยืดปลีให ้ยาวแล ้วคั่นด ้วย “บัวลูกแก ้ว” ตอนกลางทาให ้ปลีถก ู แยกเป็ น 2 ส่วน ซึง่ จะเรียกส่วนล่างว่า “ปลีต ้น”
และส่วนบนว่า “ปลียอด"
3. บัวกลุม
่ ชือ่ เรียกองค์ประกอบชุดหนึง่ ซึง่ ทาเป็ นรูป“บัวโถ” ต่อซ ้อนให ้มีขนาดลดหลัน
่ กันขึน
้ ไปอย่าง“บัวลูกแก ้ว”
สาหรับใช ้เป็ นส่วนของ“ปล ้องไฉน” ในเจดียย ์ อ
่ เหลีย
่ ม
่ เรียกส่วนปลายทีเ่ ป็ นยอดแหลมของพระเจดีย ์ ซึง่ ทาเป็ นบัวลูกแก ้วคั่นเป็ นข ้อๆใหญ่เล็กลดหลัน
4. ปล ้องไฉน ชือ ่ ลงตลอดแท่ง
ตรงเชิงฐานรับด ้วย “บัวถลา” ก่อนวางเทินบน “ก ้านฉั ตร”
5. ก ้านฉั ตร องค์ประกอบทางโครงสร ้างของพระเจดียท
์ ท
ี่ าเป็ นรูปทรงกระบอกกลม ทาหน ้าทีเ่ ทินรับปล ้องไฉนให ้ตัง้ ฉาก
6. เสาหานองค์ประกอบอย่างหนึง่ ทีท ่ ว่ ยเสริม “ก ้านฉั ตร” ในการรับน้ าหนั กของ “ปล ้องไฉน” และ “ปลี”
่ าหน ้าทีช
นิยมทาเป็ นรูปทรงกระบอกกลมหรือแปดเหลีย ่ มขนาดเล็กแต่สงู เท่ากับก ้านฉั ตร วางล ้อมก ้านฉั ตรในตาแหน่งของทิศประจาทัง้
8

7. บัลลังก์ องค์ประกอบสาคัญทีท่ าเป็ นรูป “ฐานปั ทม์” 4 เหลีย ่ ม หรือ4 เหลีย


่ มย่อมุม หรือ กลม หรือ
8เหลีย่ มวางเทินเหนือหลังองค์ระฆัง เพือ
่ ตัง้ รับ “ก ้านฉั ตร” และ “เสาหาน”
8. องค์ระฆัง องค์ประกอบส่วนทีส ่ าคัญทีส
่ ด
ุ ของพระเจดียใ์ นฐานะตัวเรือนของอาคารทีท
่ าเป็ นรูปทรงกลมปากผายคล ้ายระฆังค
วา่ ปากลงในงานสถาปั ตยกรรมไทยองค์ระฆังนีม ้ ท
ี งั ้ แบบทรงกลม ทรง 8 เหลีย
่ ม
และทรง4เหลีย ่ มย่อมุมตามคตินย
ิ มของแต่ละยุคสมัย
ทีแ ่ ตกต่างกัน
้ องค์ประกอบตกแต่งทีท
9. บัวคอเสือ ่ าเป็ นรูปกระจังปั น
้ ทับลงบนส่วนของสันบ่า“องค์ระฆัง”
้ คือ ปูนปั น
*บัวคอเสือ ้ ตกแต่งลวดลาย*
่ เรียกส่วนประกอบทีท
10. บัวปากระฆังชือ ่ าเป็ นรูปบัวควา่ บัวหงายบางแห่งปั น
้ ปูนประดับเป็ นรูปกลีบบัว

่ เรียกองค์ประกอบสาคัญทีเ่ ป็ นลักษณะเฉพาะของเจดียย
11. บัวโถชือ ์ อ
่ เหลีย
่ มทีท
่ าเป็ นรูปบัวมีกลีบขนาดใหญ่ดอกเดียวเทินรับ
องค์ระฆังแทน“บัวปากระฆัง”ในเจดียท์ รงกลมบ ้างเรียกว่า “บัวคลุม
่ ” ก็ม ี
12. มาลัยเถาชือ ่ เรียกองค์ประกอบชุดหนึง่ ทีท ้ ของ “บัว” หรือ “ลูกแก ้ว”คล ้ายพวงมาลัยซ ้อนต่อกันขึน
่ าเป็ นชัน ้ ไป
้ ใต ้บัวปากระฆัง
3 ชัน

ฐาน

่ แต่สาหรับหมุช
ฐานมีหลายชือ ่ า่ งจะเรียกว่าฐานบัว
ซึง่ พัฒนามาจากฐานหน ้ากระดานโดยเพิม
่ องค์ประกอบบัวควา่ และบัวหงายลงไป

่ า่ งยกย่องว่าเป็ นฐานชัน
13.ฐานสิงห์ หรือฐานเท ้าสิงห์เป็ นฐานทีช ้ สูงกว่าฐานอืน
่ ฐานเท ้าสิงห์ ซ ้อนกัน 3 ชัน

ใช ้เป็ นชุดของ“มาลัยเถา” สาหรับเจดียย
์ อ่ เหลีย
่ ม
14. ฐานปั ทม์ เป็ นองค์ประกอบสาคัญทางโครงสร ้างของพระเจดียท ์ ที่ าหน ้าทีร่ ับน้ าหนั กอาคารทัง้ องค์หรือใช ้เสริมองค์พระเจดี
ย์ให ้ดูสงู ขึน
้ เหตุทเี่ รียกว่า “ฐานปั ทม์” เนื่องเพราะโดยทั่วไปฐานชนิดนี้กอ่ รูปด ้วยลักษณะของฐานบัวชุด“บัวควา่ ”และ“บัวหงาย”
(ปั ทม์หมายถึง ดอกบัว)

***การประดับฐานปั ทม์เช่นครุฑ หรือมารทาให ้ส่วนทีป


่ ระดับครุฑต ้องคอดเข ้าจึงมีทเี่ รียกส่วนนี้อก ่ หนึง่ ว่า “เชิงบาตร” หรือ
ี ชือ
“เอวขัน***
ภาพแสดงพระปรางค์วัดอรุณ ทีเ่ ชิงบาตรประดับด ้วยมารแบก กระเบือ
้ งเคลือบสีลายดอกไม ้ ใบไม ้ ฯลฯ

ภาพแบบฐานเชิงบาตรมารแบกโดยรองศาสตราจารย์สมใจ นิม
่ เล็ก

15. ฐานเขียง เป็ นชือ่ เรียกฐานหน ้ากระดานเกลีย ้ ล่างสุดขององค์พระเจดีย ์


้ งๆชัน
ซึง่ แต่ละองค์แต่ละรูปแบบอาจจะมีฐานเขียงได ้ตัง้ แต่1-5 ชัน
้ ซ ้อนลดหลั่นกันขึน
้ ไปแล ้วแต่จะกาหนด
ภาพฐานเขียงภูเขาทอง

You might also like