You are on page 1of 261

การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย

สําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน! ต้น

นางสาวนิศาชล บังคม

วิทยานิพนธ์น!ีเป็ นส่วนหนึ*งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศกึ ษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี การศึกษา 2553
ลิขสิทธิ 7ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
THE DEVELOPMENT OF EAR TRAINING ACTIVITY PLANS BASED ON KODÁLY’S
APPROACH FOR BEGINNER PIANO STUDENTS.

MISS NISACHON BANGKOM

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements


for the Degree of Master of Education Program in Music Education
Department of Art, Music and Dance Education
Faculty of Education
Chulalongkorn University
Academic Year 2010
Copyright of Chulalongkorn University

กิ ตติ กรรมประกาศ
ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย์ ดร. ณรุทธ์ สุทธจิตต์ ทีป รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ทีใ ห้
ความกรุณาถ่ายทอดความรู้ความรู้ดา้ นดนตรีศกึ ษา แนวคิดในการสอนดนตรีแบบโคดาย รวม
ไปถึงการทุ่มเทเวลาในการตรวจวิทยานิพนธ์ จึงทําให้วทิ ยานิพนธ์ฉบับนี/สาํ เร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี
ข้าพเจ้ามีความซาบซึง/ ต่อพระคุณทีอ าจารย์มอบให้ศษิ ย์เสมอมา
ขอขอบพระคุณอาจารย์ดร.ดนีญา อุทยั สุขในการถ่ายทอดความรูใ้ นการวิจยั ในดนตรี
ศึ ก ษา ให้ ข้ า พเจ้ า ได้ มี โ อกาสและประสบการณ์ ด้ า นดนตรี ศึ ก ษา ขอขอบพระคุ ณ
รองศาสตราจารย์อรวรรณ บรรจงศิล ป ทีใ ห้ความช่ว ยเหลือ ให้คํา แนะนํ า ในด้า นดนตรีและ
วิ ท ย านิ พน ธ์ ซึ ง ทํ า ใ ห้ วิ ท ยา นิ พ นธ์ ฉ บั บ นี/ ออ กม าสม บู ร ณ์ ยิ ง ขึ/ น ขอ ขอบ พร ะคุ ณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงษ์ลดา ธรรมพิทกั ษ์กุล ทีใ ห้ความรูใ้ นเรืองกิจกรรมในดนตรีศกึ ษาและ
ขอขอบพระคุ ณ รัง สิพ ัน ธุ์ แข็ง ขัน สํ า หรับ ปรัช ญาดนตรีที ม อบให้ เ ป็ น แนวคิด ในการทํ า
วิทยานิพนธ์ และการเล่นดนตรี
ขอขอบพระคุณครอบครัวของข้าพเจ้าทีใ ห้การสนันสนุ นด้านการศึกษาของข้าพเจ้ามา
โดยตลอด ขอขอบคุณ นางสาวภัทรภร ผลิตากุล อาจารย์ผสู้ อนทักษะเปี ยโนและความรู้ด้าน
ดนตรีแก่ขา้ พเจ้า ตลอดจนให้คาํ แนะนําดี ๆ อยูเ่ สมอ
ขอขอบพระคุณ อาจารย์วิภาวรรณ จําเนียรพัน ธุ์ อาจารย์ดวงกมล บางชวดและ
อาจารย์พรรษวัชร พุธวัฒนะทีสละเวลาในการเป็ นผูท้ รงคุณวุฒใิ นการตรวจสอบเครืองมือการ
วิจยั และสุดท้ายนี/ขอขอบคุณบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ทีม อบทุนอุดหนุ น
วิทยานิพนธ์สาํ หรับนิสติ ให้แก่ผวู้ จิ ยั
สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย………………………………………………………………………… ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ................................................................................................ จ
กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................... ฉ
สารบัญ...................................................................................................................... ช
สารบัญตาราง............................................................................................................. ฌ
สารบัญภาพ............................................................................................................... ญ
บทที%
1 บทนํา............................................................................................................... 1
ความเป็ นมาและความสําคัญของปญั หา............................................................. 1
คําถามการวิจยั ............................................................................................................... 2
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ............................................................................................... 2
สมมุตฐิ านการวิจยั ........................................................................................... 3
ขอบเขตของการวิจยั .................................................................................................... 3
นิยามศัพท์....................................................................................................................... 3
ประโยชน์ทค%ี าดว่าจะได้รบั ............................................................................................ 4
2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ% กีย% วข้อง.......................................................................... 5
ตอนที% 1 การสอนโสตทักษะ.............................................................................. 6
ความหมายการสอนโสตทักษะ............................................................. 6
ความสําคัญของการฝึกโสตทักษะ......................................................... 7
ตอนที% 2 วิธกี ารสอนดนตรีตามแนวคิดโคดาย.................................................... 8
ตอนที% 3 การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ดและโคดาย................................... 11
การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ด.................................................... 11
การสอนโสตทักษะของโคดาย.............................................................. 12
ตอนที% 4 ดนตรีกบั พัฒนาการของเด็ก................................................................ 13
พัฒนาการทัวไปและพั % ฒนาการทางดนตรีของเด็ก................................. 13
พัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรื%องของการฟงั ................................... 16
ตอนที% 5 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................ 17
ความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู.้ .................................... 17
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีท ั %วไป..................................... 18

บทที หน้า
ตอนที% 6 เจตคติ................................................................................................ 20
ความหมายของเจตคติ......................................................................... 20
องค์ประกอบของเจตคติ...................................................................... 21
วิธกี ารวัดผลเจตคติ............................................................................ 22
ตอนที% 7 งานวิจยั ทีเ% กีย% วข้อง............................................................................. 23
ตอนที% 8 กรอบการวิจยั ..................................................................................... 23
3 วิธดี าํ เนินการวิจยั .............................................................................................. 26
4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล........................................................................................ 33
ตอนที% 1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย
สําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชันE ต้น....................................................... 33
ตอนที% 2 ผลสัมฤทธิ Fทางการเรียนในภาพรวม (ด้านการฟงั และความรู)้ และราย
ด้านจากการทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชันE ต้น ก่อนและหลังการ
ทดลอง................................................................................................ 38
5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ.................................................... 51
สรุปผลการวิจยั .................................................................................................. 53
อภิปรายผล........................................................................................................ 55
ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจยั ............................................................................... 59
รายการอ้างอิง............................................................................................................ 61
ภาคผนวก.................................................................................................................. 65
ภาคผนวก ก..................................................................................................... 66
ภาคผนวก ข..................................................................................................... 68
ภาคผนวก ค..................................................................................................... 233
ประวัตผิ เู้ ขียนวิทยานิพนธ์........................................................................................... 251

สารบัญตาราง

ตารางที หน้า
1 พัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรื องของการฟงั ……………………………… 16
2 สรุปกลุ่มตัวอย่าง………………………………………………………………... 28
3 สรุปการใช้เครื องมือวิจยั ในแต่ละสัดาห์......................................................... 31
4 เปรียบเทียบระหว่างแผนการจัดการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย
สําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน6 ต้นและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2…………………………… 37
5 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนในภาพรวม
(ด้านการฟงั และความรู)้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนการทดลอง 39
6 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนในภาพรวม
(ด้านการฟงั และความรู)้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง 40
7 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนด้านการฟงั
ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนการทดลอง………………………… 40
8 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนด้านการฟงั
ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง………………………… 41
9 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนด้านความรู้
ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนการทดลอง………………………… 41
10 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนด้านความรู้
ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง………………………… 42
11 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ Jทางการเรียนด้านเจตคติ
ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง………………………… 42
12 ผลการวิเคราะห์คา่ เฉลีย จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในภาพรวม (ด้านปญั ญา ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ และด้าน
ความรับผิดชอบ) ……………………………………….................................. 43
13 ผลการวิเคราะห์คา่ เฉลีย จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านปญั ญา………………………………………............... 44
14 ผลการวิเคราะห์คา่ เฉลีย จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ …………………………………..... 44
15 ผลการวิเคราะห์คา่ เฉลีย จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านความรับผิดชอบ…………………………………......... 45

สารบัญภาพ

ภาพที หน้า
1 สัญญาณมือประกอบการร้องโน้ต ซอล-ฟา.................................................... 9
2 สัญลักษณ์เป็ นภาพ...................................................................................... 9
3 สัญลักษณ์แทนจังหวะตัวโน้ต....................................................................... 10
4 กรอบแนวคิดในการวิจยั ............................................................................... 25
5 กรอบการดําเนินการวิจยั .............................................................................. 26
6 การเปรียบเทียบค่าเฉลีย ของผลสัมฤทธิ :ทางการเรียนในภาพรวม ด้านการฟงั
ความรูแ้ ละเจตคติ หลังการทดลอง...................................................................... 46
7 การเปรียบเทียบค่าเฉลีย พฤติกรรมการเรียนระหว่างการทดลอง.................... 47
8 การเปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ :ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั และ
ความรู)้ ก่อนและหลังการทดลอง........................................................................ 48
9 การเปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ :ทางการเรียนด้านการฟงั ก่อนและหลัง
การทดลอง......................................................................................................... 49
10 การเปรียบเทียบค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ :ทางการเรียนด้านความรูก้ อ่ นและหลังการ
ทดลอง.............................................................................................................. 50
1

บทที 1
บทนํา
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา
หลักสูตรเปี ยโนฮอลลีโอนาร์ด (Hal Leonard Student Piano Library) เป็ นหลักสูตรทีผ* ่าน
การศึกษาวิจยั และพัฒนามาอย่างสมบรูณ์ และเป็ นทีแ* พร่หลายมากทัง; ในยุโรป และอเมริกา รวมทัง;
ในประเทศไทยซึ*งมีการนํ ามาใช้ในโรงเรียนดนตรีเอกชนต่างๆ เช่นโรงเรียนดนตรีมฟี ้ า โครงการ
ศึกษาดนตรีสําหรับบุคคลทัวไป * วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนดนตรีจนิ ตการ
และในการเรียนการสอนเปี ยโนตามบ้านครูผู้สอน ในการทําวิจยั ครัง; นี;กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียน
เปียโนทีเ* รียนกําลังเรียนแบบเรียนเปียโนชุด Hal Leonard Student Piano Library Book 2
ดนตรี เกิดขึน; จากเสียงที*จดั เรียงอย่างเป็ นระเบียบ และมีแบบแผนโครงสร้าง ซึ*งการรับรู้
เสียงของมนุ ษย์นนั ; จะเริม* เมือ* วัตถุสนสะเทื
ั* อนทําให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื*นเสียงส่งไปยัง
หูซ*งึ เป็ นอวัยวะสําคัญของระบบโสตประสาท ดังนัน; การฝึ กโสตประสาทนับเป็ นหัวใจของการเรียน
ดนตรี เพราะเป็ นเครือ* งมือในการพัฒนาการเป็ นนักดนตรี และผูฟ้ งั ทีด* ใี นอนาคต
การฝึกโสตประสาทมีความสัมพันธ์กบั การเรียนการสอนดนตรี ดังจะพบว่าหลักสูตรทัง; ใน
ประเทศไทยและต่ างประเทศมีว ิชาการฝึ ก โสตประสาทเพราะเป็ นกระบวนการฝึ กความสามารถ
ทางด้านการฟงั เกี*ยวกับองค์ประกอบทางดนตรีในด้านทํานอง ระดับเสียง ลักษณะเสียง ขัน; คู่เสียง
ชนิดและลักษณะคอร์ด เสียงประสาน จังหวะ อัตราจังหวะ และยังช่วยพัฒนาความสามารถในการ
ร้องเพลง และการเขียนโน้ต ทีเ* รียกว่า dictation การฝึ กโสตประสาทจะช่วยพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นผูม้ ี
ความสามารถในด้านการฟงั และมีทกั ษะดนตรีดา้ นอื*นดีขน;ึ (จุฑารัตน์ มณีวลั ย์, 2551; ธวัชชัย นาค
วงษ์, 2543; Karpinski, 2000; Randel, 1996)
โคดาย (1882-1967) นัก ประพันธ์เ พลง นัก ดนตรีว ิทยาและนัก ดนตรีศึกษาชาวฮัง การีม ี
แนวคิดการสอนดนตรีควรเริม* ต้นจากเสียงก่อนสัญลักษณ์เพราะดนตรีเป็ นเรื*องของเสียง สัญลักษณ์
เป็ นเพียงภาษาเพื*อถ่ายทอดเสียง นอกจากเรียนรูเ้ รื*องเสียงแล้วเด็กควรได้เรียนรูเ้ นื;อหาดนตรีท*มี ี
คุณค่าด้วย การเรียนรูด้ นตรีทด*ี ที ส*ี ุดคือการใช้เครื*องมือทีม* มี าแต่กําเนิด ได้แก่ เสียงร้อง (Choksy,
1999 อ้างถึงในพงษ์ลดา นาควิเชียร, 2537) และโคดายกล่าวว่าการพัฒนาการได้ยนิ ภายในเป็ น
ความจําเป็ นสูงสุด นักดนตรีทุกคนควรมีความสามารถในการอ่านโน้ ตดนตรีเป็ นเสียงในความคิด
หรือเปลีย* นเสียงทีเ* กิดขึน; ในความคิดเป็ นโน้ตดนตรีได้อย่างทันทีโดยไม่ต้องพึง* การเล่นเครื*องดนตรี
(ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2537; OAKE, 1987 อ้างถึงใน ธวัชชัย นาควงษ์, 2547) และนี*คอื ความจําเป็ นที*
ต้องฝึกโสตประสาท
2

จากการศึกษางานวิจยั เกี*ยวกับการเรียนการสอนดนตรีผูว้ จิ ยั พบว่า งานวิจยั ส่วนใหญ่เป็ น


การศึกษากระบวนการสอนของครูในหลักสูตรเปียโนของนักเรียนในระดับชัน; ต้น (จุฑารัตน์ มณีวลั ย์
, 2551; พิมลพรรณ เกษมนุ กูลฤกษ์, 2549) การศึกษาผลของการฝึ กโสตประสาททีม* ตี ่อทักษะ
ดนตรีดา้ นอื*น (เอกลักษณ์ เล้าเจริญ, 2544; Musco, 2006; Brown, 1990; Luce, 1965) การนํ า
แนวความคิดของโคดายไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนร้องเพลงของครูและนักเรียน (วิมลรัตน์
วิมลรัตนกุ ล, 2547; Gallo, 2010) การพัฒนาแผนการเรียนรู้ในวิชาดนตรีสากลทัง; ในระดับ
ประถมศึกษา, มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา(เดชาชัย สุจริตจันทร์, 2549; วรวิชย์ จันทร์เพ็ง, 2549;
ธวัชชัย นาควงษ์, 2547; พงษ์ลดา นาควิเชียร, 2537; ณัชชา พันธ์เจริญ, 2535) ซึง* จากงานวิจยั
ต่าง ๆ ที*ศกึ ษามายังไม่พบว่ามีงานวิจยั ใดนํ าแนวคิดโคดายมาจัดทําเป็ นแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูเ้ พื*อพัฒนาทักษะทางด้านการฟงั พัฒนาความรูแ้ ละเจตคติสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน; ต้น
ซึ*งผู้วจิ ยั ได้เล็งเห็นว่าทักษะการฟงั ซึ*งเป็ นทักษะที*จําเป็ นอย่างยิง* สําหรับผู้เรียนเพราะนํ าไปสู่การ
พัฒนาทักษะด้านดนตรีอ*นื ๆ ต่อไป ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้วจิ ยั จึงสนใจศึกษาถึงการพัฒนากิจกรรม
การเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน; ต้นเพื*อให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ jทางด้านการฟงั ด้านความรูแ้ ละมีเจตคติทด*ี ขี น;ึ

คําถามการวิ จยั
1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับ
ชัน; ต้นมีลกั ษณะอย่างไร
2. นักเรียนทีเ* รียนด้านโสตทักษะจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิด
โคดายมีผลสัมฤทธิ jด้านทักษะการฟงั ด้านความรูแ้ ละมีเจตคติเพิม* ขึน; หรือไม่ อย่างไร

วัตถุประสงค์ของการวิ จยั
1. เพื*อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน; ต้น
2. เพื*อศึกษาผลสัมฤทธิ jทางด้านทักษะการฟงั ด้านความรูแ้ ละศึกษาเจตคติทม*ี ตี ่อการเรียนจาก
การทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน; ต้น
3

สมมุติฐานการวิ จยั
กลุ่มทดลองที*ได้รบั การทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิด
โคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน; ต้นจะมีผลสัมฤทธิ jทางการเรียนด้านทักษะการฟงั และด้าน
ความรู้ และมีเจตคติสงู กว่ากลุ่มควบคุมทีไ* ด้รบั การทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบปกติ

ขอบเขตของการวิ จยั
1. ประชากรทีศ* กึ ษา ได้แก่ นักเรียนทีม* ชี ่วงอายุ 7 - 12 ปี ทีเ* รียนเปี ยโนเดีย* วในระดับ
ชัน; ต้นกับผูว้ จิ ยั จํานวน 16 คน แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง 8 คนและกลุ่มควบคุม 8 คน
2. ตัวแปรทีศ* กึ ษา ประกอบด้วย
2.1 ตัวแปรต้น คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิด
โคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน; ต้น
2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ jทางด้านทักษะการฟงั และด้านความรู้ และเจตคติ
3. ระยะเวลาทีใ* ช้ในการทดลองเป็ นการสอนรายบุคคลในระยะเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ
2 คาบ คาบละ 40 นาที รวม 8 คาบ/คน

นิ ยามศัพท์
แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ หมายถึง เอกสารทีจ* ดั ทําขึน; เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่าง
เป็ นระบบเพื*อเป็ นแนวทางในการสอนแต่ละคาบเรียนและมีความต่อเนื*องกับแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรูท้ ผ*ี ่านมา
โสตทักษะ หมายถึง วิชาที*ประกอบด้วยการเรียนการสอนด้านทักษะการฟงั เรื*องขัน; คู่
ได้แก่ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ และคู่ 8 เพอร์
เฟค
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน- ต้น หมายถึง นักเรียนทีเ* รียนเปี ยโนทีก* ําลังเรียนแบบเรียนเปี ยโน
ชุด Hal Leonard Student Piano Library Book 2 และมีอายุระหว่าง 7 - 12 ปี
ผลสัมฤทธิ0 ด้ านทักษะการฟั ง หมายถึง ผลการเรียนที*คาดหวังด้านการฟงั ขัน; คู่ ได้แก่
คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ และคู่ 8 เพอร์เฟค
ของผูเ้ รียนโดยวัดจากการทําแบบทดสอบทีผ* วู้ จิ ยั สร้างขึน;
ผลสัมฤทธิ0 ด้านความรู้ หมายถึง ผลการเรียนด้านความรูท้ างดนตรีทค*ี าดหวังของผูเ้ รียน
โดยวัดจากการทําแบบทดสอบทีผ* วู้ จิ ยั สร้างขึน;
4

เจตคติ หมายถึง ความรูส้ กึ ของผูเ้ รียนทีเ* กิดขึน; และแสดงออกมาเป็ นพฤติกรรมเมื*อเรียน


ทักษะวิชาโสตทักษะ โดยแบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ 1) ด้านปญั ญา 2) ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ และ
3) ด้านความรับผิดชอบ

ประโยชน์ ทีคาดว่าจะได้รบั
1. ได้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน; ต้น
2. ทราบถึงผลสัมฤทธิ jทางด้านทักษะการฟงั ด้านความรู้ และเจตคติจากการใช้แผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน; ต้น
5

บทที 2
เอกสารและงานวิ จยั ทีเกียวข้อง
การวิจ ยั เรื อ งการพัฒ นากิจ กรรมการเรีย นรู้ด้า นโสตทัก ษะตามแนวคิด โคดายสํ า หรับ
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน% ต้นเป็ นการศึกษาการพัฒนาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะและ
ศึกษาแนวคิดการสอนดนตรีของโคดาย ซึง มีความสัมพันธ์กบั เนื%อหาสาระ ได้แก่ การสอนโสตทักษะ
อันเป็ นกระบวนการฝึ กความสามารถทางด้านการฟงั ที ดขี ององค์ประกอบทางดนตรี วิธกี ารสอน
ดนตรีตามแนวคิดโคดายเป็ นทีน ิยมและยอมรับกันทัวโลก วิธกี ารสอนจะเน้นทีก ารร้องเป็ นหลักและ
เรีย งลํา ดับจากง่ายไปยากโดยคํานึ ง ถึง พัฒนาการของเด็ก ในแต่ ล ะช่ ว งวัย ซึ ง จากเนื% อ หาสาระ
ดังกล่าวผู้วจิ ยั จะนํ าไปพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื อนํ ามาพัฒนาผลสัมฤทธิ 6ทางการ
ด้านทักษะการฟงั ด้านความรู้ และเจตคติดงั นัน% ผู้วจิ ยั จึงได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที เกี ยวข้อง
เพื อ เป็ นกรอบและแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรีย นรู้ด้า นโสตทัก ษะตามแนวคิด โคดาย
สําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน% ต้น โดยแบ่งออกเป็ น 8 ตอน ดังนี%
ตอนที 1 การสอนโสตทักษะ
1.1 ความหมายการสอนโสตทักษะ
1.2 ความสําคัญของการฝึกโสตทักษะ
ตอนที 2 วิธกี ารสอนดนตรีตามแนวคิดโคดาย
ตอนที 3 การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ดและโคดาย
3.1 การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ด
3.2 การสอนโสตทักษะของโคดาย
ตอนที 4 ดนตรีกบั พัฒนาการของเด็ก
4.1 พัฒนาการทัวไปและพั
ฒนาการทางดนตรีของเด็ก
4.2 พัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรือ งของการฟงั
ตอนที 5 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีทวไป

ตอนที 6 เจตคติ
6.1 ความหมายของเจตคติ
6.2 องค์ประกอบของเจตคติ
6.3 การวัดผลเจตคติ
6

ตอนที 7 งานวิจยั ทีเ กีย วข้อง


ตอนที 8 กรอบการวิจยั

ตอนที 1 การสอนโสตทักษะ
2.1 ความหมายการสอนโสตทักษะ
การสอนโสตทักษะ คือ การฝึ กความสามารถทางด้านการฟงั ในเรื องคุณสมบัติของเสียง
ไม่ว่าจะเป็ นเรื องจังหวะ อัตราจังหวะ ทํานอง เสียงประสาน ขัน% คู่เสียง รูปแบบทางดนตรี สีสนั และ
ลัก ษณะของเสีย งเพื อ พัฒนาผู้เ รียนให้มคี วามสามารถทางด้า นการฟ งั และการได้ย ินที ด ี และมี
พัฒนาการทางด้านทักษะทางดนตรีด้านอื นๆ ดีข%นึ ด้วย แต่ จําเป็ นต้องมีการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื อง
(จุฑารัตน์ มณีวลั ย์, 2551)
พจนานุ กรมของ “The Harvard Concise Dictionary of Music and Musicians” (Randel,
1996) ได้ให้ความหมายของการสอนโสตทักษะ (Ear training) ไว้ว่า การสอนโสตทักษะ คือ การฝึ ก
ให้มคี วามเข้าใจในความเป็ นดนตรีให้ดขี น%ึ รวมถึงมีความชํานาญ และมีความสามารถในการฟงั ที ด ี
ในองค์ประกอบทางดนตรีในด้านทํานอง ขัน% คู่เสียง เสียงประสาน จังหวะ อัตราจังหวะ และรวมไป
ถึงความชํานาญในการร้องเพลง และการฝึกเขียนโน้ตทีเ รียกว่า dictation
การสอนโสตทักษะเบื%องต้น คือ การมุ่งพัฒนาทักษะความสามารถในการได้ยนิ และการ
ตอบได้ถงึ คุณลักษณะของเสียงในด้าน 1) จังหวะ 2) ทํานอง รวมทัง% เสียงระดับต่างๆ เสียงลักษณะ
ต่างๆ และความดัง - เบา 3) เสียงประสาน เช่น ชนิดและลักษณะต่างๆ ของขัน% เสียง ชนิดและ
ลักษณะของคอร์ด (ธวัชชัย นาควงษ์, 2543)
จากความหมายของการสอนโสตทักษะดังที กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า การสอนโสต
ทักษะ คือ กระบวนการฝึ ก ความสามารถทางด้านการฟ งั ที ดขี ององค์ประกอบทางดนตรีในด้าน
ทํ า นอง ระดับ เสีย ง ลัก ษณะเสีย ง ขัน% คู่ เ สีย ง ชนิ ด และลัก ษณะคอร์ด เสีย งประสาน จัง หวะ
อัตราจังหวะ ความสามารถในการร้องเพลง และการเขียนโน้ ต ที เรียกว่า dictation เพื อพัฒนา
ผูเ้ รียนให้เป็ นผูม้ คี วามสามารถในด้านการฟงั และมีทกั ษะดนตรีดา้ นอื นดีขน%ึ
7

2.2 ความสําคัญของการฝึ กโสตทักษะ


การฟงั จัดเป็ นทักษะเบื%องต้นที จาํ เป็ นในการเรียนดนตรี ทัง% นี%เนื องจากการฟงั ทําให้ผู้เรียน
ดนตรีเกิดความเข้าใจในดนตรี และเป็ นจุดเริม ต้นที ทําให้ผู้เรียนมีพฒ ั นาการทางดนตรีด้านอื นๆ
ต่อไปด้วย (Gordon, 1989; McPherson, 1995; Schleuter, 1984; ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2534)
Edwin E. Gordon เป็ นนักวิจยั (Researcher) อาจารย์ (Teacher) ผูเ้ ขียน (Author) และ
วิทยากร (Lecturer) ด้านดนตรีศกึ ษา ทีม ชี อื เสียง ผลงานของเขาได้รบั การตีพมิ พ์และนําเสนออย่าง
กว้างขวาง ผลงานสําคัญได้แก่ การศึกษาด้านความถนัดทางดนตรี (Music Aptitudes) การรับรูท้ าง
ดนตรี (Audiation) ทฤษฎีการเรียนรูท้ างดนตรี (Music Learning Theory) รูปแบบเสียงและจังหวะ
(Tonal and Rhythm Patterns) และพัฒนาการทางดนตรีของเด็กทารกและเด็กเล็ก
(Music Development in Infants and Very Young Children) แบบทดสอบความถนัดทางดนตรี
(Music Aptitude Tests) ของเขาได้รบั การยอมรับเป็ นหนึ งในสามแบบทดสอบความถนัดทางดนตรี
ทีไ ด้รบั ความนิยมในระดับโลก (http://www.giml.org/AboutMLT.pdf, 2010)
ทฤษฎีการเรียนรูท้ างดนตรีของกอร์ดอน (Music Learning Theory by Edwin E. Gordon)
ได้กล่าวถึงความสําคัญของการรับรูท้ างดนตรี (Audiation) ของผูเ้ รียนกล่าวคือผูเ้ รียนควรได้รบั การ
พัฒ นาด้ า นการฟ งั และการร้อ งเป็ น อัน ดับ แรก พร้อ มไปกับ การสะสมรูป แบบเสีย งและจัง หวะ
(Tonal and Rhythm Patterns)
วิธฝี ึกการฟงั หรือฝึกโสตทักษะของกอร์ดอนนัน% เนื%อหาจะเป็ นลําดับขัน% ตอน ทัง% ในเรื องของเสียง
และจังหวะ กอร์ดอนใช้ระบบโดเคลื อนที (Movable do) โดยให้ความสําคัญในการฝึ กฟงั ขัน% คู่เสียง
และบันไดเสียงทีห ลากหลาย ได้แก่ เมเจอร์ (Major) ฮาร์โมนิกไมเนอร์ (Harmonic Minor) และโมด
หลัก ได้แก่ โดเรียน (Dorian) ฟริเจียน (Phrygian) ลิเดียน (Lydian) มิกโซลิเดียน (Mixolydian)
เอโอเลีย น (Aeolian) และโลเครีย น (Locrian) เพื อ พัฒ นาการได้ย ิน เสีย งภายในตนเอง
(Inner Hearing) ของนักเรียนได้
จะเห็นได้ว่าการฝึ กโสตประสาททักษะทางดนตรีนนั % เป็ นทักษะเบือ% งต้นทีจ าํ เป็ นในการเรียน
ดนตรี และการฝึกโสตทักษะนัน% มีหลายด้านด้วยกัน ได้แก่ ด้านทํานอง ระดับเสียง ลักษณะเสียง ขัน%
คู่เ สีย งและจัง หวะ ในการทํ า วิจ ยั ครัง% นี% จ ึง มุ่ ง ที จ ะพัฒ นาแผนการฝึ ก โสตทัก ษะด้า นขัน% คู่ เ สีย ง
เนื องจากขัน% คู่เสียงเป็ นส่วนประกอบสําคัญของทรัยแอดและคอร์ดซึง เกี ยวข้องกับการประสานเสียง
การวิเคราะห์การเปลี ยนกุ ญแจเสียง การเรียบเรียงเสียงประสาน และการเขียนแนวทํานองสอด
ประสาน ขัน% คู่เสียงจึงเป็ นพืน% ฐานสําคัญในการเรียนดนตรีตงั % แต่ระดับต้นจนถึงระดับสูง
8

ตอนที 2 วิ ธีการสอนดนตรีตามแนวคิ ดโคดาย


Zoltán Kodály (1882 - 1967 ชาวฮังการี) เป็ นนักประพันธ์เพลง (Composer) นักดนตรี
วิทยา (Musicologist) และเป็ นนักดนตรีศกึ ษา (Music Educator) ทีม ชี อื เสียง วิธกี ารสอนดนตรีของ
เขาเป็ นที ยอมรับอย่างกว้างขวาง โคดายให้ความสําคัญกับเพลงพืน% บ้านโดยเขามีแนวคิดว่า เพลง
พืน% บ้านคือภาษาแม่ทางดนตรีของเด็ก เด็กควรเรียนรูเ้ มื อยังเล็กอยู่เช่นเดียวกับทีเ ด็กเรียนการพูด
ภาษาของตนเอง สําหรับเด็กฮังการีเพลงพื%นเมืองจึงควรเป็ นสิง ที เด็กคุ้นเคย การสอนดนตรีจงึ ใช้
เพลงพืน% เมืองเป็ นหลักเบือ% งต้น (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2537) ซึง วิธกี ารสอนดนตรีของโคดายเน้นทีก าร
ร้องเป็ นหลักเพราะเสียงร้องเป็ นสิง ทีใ กล้ตวั ทีส ุดเมือ ต้องการแสดงความรูส้ กึ ทางดนตรีออกมา หูของ
เด็กจะถูกฝึกให้ชนิ กับขัน% คู่ (Interval) ต่างๆ ซึง จะทํา ให้เด็กร้องไม่เพีย% นและหูไม่เพีย% น การฝึ กด้วย
การร้องเพลงจะต้องมาก่อนการเรียนเครือ งดนตรี เด็กควรร้องประสานเสียงให้เร็วทีส ุดตลอดจนควร
มีพฒ ั นาการได้ยนิ เสียงภายในตนเอง (Inner Hearing) และการทดสอบโสตประสาทควรได้รบั การ
เน้นอยูเ่ สมอ
วิธกี ารสอนดนตรีของโคดายจะมีการจัดอย่างเป็ นระบบระเบียบเริม จากง่ายไปยาก (Landis,
1972) ซึ งในแต่ ล ะขัน% จะสอดคล้อ งกับพัฒนาการของเด็ก (Choksy, 1999) โคดายใช้ระบบ
สัญลักษณ์แทนเสียงดนตรี ใช้สญ ั ญาณมือ และระบบโดเคลื อนที (Movable do) เพื อช่วยพัฒนาการ
อ่านและการแสดงออก

หลักการสําคัญตามแนวคิ ดโคดายทีผวู้ ิ จยั นํามาใช้


1. โทนิคซอล-ฟา (Tonic Sol-fa) เป็ นการใช้ระบบการเรียกชื อตัวโน้ ต ซึ งมาจากภาษา
ละติน ได้แก่ โด เร มี ฟา โซ ลา ที (do re mi fa sol la ti) ในการร้องและอ่าน โดยใช้โดเป็ นเสียง
หลักหรือโทนิคในบันไดเสียงเมเจอร์ และลาเป็ นเสียงหลักหรือโทนิคในบันไดเสียงไมเนอร์ ผูเ้ รียน
เรียนรูเ้ กี ยวกับระยะขัน% คู่เสียงต่างๆ เมื อใช้ระบบ ซอล-ฟา โดยทราบความสําพันธ์ของระดับเสียง
ต่างๆ ทีแ ปรเปลี ยนไปตามกุญแจเสียงต่างๆ ในระยะต่อมา ผูเ้ รียนเริม ใช้ระบบเรียกชื อตัวโน้ตโดย
ใช้อกั ษรโรมัน คือ A B C D E F G แทนระดับเสียง ลา ที โด เร มี ฟา โซ ควบคู่ไปกับระบบซอล-
ฟา ทําให้ผเู้ รียนจดจําระดับเสียงต่างๆ ได้ดว้ ย (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544)
2. สัญญาณมือ โคดายดัดแปลงมาจากสัญญาณมือที จอห์น เคอร์เวน (John Curwen) คิด
ขึน% มา การใช้สญ ั ญาณมือนัน% จะใช้ควบคู่ไปกับการอ่านโน้ต เพื อแทนระดับเสียงต่างๆ ช่วยให้ผูเ้ รียน
เรียนรูเ้ รือ งระดับเสียง และช่วงห่างของระดับเสียงได้อย่างชัดเจน (Choksy, 1999)
9

ภาพที 1 สัญญาณมือประกอบการร้องโน้ต ซอล-ฟา


ทีมา: Choksy, 1999

3. สัญลักษณ์ของจังหวะ นอกจากโคดายจะใช้สญ ั ญาณมือแทนระดับเสียงแล้ว โคดายยังมี


การใช้สญ ั ลักษณ์แทนจังหวะเป็ นลักษณะรูปภาพ ในระยะต่อมาเปลีย นเป็ นสัญลักษณ์คล้ายตัวโน้ต
ในทีส ุดตัวโน้ตแทนจังหวะจึงนํ ามาใช้ อย่างไรก็ตามสัญญลักษณ์คล้ายตัวโน้ตก็ยงั สามารถใช้ได้อยู่
เมื อ ผู้ส อนต้ อ งการเน้ น เฉพาะจัง หวะ นอกจากกํ าหนดสัญ ลัก ษณ์ แ ทนจัง หวะแล้ว โคดายยังได้
กํ า หนดเสีย งใช้ใ นการเรีย กสัญ ลัก ษณ์ ต่ า งๆ ไว้ เพื อ ให้ ผู้ เ รีย นใช้ พู ด แทนการตบมือ ได้ ด้ ว ย
สัญญลักษณ์ต่างๆ ทีใ ช้มดี งั นี%
• สัญลักษณ์เป็ นภาพ โดยมีหลักคือ ขนาดใหญ่จะแทนจังหวะยาว ขนาดเล็ก
จะแทนจังหวะสัน%

  
ภาพที 2 สัญลักษณ์เป็ นภาพ
ทีมา: ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544
10

• สัญลักษณ์แทนจังหวะตัวโน้ต
สัญลักษณ์ระบบโคดาย เสียง สัญลักษณ์ดนตรี

ภาพที 3 สัญลักษณ์แทนจังหวะตัวโน้ต
ทีมา: ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2540

4. การร้อง โคดายเน้นการร้องเป็ นหลัก การเล่นเครื องดนตรีเป็ นกิจกรรมทีจ ดั ให้กบั ผูเ้ รียน


ในระยะต่อมา การร้องรวมไปถึงทักษะการอ่านโน้ตด้วยในกระบวนการร้องนี% โคดายเน้นการฝึ กให้
ผูเ้ รียนรับรูก้ ย ี วกับเรื องระดับเสียง และจังหวะของทํานองโดยสมํ าเสมอ วิธกี ารหนึ งคือฝึ กให้ผูเ้ รียน
ได้ยนิ เสียงทํานองในความคิด คือการให้ผู้เรียนร้องเพลงและให้หยุดร้องแต่ให้รอ้ งในใจเป็ นระยะๆ
สลับกันไปตามสัญญาณทีผ สู้ อนกําหนดให้ทําให้ผูเ้ รียนรับรูเ้ กี ยวกับเสียงทัง% ในความคิดและสามารถ
ร้องได้ดว้ ย นอกจากนี%ยงั เน้นให้จดจําเกีย วกับระดับเสียง และบทเพลงทีเ รียนไปด้วยเสมอ
11

5. การสร้างสรรค์ เนื องจากวิธขี องโคดายเน้นการร้องเพลงเป็ นกิจกรรมหลัก การสร้างสรรค์


จึงออกมาในรูปของการร้องเช่นกัน โคดายเน้นเสมอว่าการเลือกเพลงมาใช้นนั % ควรเป็ นเพลงทีด ี ซึง มี
ลักษณะของประโยคของเพลงเด่นชัดมีวรรคตอน เมื อผู้เรียนเริม เข้าใจโครงสร้างของเพลง ผู้สอน
เริม ต้นฝึ กให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ ประโยคของเพลงต่ อจากประโยคที ผู้สอนให้ ซึ งมีลกั ษณะของ
จังหวะและเป็ นทํานองด้วย (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544)
จากการศึกษาวิธกี ารสอนดนตรีตามแนวคิดโคดาย จะเน้นทีก ารร้องเป็ นหลัก โคดายให้
ความสําคัญกับเพลงพืน% บ้าน คือภาษาแม่ทางดนตรีของเด็ก เพลงร้องทีน ํ ามาใช้จะอยู่ในบันไดเสียง
เพนตาโทนิก (Pentatonic Scale) วิธกี ารสอนดนตรีของโคดายนัน% มีการจัดอย่างเป็ นระบบระเบียบ
เริม จากง่ายไปยาก และสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ซึง มีวธิ กี ารดังต่อไปนี% 1) โทนิคซอล-ฟา
(Tonic Sol - fa) 2) สัญญาณมือ 3) สัญลักษณ์ของจังหวะ 4) การร้อง และ 5) การสร้างสรรค์
วิธกี ารเหล่านี%สามารถนํ ามาใช้เป็ นแนวคิดการฝึ กโสตประสาท และพัฒนาการได้ยนิ เสียงภายใน
ตนเอง (Inner Hearing) ของนักเรียนได้

ตอนที 3 การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ดและโคดาย
3.1 การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ด
ในการวิจยั ครัง% นี%การสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์เป็ นการสอนแบบปกติซง ึ สอนควบคู่ไป
กันกับแบบเรียนเปี ยโนชุด Hal Leonard Student Piano Library เล่ม 1, 2, 3, 4 และ 5 มีหนังสือ
ประกอบการเรียนการสอนฟงั ทัง% หมด 3 เล่ม ได้แก่ Ear Without Fear Volume 1, 2 และ 3 มี
รายละเอียดดังนี%
1. Ear Without Fear Volume 1 (Preston and Hale, 2009a)
ปูพน%ื ฐานโดยแบบฝึกหัดการฟงั การร้องโน้ต (Sight Singing) และการเขียนโน้ตจาก
การฟงั (dictation)
2. Ear Without Fear Volume 2 (Preston and Hale, 2009b)
เนื%อหาหนังสือเล่มที 2 นี%ต่อเนื องจากเล่มที 1 โดยมีเนื%อหาสาระดังนี%
- ใช้ระบบอักษรโรมัน (Letter Names) และเส้นน้อย (Ledger Lines)
- กุญแจซอล (Treble Clefs) และกุญแจฟา (Bass Clefs)
- เครือ งหมายชาร์ปและแฟลต
- ใช้ระบบโดเคลื อนที (Moveable Do)
- ขัน% คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค
คู่ 8 เพอร์เฟค และคู่ 6 เมเจอร์ ตามลําดับ
12

3. Ear Without Fear Volume 3 (Preston and Hale, 2009c)


เนื%อหาหนังสือเล่มที 3 นี%ต่อเนื องจากเล่มที 2 โดยมีเนื%อหาสาระดังนี%
- เมเจอร์และเนเชอรอลไมเนอร์
- คีย์ C, G, F และ D เมเจอร์
- คีย์ A, E, D และ B ไมเนอร์
- กุญแจอัลโตและเทเนอร์
- เครือ งหมายชาร์ปและแฟลต
- ขัน% คู่ 3 เมเจอร์และไมเนอร์ และคู่ 5 เพอร์เฟค
- เมเจอร์และไมเนอร์ตรัยแอด
หนังสือทัง% 3 เล่มนี%จะเริม ด้วยการอธิบายเนื%อหาสาระใหม่ จากนัน% จะให้นักเรียนฟงั จากซีด ี
แนบมาด้วย พร้อมไปกับการทําแบบฝึ กหัดการฟงั ได้แก่ การแยกแยะเสียง (Identify) การจับคู่
(Matching) การเขียนโน้ตจากการฟงั (dictation) การร้องโน้ ต (Sight Singing) และการบูรณาการ
(Integration)
ในการทําวิจยั ครัง% นี%กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนเปี ยโนที เรียนกําลังเรียนแบบเรียนเปี ยโนชุด
Hal Leonard Student Piano Library Book 2 ซึง สอนควบคู่อยู่กบั การสอนโสตทักษะ Ear Without
Fear Volume 2

3.2 การสอนโสตทักษะของโคดาย
การสอนโสตทักษะของโคดาย วิธกี ารสอนดนตรีตามแนวคิดโคดายนัน% จะสอนเสียงก่อน
สัญญลักษณ์และเน้นทีก ารร้องเป็ นหลัก โดยแบบฝึกหัดการร้องเพลงของโคดายนัน% จะแบ่งเป็ นระดับ
ขัน% ต่างๆ ให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนและเพลงร้องทีน ํ ามาใช้จะอยู่ในบันไดเสียงเพนตาโทนิก มีการใช้โท
นิกซอล-ฟา (Tonic Sol - fa) และสัญญาณมือในกิจกรรมการสอน ซึง สามารถฝึ กโสตประสาททาง
ดนตรีของผูเ้ รียนได้ทงั % เรือ งจังหวะ ระดับเสียง และการประสานเสียง
จากการศึกษาการสอนโสตทักษะของฮอลลีโอนาร์ดและโคดายพบว่าการสอนโสตทักษะใน
เรื องขัน% คู่นัน% ฮอลลีโอนาร์ดจะสอนเริม จากขัน% คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 3 ไมเนอร์
คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 8 เพอร์เฟค และคู่ 6 เมเจอร์ตามลําดับ โดยจะเริม จากอธิบายเนื%อหาสาระก่อน
จากนัน% จะให้นักเรียนฟงั เสียงของขัน% คู่และฝึ กฝนการฟงั โดยการทําแบบฝึ กหัดการฟงั ได้แก่ การ
แยกแยะเสียง (Identify) การจับคู่ (Matching) การเขียนโน้ ตจากการฟงั (dictation) การร้องโน้ ต
(Sight Singing) และการบูรณาการ (Integration) ส่วนการสอนโสตทักษะของโคดายนัน% จะเน้ นที
การร้องและเพลงทีน ํ ามาใช้จะอยู่ในบันไดเสียงเพนตาโทนิก ซึง ในการวิจยั ครัง% นี%จะนํ าเอาแนวคิดโค
13

ดายมาใช้ในการสอนโสตทักษะดังนัน% ขัน% คู่ทจ ี ะสอนจึงมีลําดับตามบันไดเสียงเพนตาโทนิกดังนี% ขัน% คู่


2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ คู่ 8 เพอร์เฟค และคู่ 4 เพอร์เฟค

ตอนที 4 ดนตรีกบั พัฒนาการของเด็ก


4.1 พัฒนาการทัวไปและพั  ฒนาการทางดนตรีของเด็ก
พัฒนาการ หมายถึง การก้าวหน้า การเปลีย นแปลงไป ซึ งเป็ นกระบวนการที ต่อเนื อง เริม
ตัง% แต่การปฏิสนธิจนถึงเวลาสิ%นลมหายใจ ในทางจิตวิทยาการศึกษาเรื องพัฒนาการเกี ยวข้องกับ
การศึกษาเรือ งพฤติกรรมทีเ กิดขึน% หรือเปลีย นแปลงไปในแต่ละช่วงเวลาของอายุเด็ก ซึง ต้องการทีจ ะ
เรียนรูถ้ งึ ลักษณะทางด้านร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม
แนวคิดของจอง เปี ยเจท์ (Jean Piaget) นักจิตวิทยาชาวสวิส ได้แบ่งช่วงการพัฒนาการ
ของเด็กออกเป็ น 4 ช่วง คือ ช่วงตัง% แต่แรกเกิดจนถึงอายุ 2 ปี เรียกว่า Sensorimotor Stage ช่วงที
2 ตัง% แต่อายุ 2 ปี จนถึงอายุ 7 ปี เรียกว่า Preoperational Stage และช่วงที 3 ตัง% แต่อายุ 7 ปี ถงึ
11 ปี เรียกว่า Concrete Operational Stage และช่วงที 4 ตัง% แต่ช่วงย่างเข้าสู่วยั รุ่นจนถึงเข้าสู่วยั
ผูใ้ หญ่ เรียกว่า Formal Operational Stage (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2541)
1. ช่วง 0-2 ปี
ในช่วงนี%การพัฒนาทางด้านปญั ญามีพ%นื ฐานมาจากประสาทสัมผัส ประสบการณ์หรือการ
เรียนรูท้ เ ี กิดขึน% นัเ% ป็ นสิง ทีเ ด็กใช้ประสาทสัมผัสของตนเป็ นสื อ จึงเห็นได้ว่าการเรียนรูอ้ ยู่ในวงจํากัด
เริม แรกพฤติกรรมต่างๆ เป็ นไปในลักษณะของปฏิกริ ยิ าสะท้อนกลับ ต่อมาเด็กเริม มีความสามารถ
ควบคุมประสาทสัมผัสต่างๆ มากขึน% เป็ นลําดับอายุประมาณ 2 ปี เด็กมีพฒ ั นาการทางการรับรูด้ ขี น%ึ
ลักษณะการรับรูใ้ นวัยนี%คอื สิง ที อยู่เบือ% งหน้ าจะเป็ นสิง ทีค งอยู่ ถ้าเคลื อนย้ายสิง นัน% ไป สิง นัน% จะไม่ม ี
อยูใ่ นความนึกคิดอีกต่อไป
พัฒนาการทางดนตรีของเด็กในวัยนี%จะเป็ นไปในลักษณะของการตอบสนองทางดนตรีดว้ ย
การเคลื อนไหวร่างกายได้โดยเสรี คือ อายุประมาณ 2 ปี เด็กจะจดจํา และเลียนแบบเสียงเพลงทีไ ด้
ยิน และชอบร้องเพลง แต่ การร้องเพลงของเด็กในวัยนี%มกั ไม่เป็ นทํานองมากนัก เป็ นในลักษณะ
คล้ายการสวด (chant) มากกว่า คือใช้ระดับเสียงเดียวกันซํ%าๆ กัน โดยมีการเปลีย นระดับเสียงบ้าง
ตามลักษณะของทํานองทีไ ด้ยนิ กล่าวได้ว่าเด็กในวัยนี%เริม พัฒนาแนวคิดด้านจังหวะและทํานองบ้าง
แล้ว ทางด้านทักษะดนตรีเด็กในวัยนี%ชอบฟงั เพลงร้องมากกว่าเพลงบรรเลง และชอบการร้องโดย
เลียนแบบจากเพลงทีไ ด้ฟงั
14

2. ช่วง 2-7 ปี
ในช่ ว งนี% เ ด็ก เริ ม เรีย นรู้เ กี ย วกับ ระบบของสัญ ลัก ษณ์ ใ นความคิด ของตนเอง เพื อ แทน
เหตุการณ์หรือประสบการณ์ทต ี นได้รบั ภายในความคิด (Preoperational Stage) เปี ยเจท์มคี วามเชื อ
ว่ า เด็ก ในวัย นี% ม ีค วามคิด ตามที ต นมีประสบการณ์ หรือ รับ รู้ เด็ก ไม่ ส ามารถรับ รู้ไ ด้ว่ า คนอื น มี
ประสบการณ์ หรือ รับรู้ไม่เ หมือ นตน เด็กในวัยนี% มคี วามสามารถทางภาษาเพิม มากขึ%น สามารถ
เรียนรูจ้ ดจําสิง ต่างๆ ได้ เมื อใช้ภาษาเป็ นสื อ แนวความคิดยากๆ ทีเ ป็ นรูปธรรมหรือนามธรรม เด็ก
ยังไม่สามารถเข้าใจได้ และยังไม่มแี นวคิดเกี ยวกับความคิดคงที ของจํานวนความจุแ ละปริมาณ
(Conservation of number and object) ฉะนัน% ความคิดในการแก้ปญั หาทีซ บั ซ้อนจึงยังไม่มเี ด็กวัยนี%
ไม่ชอบอยู่เฉยมักเคลื อนไหวตลอดเวลา แต่เหนื อยง่าย ความสัมพันธ์ของการทํางานระหว่างมือกับ
ตายังไม่พฒ ั นามากนัก ชอบเพ้อฝนั คิดค้น เด็กผูห้ ญิงมักมีพฒ ั นาการเร็วกว่าเด็กผูช้ าย
พัฒนาการทางดนตรีของเด็กในวัยนี%คล้ายๆ กับวัยที ผ่านมา คือ มีพฒ ั นาการด้านจังหวะ
และทํานอง อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็ นการเรียนรูด้ า้ นจังหวะหรือทํานอง เด็กในวัยนี%ทําได้ดกี ว่า แต่
ไม่สมํ าเสมอ กล่าวคือ การตบจังหวะมักเร็วบ้างช้าบ้าง ไม่สามารถรักษาความเร็วของจังหวะได้
สมํ าเสมอ ไม่สามารถตอบสนองจังหวะทีซ บั ซ้อนได้เลย ด้านทํานองเด็กสามารถร้องได้ดขี น%ึ แต่มกั
ร้องเพีย% น เนื องจากแนวคิดเรือ งระดับเสียงยังพัฒนาไม่เต็มที ช่วงเสียงยังจํากัด และการรับฟงั ยังไม่
พัฒนาไปเท่าทีค วร ส่วนการเคลื อนไหวเพื อตอบสนองกับดนตรีเป็ นกิจกกรมทีเ ด็กในวัยนี%ชอบมาก
เพราะเป็ นวัยทีร า่ งกายกําลังเจริญเติบโต มีพลังงานมาก การให้นงเฉยๆ ั ฟงั เพลงเป็ นเวลานานๆ จึง
ไม่ค่อยเหมาะกับเด็กในวัยนี% จะเป็ นการดีถ้าเด็กในวัยนี%ชมการแสดงดนตรีสด เพราะช่วยให้เด็กเกิด
ความสนใจ และฟงั เพลงได้นานขึน% เด็กในวัยนี%เริม ชอบเคาะ ชอบทําจังหวะ ถ้ามีเครื องประกอบ
จังหวะให้เล่น เด็กในวัยนี%จะชอบมาก การตอบสนองเกี ยวกับเสียงประสานยังไม่มใี นเด็กวัยนี% แต่
สามารถรับรูเ้ รือ งเสียงประสานได้ ถ้าผูส้ อนแนะนํ าหรืออธิบายให้ฟงั เด็กในวัยนี%เริม มีความสามารถ
ตอบสนองทางดนตรีเกีย วกับเรือ งของความเร็ว-ความช้าของจังหวะและความดังค่อยของเสียง
3. ช่วง 7-11 ปี
พัฒนาการทางความคิดของเด็กในวัยนี%เจริญขึ%นเป็ นลําดับ เด็กสามารถคิดเกี ยวกับด้าน
รูปธรรมอย่างมีเหตุผลได้ แต่แนวความคิดทางด้านนามธรรมยังไม่พฒ ั นามากนัก เด็กเริม มองสิง
ต่างๆ ในหลายแง่มุม เปี ยเจท์ จึงเรียกวัยนี%ว่า Concrete Operational Stage เนื องจากความคิด
เกีย วกับด้านรูปธรรมพัฒนาเป็ นอย่างดีในเด็กวัยนี% เด็กมีแนวคิดเกีย วกับความคงทีข องจํานวนความ
จุปริมาณ สามารถจัดหมวดหมู่สงิ ของ หรือสิง ใดๆ สําเร็จ เด็กในวัยนี%ยงั ไม่สามารถคิดแก้ปญั หาใน
ลักษณะของการตัง% สมมติฐานได้
พัฒนาการทางดนตรีก้าวหน้ามากขึน% ได้ ความคงทีข องจังหวะมีมากขึน% สามารถเล่นออสติ
นาโตได้ ร้องเพลงวนและแคนอน (round and canon) ได้ ซึง แสดงว่าพัฒนาการด้านเสียงประสาน
เริม ขึ%นในเด็กวัยนี% สมาธิในการฟงั มีมากขึ%น สามารถฟงั เพลงบรรเลงได้ดขี น%ึ ความเข้าใจในเรื อง
15

ระดับ เสีย งมีม ากขึ%น การร้อ งเพลงเพี%ย นน้ อ ยลง สามารถเล่ น เครื อ งทํ า นอง เช่ น คีย์บ อร์ด ได้
นอกเหนื อ ไปจากเครื อ งประกอบจัง หวะต่ า งๆ การเคลื อ นไหวเพื อ ตอบสนองเสีย งดนตรีย งั มี
ความสําคัญ และใช้ในการพัฒนาแนวคิดต่างๆ ทางดนตรีได้ แต่ควรมีแบบแผนมากขึน% กว่าเด็กใน
วัยทีผ ่านมา
4. ช่วง 11-15 ปี
พัฒนาการทางความคิดของเด็กในวัยนี%จดั ได้ว่าได้พฒ ั นามาถึงจุดทีส มบูรณ์ คือ สามารถคิด
แบบผู้ใหญ่ได้ ได้แก่ การคิดแบบตัง% สมมติฐาน เนื องจากมีความเข้าใจเกี ยวกับสิง ต่างๆ ทางด้าน
นามธรรมมากขึน% เปี ยเจท์ เรียกพัฒนาการในวัยนี%ว่า Formal Operational Stage พืน% ฐานทาง
ความคิด ของเด็ก ในวัยนี% จะติด ตัว เด็ก ไปจนเป็ นผู้ใ หญ่ เป็ นวัยที ส ามารถคิด สิ ง ต่ างๆ ได้อ ย่างมี
เหตุผล สามารถใครครวญถึงผลได้ผลเสียทีจ ะเกิดขึน% ในอนาคต อย่างไรก็ตามเด็กในวัยนี%เป็ นวัยที
เริม ย่างเข้าสู่วยั รุน่ เริม จะมีการเปลีย นแปลงทางด้านร่างกายอย่างมาก ซึง จะกล่าวต่อไปในเรื องการ
พัฒนาการของวัยรุน่ นอกจากนี%พฒ ั นาการด้านอารมณ์ และสังคม เช่น การคบเพื อน ความต้องการ
เข้ากับกลุ่มเพื อนได้ ทําให้การตัดสินใจทําอะไรไม่เหมาะสมและขาดเหตุผลได้ในบางครัง% จึงเป็ นวัย
ทีต อ้ งการการแนะนําดูแลจากพ่อแม่ และครูอาจารย์ แต่การให้คําแนะนํ าปรึกษาควรให้เหมาะสมกับ
โอกาส และอยูบ่ นรากฐานของความเข้าใจและสัมพันธภาพอันดีต่อเด็กเป็ นสําคัญ
พัฒนาการทางด้านดนตรีของเด็ก ในวัยนี% เริม มีค วามลึกซึ%ง ทัง% ในด้านแนวคิด และทัก ษะ
ดนตรี เด็ ก สามารถแสดงความรู้ ส ึ ก ตามบทเพลงได้ ม ากขึ%น การเน้ น ความรู้ ส ึ ก ของเพลง
(expressions) ไม่ว่าในการร้องหรือเล่นเครื องดนตรี เป็ นแนวคิดและทักษะทีเ ด็กสามารถเข้าใจและ
ปฏิบ ตั ิไ ด้ การร้อ งเพลงมัก ไม่ค่ อ ยเพี%ยน มีค วามสามารถในการเล่ นเครื อ งดนตรีต่ างๆ ได้ด ีข%ึน
การรับรูเ้ กี ยวกับเสียงประสานสามารถพัฒนาไปได้อย่างดีในเด็กวัยนี% ทักษะด้านการฟงั มีมากขึ%น
สามารถฟงั เพลงยากๆ ทัง% เพลงร้อง และเพลงบรรเลงได้ เด็กทีช อบดนตรีและได้รบั การสนับสนุ นมา
ตลอด เมื อ ถึง วัยนี% ส ามารถเล่ น ดนตรี หรือ ขับ ร้อ งได้อ ย่ า งดี กล่ า วได้ว่ าในช่ ว งนี% เ ด็ก มีก ารรับ รู้
เกี ยวกับแนวคิดด้านดนตรีครบถ้วน นัน คือมีความเข้าใจเกี ยวกับองค์ประกอบของดนตรีในเรื อง
จังหวะ (Rhythm) ระดับเสียง (Pitch) รูปแบบ (Structure of Form) เสียงประสาน (Harmony)
รูปพรรณ (Texture) สีสนั (Tone Color) และลักษณะของเสียง (Characteristics of Sound)
จากการศึกษาพัฒนาการทัวไปและพั ฒนาการทางดนตรีของเด็ก สรุปได้ว่า เด็กทีม ชี ่วงอายุ
7 - 12 ปี มพี ฒ ั นาการที สอดคล้องกับทฤษฎีพฒ ั นาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์ในขัน% ที 3
(Concrete Operations) คือมีความเข้าใจเกีย วกับสิง ทีเ ป็ นรูปธรรมมากขึน% และพัฒนาการทางดนตรี
ก้าวหน้ ามากขึน% ได้ ความคงที ของจังหวะมีมากขึน% สามารถเล่นออสตินาโตได้ ร้องเพลงวนและแค
16

นอน (round and canon) ได้ ซึง แสดงว่าพัฒนาการด้านเสียงประสานเริม ขึน% ในเด็กวัยนี% การร้อง
เพลงเพีย% นน้อยลง ความเข้าใจในเรือ งระดับเสียงมีมากขึน% รวมทัง% มีสมาธิในการฟงั มากขึน%

4.2 พัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรืองของการฟั ง
พัฒนาการด้านดนตรีในเรือ งของการฟงั และความเหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียนนัน% เป็ นข้อควร
คํานึงหนึ งที สําคัญเกี ยวกับการสอนฟงั ซึ งการสอนฟงั ในแต่ ละวัยนัน% ผู้เ รียนจะมีสมาธิแ ละความ
พร้อมทีแ ตกต่างกันดังนี%
ตารางที 1 พัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรือ งของการฟงั
ระยะเวลา
พฤติ กรรมีทีแสดงออกอย่างชัดเจน
(เดือน)
0–3 - แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดในเรือ งความพอใจและไม่พอใจในความแตกต่าง
ของเสียงแต่ละชนิด
- ตอบสนองต่อเสียงทีม รี ะดับเสียงค่อนข้างสูง
0 – 12 - เป็ นวัยทีม คี วามสามารถในการฟงั อย่างน่ าแปลกใจ
- ชอบขัน% คู่ 4 เพอร์เฟค
- มีความสนใจในประโยคของเพลงทีซ %าํ ไม่มกี ารเปลีย นแปลงมากกว่าประโยคของ
เพลงทีม กี ารเปลีย นแปลง
- ชอบเสียงทีเ ป็ นเมเจอร์เสียงทีใ ห้อารมณ์เพลงไปในทางบวก เช่น สนุ กสนาน
- สนใจในเสียงร้องเพลงของแม่มากกว่าเสียงพูดของแม่
6–8 - จะร้องไห้เมือ ได้ยนิ เสียงทีม คี วามเข้มข้นและรุนแรง
9 – 14 - มีการตอบสนองต่อลักษณะเสียงของเครือ งดนตรีทแ ี ปลกใหม่
12 - 24 - มีความสนใจต่อเสียงดนตรีในระยะเวลาสัน% ๆ
24 - ตอบสนองต่อจังหวะของดนตรี โดยการเต้นตามเสียงดนตรี
36 - เริม สนใจฟงั รูปแบบของจังหวะ และรูปแบบของเสียง
- มีความพร้อมทีจ ะร้องเพลง หรือเล่นเครือ งดนตรี ทีมเี สียงสัน% ๆ 2 – 4 เสียง
36 - 72 ั นาการฟงั ทางดนตรีได้ดที ส ี ุด
- เป็ นช่วงทีม พี ฒ
60 - สามารถแยกแยะอารมณ์เพลงแบบสนุ กสนาน และเศร้าตามจังหวะของเพลงได้
17

ตารางที 1 (ต่อ)
ระยะเวลา
พฤติ กรรมีทีแสดงออกอย่างชัดเจน
(เดือน)
60 - 84 - สามารถแยกประเภทของเครือ งดนตรีได้ เช่น กลอง, ทรัมเป็ ต, ฟลุ๊ต หรือประเภท
ของเครือ งดนตรี เช่น เครือ งสาย, เครือ งตี ได้
55 - แสดงให้เห็นถึงการชอบรูปแบบของดนตรีแบบหนึ ง มากกว่าอีกแบบหนึ ง
72 - สามารถแยกแยะการเปลีย นแปลงของเสียงในระดับครึง เสียงในขัน% คู่เสียง
- อายุ 6 – 8 ปีจะแสดงอารมณ์ เมือ ได้ฟงั บทเพลงทีม อี ารมณ์และจังหวะทีต ่างกัน
(Flohr, 2005 อ้างถึงใน จุฑารัตน์ มณีวลั ย์, 2551)

จากการศึกษาพัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรื องของการฟงั สรุปได้ว่า เด็กทีม ชี ่วงอายุ


7 - 12 ปี นัน% สามารถแยกประเภทของเครื องดนตรี หรือประเภทของเครื องดนตรีได้และสามารถ
แยกแยะการเปลี ยนของเสียงในระดับครึง เสียงในขัน% คู่เสียงได้ รวมทัง% แสดงอารมณ์ เมื อได้ฟงั บท
เพลงทีม อี ารมณ์และจังหวะต่างกัน

ตอนที 5 แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้


ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้กบั นักเรียนครูต้องศึกษาหลักสูตร ขอบเขตของเนื%อหาสาระ
เพื อมาสร้างเป็ นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูซ้ งึ จะทําให้ครูสามารถดําเนินกิจกรรมการเรียนการ
สอนเป็ นไปได้อย่างราบรื น ในตอนที 4 นี%เป็ นการนํ าเสนอความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีทวไป ั
5.1 ความหมายของแผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
งานวิจยั ฉบับนี% เป็ นงานวิจยั ที ส ร้างนวัต กรรมในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสต
ทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน% ต้นในการบันทึกแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ครูผู้สอนควรเข้าใจความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื อ สามารถบันทึก
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยมีรปู แบบและเนื%อหาทีถ ูกต้อง
มีนกั การศึกษาบางท่านได้ให้ความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ว้ดงั นี%
ณรุทธ์ สุทธจิตต์ (2544) กล่าวว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ เอกสารทีจ ดั ทําขึน%
เพื อใช้เป็ นแนวทางในการสอนดนตรีแต่ละคาบเรียน ซึง จะกล่าวถึงขัน% ตอนในการสอนอย่างละเอียด
จากบันทึกการสอนต่าง ๆ ทีว างแผนไว้จะได้รบั การถ่ายทอดให้เป็ นกิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป
18

ซึง ควรมีความต่อเนื องกันกับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ แ ี ล้วมาและทีจ ะจัดทําต่อไป แผนการ


จัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระกอบไปด้วย หัวข้อเนื%อหา แนวคิด จุดประสงค์ เนื%อหา กิจกรรม สื อการ
เรียนการสอน การวัดผล และหมายเหตุ
พรพิไล เลิศวิชา และอัครภูม ิ จารุภากร (2550) กล่าวว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ
ลําดับกระบวนเนื%อหาและกระบวนการเรียนรูท้ เ ี ชื อว่านักเรียนจะเรียนรูไ้ ด้บรรลุเป้าหมาย
สุวทิ ย์ มูลคํา และคนอื นๆ (2549) กล่าวว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ แผนการ
เตรียมการสอนหรือการกําหนดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ว้ล่วงหน้ าอย่างเป็ นระบบและจัดทําไว้เป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรโดยมีการรวบรวมข้อมูลต่างๆมากําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื อให้ผูเ้ รียนบรรลุ
จุดมุง่ หมายทีก ําหนดไว้โดยเริม จากการกําหนดวัตถุประสงค์ (สติปญั ญา/เจตคติ/ทักษะ) เนื%อหาสาระ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ส อื การสอน แหล่งการเรียนรูแ้ ละวิธกี ารประเมินผล
Campbell and Scott-Kassner (2006) ได้กล่าวถึงหลักสําคัญในแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูแ้ ละการนําไปใช้ให้บรรลุเป้าหมายต้องคํานึงถึงหลักการดังต่อไปนี%
1. ความต้องการในการเรียนรูท้ เ ี ป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของนักเรียนในกลุ่มนัน% และนักเรียน
แต่ละคนในกลุ่มนัน%
2. หลักสูตรรายปี
3. วิธกี ารและสื อ
4. กลยุทธ์ในการประเมินผล
จากการศึกษาความหมายของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สรุปได้ว่า แผนการจัด
กิจกรรมเป็ นเอกสารทีจ ดั ทําขึน% เพื อเตรียมการสอนล่วงหน้ าโดยมีรายละเอียดขัน% ตอนในการสอนที
เรียบเรียงไว้อย่างเป็ นระบบและต่ อเนื องกันกับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท แี ล้วมาและที จะ
จัดทําต่อไป

5.2 แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้วิชาดนตรีทวไป ั


แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีทวไป ั ผูว้ จิ ยั ได้นํามาประกอบการสร้างแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ท ีผู้ว ิจยั สร้างขึ%น เพื อ ให้แ ผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ม ีค วามสอดคล้อ งกับ
กระบวนการเรียนรูแ้ ละความต้องการของผู้เรียน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีทวไปมี ั
รายละเอียดดังนี% (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544) ดังนี%
1. แนวคิด
ในแผนการจัดกิจกรรรมแต่ละฉบับ ควรมีการเสนอแนวคิดที ผูส้ อนต้องการให้ผูเ้ รียนได้รบั
หลังจากการเรียนไว้ ทัง% นี% เพื อใช้เ ป็ นการกําหนดแนวทางในการจัดเสนอเนื% อหาและกิจกรรมให้
สัมพันธ์กบั จุดประสงค์ทว ี างไว้
19

นอกจากนี%ในหัวข้อแนวคิดนี%ควรกล่าวถึงเจตคติดนตรี หรือผลรวมทีไ ด้จากการเรียนดนตรี


ของผูเ้ รียนไว้ด้วยซึ งรวมถึงแนวคิดเกี ยวกับความซาบซึง% ในสุนทรียรสของดนตรีด้วย เนื องจากสิง
เหล่านี%เป็ นความมุ่ง หมายหลักของการสอนดนตรีแต่ เป็ นสิ งที ไม่สามารถสอนได้โดยตรง และไม่
สามารถเขียนออกมาเป็ นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมได้
2. จุดประสงค์
จุดประสงค์ท ชี ่วยกําหนดการเรียนการสอนได้เด่นชัด ควรเป็ นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
(Behavioral Objective) ลักษณะของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม คือการเสนอแนะจุดประสงค์โดยใช้
กิรยิ าทีส ามารถสังเกตเห็นได้ว่าผูเ้ รียนกระทําสิง ต่าง ๆ ทีก ําหนดไว้ได้ ซึง เป็ นประโยชน์ในการสอน
โดยตรงดังนัน% การเสนอจุดประสงค์ของการเรียนการสอนจึงควรเป็ นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การ
กําหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้จากการศึกษาจุดประสงค์ของ
หลักสูตร ประกอบกับแนวคิดที ผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนได้รบั ซึ งจะมีส่วนสัมพันธ์กบั เนื%อหาและ
กิจกรรม
3. เนื%อหา
เนื%อหาทีบ รรจุไว้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูค้ วรเป็ นเนื%อหาทีม ขี อบเขต และความ
ยากง่ายเหมาะสมกับระดับชัน% และเวลาในการสอน เนื%อหาควรมีความสัมพันธ์กบั จุดประสงค์
แนวคิด และกิจกรรม การเสนอเนื%อหาควรเขียนเป็ นความเรียงทีไ ด้ใจความ นอกจากนี%บทเพลง
(เนื%อร้องและโน้ตเพลง) ทีใ ช้ประกอบกิจกรรมควรจัดเสนอไว้กบั เนื%อหาด้วย
4. กิจกรรม
ในการกํ า หนดกิจ กรรมควรจะได้คํ า นึ ง ถึง จุ ด ประสงค์แ ละแนวคิด เป็ น สํ า คัญ โดยให้ ม ี
ความสัมพันธ์กบั เนื%อหาด้วย นอกจากนี%การกําหนดกิจกรรมควรคํานึงถึงทักษะดนตรีดว้ ย กล่าวคือ
การกําหนดกิจกรรมควรใช้ทกั ษะดนตรีเป็ นพืน% ฐาน ทัง% นี%เพื อให้ผู้เรียนปฏิบตั ทิ กั ษะดนตรีไปพร้อม
ๆ กับการเรียนเนื%อหาดนตรี กิจกรรมในแต่ละคาบการเรียนควรมีต่าง ๆ กัน
5. สื อการเรียนการสอน
การกําหนดสื อการเรียนย่อมมีความสัมพันธ์กบั กิจกรรมอย่างมาก โดยปกติการเรียนดนตรี
มักมีส อื การเรียนประกอบเสมอ เช่น การเรียนร้องเพลง สื อการเรียนคือโน้ตและเนื%อเพลง การเล่น
เครื องประกอบจังหวะ สื อการเรียนคือเครื องประกอบจังหวะชนิดต่าง ๆ เป็ นต้น ดังนัน% ถ้าผู้สอน
กําหนดกิจกรรมใดขึน% มาและต้องการสื อการสอน ผูส้ อนก็จะต้องจัดเตรียมสื อการเรียนไว้ดว้ ย
6. การวัดและการประเมินผล
การวัดผลและการประเมินผลเป็ นสิง จําเป็ นในกระบวนการเรียนการสอน เนื องจากเป็ นตัว
ชี%ใ ห้ เ ห็น ว่ า การเรีย นการสอนบรรลุ ต ามจุ ด ประสงค์ ห ือ ผลได้ อ ย่ า งไร การกํ า หนดการวัด และ
ประเมินผลจึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับจุดประสวค์และกิจกรรมที ผู้เรียนกระทํา ซึง มีส่วนสัมพันธ์
ไปถึงเนื%อหาด้วย การวัดผลควรกําหนดไว้ในทุกขัน% ตอนของกิจกรรม ซึง โดยทัวไปมั กใช้การสังเกตดู
20

ว่าผู้เรียนสามารถประกอบกิจกรรมนัน% ๆ ได้หรือไม่ นอกจากนี%อาจจะมีการวัดและประเมินผลใน


ตอนท้ายของการเรียนการสอนในแต่ละคาบการสอนด้วยเพื อวัดและประเมินผลการเรียนในแต่ละ
ครัง% ทีส อน
จะเห็น ได้ ว่ า แผนการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้นั น% เป็ น เอกสารสํ า คัญ ที ค รู ผู้ ส อนนั น% ควร
จัดเตรียมอย่างละเอียด ครบถ้วน และมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กนั ตลอดระยะเวลาในการเรียน
การสอนทัง% นี% เ พื อ ประสิท ธิภ าพที ด ีใ นการเรีย นการสอน ดัง นัน% ในการวิจ ยั ครัง% นี% ผู้ว ิจ ยั จึง จะนํ า
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าดนตรีทวไป ั (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544) มาประยุกต์ใช้กบั แนวคิด
โคดายเพื อสร้างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ สตทักษะสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน% ต้น

ตอนที 6 เจตคติ
เจตคติเป็ นสิง หนึ งทีผ วู้ จิ ยั ต้องการศึกษาในการทําวิจยั ครัง% นี%เนื องจากในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ด้า นโสตทัก ษะตามแนวคิด โคดายสําหรับนัก เรียนเปี ยโนระดับชัน% ต้น นัน% ผู้เ รีย นจะต้อ งมี
ความสุขในการเรียนรู้ ในเบือ% งต้นจะขอกล่าวถึงความหมายของเจตคติ องค์ประกอบของเจตคติและ
วิธกี ารวัดเจตคติ
6.1 ความหมายของเจตคติ
การวัดผลทางการศึกษามีลกั ษณะทีส าํ คัญอยู่ 3 ด้าน คือ ด้านการรูค้ ดิ (Cognitive Domain)
ด้านความรูส้ กึ (Affective Domain) และด้านการปฏิบตั ิ (Psychomotor Domain) ทัง% 3 ด้านเป็ น
การศึกษาคุณลักษณะของคน และด้านที ยากที สุดก็คอื ด้านความรู้สกึ เนื องจากต้องเกี ยวข้องกับ
พฤติก รรม ความคิด ความรู้ส ึก ของคน ซึ ง มีค วามซับ ซ้อ น มีนัก การศึก ษาและนั ก จิต วิทยาให้
ความหมายของเจตคติไว้ดงั นี%
Allport (1954) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง สภาพความพร้อมของสมองและประสาทอันได้
จากประสบการณ์ และการตอบสนองทัง% ทางตรง และโดยอิทธิพลของแต่ ละบุคคลที มตี ่ อสิง ต่ างๆ
และสถานการณ์ทงั % หลายทีเ กีย วโยงกัน
Mehrens and Lehmann (1978) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง รูปแบบของความรูส้ กึ หรือ
พฤติกรรม ทีบ ุคคลมีความโน้มเอียงทีจ ะตอบสนองต่อวัตถุทางสังคม
Anastasi (1990) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง ความโน้มเอียงในการแสดงว่าชอบหรือไม่ชอบ
ต่อสิง เร้าอย่างใดอย่างหนึ ง เช่น กลุ่มชน ประเพณี หรือ สถาบันต่างๆ
ธีระวุฒ ิ เอกะกุล (2550) กล่าวว่า เจตคติ หมายถึง พฤติกรรมหรือความรูส้ กึ ทางด้านจิตใจที
มีต่ อ สิ ง เร้าสิ ง ใดสิ ง หนึ ง ในสัง คมรวมทัง% เป็ น ความรู้ส ึก ที เ กิด จากการเรีย นรู้เ กี ยวกับสิ ง เร้า หรือ
ประสบการณ์ในเรือ งใดเรือ งหนึ ง
21

สรุปได้ว่า เจตคติ หมายถึง ความรูส้ กึ หรือพฤติกรรมทีม ตี ่อสิง เร้าอย่างใดอย่างหนึ งในสังคม


ซึง จะแสดงว่าชอบหรือไม่ชอบขึน% อยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
6.2 องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติเป็ นสิง ทีเ ชื อมโยงไปยังแง่มุมอื นๆ อีก 2 ด้านคือ ด้านแรกเชื อมโยง
ไปยังนิยามของเจตคติ อีกด้านหนึ งเชื อมโยงไปยังประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบหรือ
ความสัมพันธ์กบั ตัวแปรอื นๆ นักจิตวิทยาได้เสนอองค์ประกอบของเจตคติไว้ 3 องค์ประกอบ ดังนี%
(ธีระวุฒ ิ เอกะกุล, 2550)
1. เจตคติท มี อี งค์ประกอบเดียว คืออารมณ์ (Bem, 1970; Fishbein and Ajzen, 1975;
Insko, 1967; Thurstone, 1959) ความรูส้ กึ ในทางชอบหรือไม่ชอบทีบ ุคคลมีต่อทีห มายของเจตคติ
2. เจตคติท มี สี ององค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านปญั ญาและด้านความรู้สกึ (Katz,
1978; Rosenberg, 1960) องค์ประกอบด้านปญั ญา หมายถึงกลุ่มของความเชื อที บุคคลมีต่อที
หมายของเจตคติ จะเป็ น ตัว ส่ ง เสริม หรือ ขัด ขวางการบรรลุ ถึง ค่ า นิ ย มต่ า งๆ ของบุ ค คล ส่ ว น
องค์ประกอบด้านอารมณ์ความรูส้ กึ หมายถึงความรูส้ กึ ทีบ ุคคลมีเมื อถูกกระตุ้นโดยทีห มายของเจต
คติ
3. เจตคติทม ี สี ามองค์ประกอบ (Krech, Crutchfield and Ballachey, 1962; Triandis,
1971) ได้แก่
3.1 องค์ประกอบด้านปญั ญา (Cognitive Component) มีส่วนประกอบย่อย คือ
ด้านความเชื อ ความรู้ ความคิด และความคิด เห็นที บุคคลมีต่ อ ที ห มายของ
เจตคติ (Attitude Object)
3.2 องค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สกึ (Affective Component) หมายถึง
ความรูส้ กึ ชอบ-ไม่ชอบ หรือท่าทีทด ี -ี ไม่ด ี ทีบ ุคคลมีต่อทีห มายของเจตคติ
3.3 องค์ประกอบด้านพฤติกรรม (Behavioral Component) หมายถึงแนวโน้มหรือ
ความพร้อมทีบ ุคคลจะปฏิบตั ติ ่อทีห มายของเจตคติ
จะเห็นได้ว่านักจิตวิทยามีแนวคิดทีแ ตกต่างกันออกไป สําหรับผูว้ จิ ยั มีแนวคิดว่าเจตคติควร
มีสามองค์ประกอบ คือองค์ประกอบด้านปญั ญา องค์ประกอบด้านความรูส้ กึ และองค์ประกอบด้าน
พฤติกรรม ซึ งทัง% สามด้านนัน% มีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน กล่าวคือบุคคลจะมีความเชื อ ความรู้
ความคิด ความคิดเห็นที แตกต่างกันออกไปเกี ยวกับที หมายของเจตคติ ซึ งต่างก็ต้องเกี ยวข้องกับ
ความรูส้ กึ ชอบ-ไม่ชอบ หรือท่าทีทด ี -ี ไม่ดแี ล้วจึงแสดงออกมาเป็ นพฤติกรรม
22

6.3 วิ ธีการวัดเจตคติ
เนื องจากเจตคติเป็ นความรูส้ กึ ทีอ ยูภ่ ายในจิตใจ ดังนัน% จึงวัดได้ยากเมือ เทียบกับการวัดด้าน
อื น มีนกั จิตวิทยาหลายท่านได้หาวิธที ม ี คี ุณภาพในการวัดเจตคติ (ธีรวุฒ ิ เอกะกุล, 2550; วรรณดี
แสงประทีปทอง, 2536; วรรณี แกมเกตุ, 2551; สุชรี า ภัทรายุตวรรตน์, 2545) ดังนี%
1. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็ นวิธที ง ี ่ายและตรงไปตรงมาทีส ุด แต่มขี อ้ สียว่า ผูถ้ าม
อาจจะไม่ได้คาํ ตอบทีจ ริงใจจากผูต้ อบ เพราะผูต้ อบอาจจะบิดเบือนคําตอบ วิธแี ก้ไขคือ
ผู้สมั ภาษณ์ต้องสร้างบรรยากาศในการสัมภาษณ์ให้เป็ นกันเอง ให้ผู้ตอบสบายใจ ไม่
เคร่งเครียดเป็ นอิสระ และแน่ใจว่าคําตอบของเขาจะเป็ นความลับ
2. การสังเกต (Observation) เป็ นวิธกี ารทีใ ช้ตรวจสอบบุคคลอื นโดยการเฝ้ามองและจด
บันทึก พฤติก รรมของบุ ค คลนัน% อย่างมีแ บบแผน ซึ ง ข้อ มูล ที ไ ด้นัน% จะถู ก ต้อ งและ
ใกล้เคียงกับความจริง หรือมีความน่ าเชื อถือได้เพียงใดนัน% ขึน% อยู่กบั ตัวผูส้ งั เกตจะต้อง
ทําตัวเป็ นกลาง และควรสังเกตหลายๆ ช่วงเวลา ไม่ใช่สงั เกตเฉพาะเวลาใดเวลาหนึ ง
3. การรายงานตนเอง (Self-Report) วิธนี %ีตอ้ งการให้ผถู้ ูกสอบวัดแสดงความรูส้ กึ ของ
ตนเองตามสิง เร้าทีเ ขาสัมผัส ซึง สิง ทีแ สดงออกมาสามารถกําหนดเป็ นค่าคะแนนเจตคติ
ได้ เช่นแบบทดสอบหรือมาตรวัดของเธอร์สโตน (Thurstone) ลิเคิรท์ (Likert) ออสกูด
(Osgood) และกัทท์แมน (Guttman) เป็ นต้น
4. เทคนิคจิตนาการ (Projective Techniques) วิธนี %ีอาศัยสถานการณ์บางอย่างไปเร้า
ผูส้ อบ เช่น ประโยคไม่สมบูรณ์ ภาพแปลกๆ เรือ งราวแปลกๆ เมือ ผูส้ อบเห็นสิง เหล่านี%
จะจินตนาการออกมาแล้วนํ ามาตีความหมาย จากการตอบนัน% จะทําให้รวู้ ่ามีเจตคติต่อ
เป้าเจตคติอย่างไร
5. การวัดทางสรีระภาพ (Physiological Measurement) การวัดด้านนี%อาศัยเครือ งมือ
ไฟฟ้าในการสังเกตการเปลีย นแปลงของร่างกาย แต่ไม่นิยมใช้เนื องจากยังพัฒนาไม่ด ี
พอ
จะเห็นได้ว่าจากการศึกษาข้อมูลในการวัดเจตคตินนั % มีหลายวิธซี ง ึ ขึน% อยู่กบั ความเหมาะสม
ในการเลือกนํามาใช้โดยต้องคํานึงถึงวัตถุประสงค์ ผูถ้ ูกทดสอบ และสถานการณ์ สําหรับในการวิจยั
ครัง% นี%ผูว้ จิ ยั จะใช้วธิ กี ารรายงานตนเอง (Self-Report) โดยให้ผู้เรียนทําแบบวัดเจตคติท ผี ู้วจิ ยั สร้าง
ขึน% และใช้วธิ กี ารสังเกตผูเ้ รียนร่วมด้วย ทัง% นี%เพื อสังเกตพฤติกรรรมของผูเ้ รียนได้อย่างละเอียด ซึง
สิ ง ที ค วรคํ านึ ง คือ การสร้างบรรยายกาศให้ผู้ถู ก ทดสอบรู้ส ึก สบาย ไม่ตึง เครีย ดและเป็ น กัน เอง
เพื อทีจ ะได้แสดงพฤติกรรมออกมาได้อย่างจริงใจและตรงไปตรงมา รวมทัง% การตัง% คําถามควรกระชับ
รัดกุม เข้าใจง่ายเพื อให้ผทู้ ดสอบสามารถแสดงเจตคติออกมาได้อย่างชัดเจน
23

ตอนที 7 งานวิ จยั ทีเกียวข้อง


จากการศึกษาวรรณกรรมและข้อมูล ในงานวิจยั เรื อ งการพัฒนาแผนการจัด กิจกรรมการ
เรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน% ต้นแสดงให้เห็นว่าการศึกษา
แนวคิดการสอนของโคดายทําให้ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ างดนตรี ซึง รวมถึงกิจกรรมการ
เรียนรูด้ า้ นโสตทักษะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลทีต ามมาคือ ผลสัมฤทธิ 6ทางด้านทักษะการฟงั ด้าน
ความรูแ้ ละมีเจตคติทด ี ี นอกจากนี%ยงั มีงานวิจยั ทีเ กีย วข้องสามารถสรุปได้ดงั นี%
มีงานวิจยั จํานวนมากทีศ กึ ษาผลสัมฤทธิ 6ทางการเรียนดนตรีโดยใช้แนวคิดโคดาย และพบว่า
มีผลสัมฤทธิ 6ทางการเรียนดนตรีทด ี ขี น%ึ (พงษ์ลดา นาควิเชียร, 2537; วรวิชย์ จันทร์เพ็ง, 2549; เดชา
ชัย สุจริตจันทร์, 2549) นอกจากนี%ยงั มีงานวิจยั ทีน ํ าแนวคิดโคดายรวมกับแนวคิดการเรียนการสอน
ดนตรีของนักการศึกษาท่านอื น เช่น ออร์ฟ (ธวัชชัย นาควงษ์, 2547; Hensley, 1981) ซึ งได้
ผลสัมฤทธิ 6ทางการเรียนดนตรีดขี น%ึ เช่นกัน
งานวิจยั ทีไ ด้ศกึ ษาผลสัมฤทธิ 6เปรียบเทียบในด้านทักษะการฟงั เมื อได้นําแนวคิดโคดายมา
ประยุกต์ใช้ เช่น งานวิจยั ของ Hensley (1981) ทําการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ 6ในการเรียน
ดนตรีของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในเกรด 4 และ 5 ทีส อนโดยใช้หลักสูตรของ The Memphis
City ซึง เป็ นหลักสูตรบนพื%นฐานของการสอนตามแนวคิดออร์ฟและโคดาย กับทีส อนโดยแนวการ
สอนแบบดัง% เดิม พบว่าผลสัมฤทธิ 6ในด้านความรู้เกี ยวกับบันไดเสียง ทักษะการฟ งั เพื อแยกแยะ
ทํานองและเสียงเครื องดนตรีของนักเรียนเกรด 4 มีความแตกต่างกัน ส่วนผลสัมฤทธิ 6ในด้านความรู้
เกี ยวกับบันไดเสียงของนักเรียนเกรด 5 ไม่แตกต่ างกัน แต่ ผลสัมฤทธิ 6ในด้านทักษะการฟงั เพื อ
แยกแยะทํานองและเสียงเครือ งดนตรีของนักเรียนเกรด 5 มีความแตกต่างกัน
จากการศึกษาวรรณกรรมและงานวิจยั ทีเ กีย วข้องแสดงให้เห็นว่าการสอนดนตรีตามแนวคิด
โคดายเป็ นแนวคิดทีน ่ าสนใจทีจ ะนํามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาแแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน% ต้น เพื อให้มผี ลสัมฤทธิ 6ทางด้านทักษะฟงั ความรู้ และเจต
คติทด ี ใี นการเรียน

ตอนที 8 กรอบการวิ จยั


การดําเนินการวิจยั เรื อง การพัฒนาแแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะสําหรับ
นัก เรียนเปี ยโนระดับชัน% ต้นเป็ นกรอบแนวคิด ที ดําเนิ นการศึก ษาการสอนตามแนวคิด โคดายซึ ง
วิธกี ารสอนดนตรีของโคดายนัน% จะเน้นทีก ารร้องเป็ นหลัก วิธกี ารสอนจะจัดไว้เป็ นระบบระเบียบเริม
จากง่ายไปยากโดยเน้น 5 วิธกี ารดังนี%
1. โทนิกซอล-ฟา (Tonic Sol - fa)
2. สัญญาณมือ
3. สัญลักษณ์ของจังหวะ
24

4. การร้อง
5. การสร้างสรรค์

แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ว ิชาดนตรีทวไปซึั ง เป็ นเอกสารสําคัญ ที ค รูผู้ส อนนัน% ควร


จัดเตรียมอย่างละเอียด ครบถ้วน และมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กนั ตลอดระยะเวลาในการเรียน
การสอนทัง% นี%เพื อประสิทธิภาพทีด ใี นการเรียนการสอนมีรายละเอียดดังนี% (ณรุทธ์ สุทธจิตต์, 2544)
ดังนี%
1. แนวคิด
2. จุดประสงค์
3. เนื%อหา
4. กิจกรรม
5. สื อการเรียนการสอน
6. การวัดและการประเมินผล
7. หมายเหตุ

จากนัน% นํามาสังเคราะห์และสร้างแผนแผนการจัดกิจกรรมด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย
สําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน% ต้นโดยประยุกต์ใช้แนวคิดโคดาย ซึง แผนจะประกอบไปด้วย แนวคิด
จุดประสงค์ เนื%อหา กิจกรรม สื อการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล เพื อพัฒนาทักษะ
ทางด้านการฟงั ของนักเรียนซึง ในการวิจยั นี%จะวัดผลสัมฤทธิ 6ทางการเรียน 2 ด้านได้แก่ ด้านการฟงั
และด้านความรู้ และเจตคติ ดังทีแ สดงเป็ นกรอบแนวคิดในการวิจยั ดังต่อไปนี%
25

การสอนดนตรีตามแนวคิ ดโคดาย
1. โทนิกซอล-ฟา (Tonic Sol-fa)
2. สัญญาณมือ
3. สัญลักษณ์ของจังหวะ
4. การร้อง
5. การสร้างสรรค์ แผนการจัดกิจกรรม
ด้านโสตทักษะตาม
แผนการจัดกิ จกรรม แนวคิดโคดายสําหรับ
การเรียนรู้วิชาดนตรีทวไป
ั นักเรียนเปี ยโนระดับชัน% ต้น
(ณรุทธ์ สุทธจิ ตต์, 2544)
1. แนวคิด
2. จุดประสงค์
3. เนื%อหา
4. กิจกรรม
5. สื อการเรียนการสอน
ผลสัมฤทธิB ทางการเรียน
6. การวัดและการประเมินผล
1. ด้านการฟงั
7. หมายเหตุ
2. ด้านความรู้
เจตคติ

ภาพที 4 กรอบแนวคิดในการวิจยั
26

บทที 3
วิ ธีดาํ เนิ นการวิ จยั
การวิจยั ครัง นี มวี ตั ถุประสงค์เพือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้นและเพือศึกษาผลสัมฤทธิ /ทางด้านทักษะการฟงั
ด้านความรูแ้ ละด้านเจตคติจากการทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิด
โคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้น ในลักษณะการวิจยั แบบกึงทดลอง (Quasi-Experimental
Research) แบบศึกษาสองกลุ่มวัดสองครัง (The Two-Group Pretest – Posttest Design with
Nonequivalent Groups) โดยแบ่งขัน ตอนในการดําเนินการวิจยั ดังนี
1. ขัน เตรียมการ ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ กีย วข้อง
2. กําหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน (Stratified Random Sampling)
3. การสร้างเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั
4. ขัน นําเครือ งมือไปใช้ในการทดลอง
5. ขัน การวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุป อภิปรายผลและนํ าเสนอเป็ นวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์

ขัน ที 1 เตรียมการ ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี


และงานวิจยั ทีเ กียวข้อง
1. แนวคิดด้านการสอนดนตรีของโคดาย
2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. การวัดและประเมินผลด้านการฟงั ความรูแ้ ละเจตคติ
4. งานวิจยั ทีเ กียวข้อง

ขัน ที 2 กําหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน


(Stratified Random Sampling)

ขัน ที 3 การสร้างเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั


1. ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กีย วข้อง
2. สร้างเครือ งมือ
3. นําเครือ งมือทีส ร้างขึน ให้อาจารย์ทปี รึกษาอาจารย์และ
ผูท้ รงคุณวุฒติ รวจสอบและนํามาแก้ไข
27

ขัน ที 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล


1. ทดสอบก่อนการทดลอง
2. ดําเนินการทดลอง
3. ทดสอบหลังเรียน

ขัน ที 5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุป อภิปรายผลและนํ าเสนอเป็ น


วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
1. วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
2. นําข้อมูลเชิงปริมาณมาวิเคราะห์โดยหาค่าเฉลีย
ส่วนเบีย งเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานของกลุ่ม
ตัวอย่าง 2 กลุ่มทีเ ป็ นอิสระจากกัน (t-test independent)
3. สรุป อภิปรายผลและนํ าเสนอเป็ นวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์

ภาพที 5 กรอบการดําเนินการวิจยั

รายละเอียดของการดําเนินการวิจยั มีดงั นี
ขัน ที 1 เตรียมการ ศึกษาเอกสาร แนวคิ ด ทฤษฎี และงานวิ จยั ทีเกียวข้อง
ศึกษาข้อมูลพื นฐานโดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร งานวิจยั ทีเกียวข้องเพือสร้างกรอบใน
การวิจยั ในหัวข้อดังต่อไปนี
1.1 ศึกษาเรืองของการสอนโสตทักษะ ได้แก่ ความหมายของการสอนโสตทักษะและ
ความสําคัญของการฝึกโสตทักษะ
1.2 ศึกษาแนวคิดและวิธกี ารสอนดนตรีของโคดาย
1.3 ศึกษาเรืองของดนตรีกบั พัฒนาการของเด็ก ได้แก่ พัฒนาการทัวไปและพั
 ฒนาการทาง
ดนตรีของเด็กและพัฒนาการด้านดนตรีของเด็กในเรือ งของการฟงั
1.4 ศึกษาการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นการสอนดนตรีทวไป ั
1.5 ศึกษาการวัดและประเมินผลทางด้านการฟงั ความรูแ้ ละเจตคติ
1.6 ศึกษางานวิจยั ทีเ กีย วข้อง
28

ขัน ที 2 กําหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน (Stratified Random


Sampling)
2.1 ประชากร
นักเรียนทีเ รียนเปียโนเดีย วกับผูว้ จิ ยั ทีม ชี ่วง 7 - 12 ปี และเรียนเปียโนในระดับชัน ต้น
2.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนทีเ รียนเปียโนเดีย วกับผูว้ จิ ยั ทีไ ด้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่ง
ชัน (Stratified Random Sampling) จํานวน 16 คน โดยมีเกณฑ์ในการคัดเลือกดังนี จากนักเรียนที
มีช่วงอายุ 7 – 12 ปี โดยแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มอายุได้แก่
- ช่วงอายุ 7 – 9 ปี มีจาํ นวน 8 คน
- ช่วงอายุ 10 – 12 ปี มีจาํ นวน 8 คน
จากนัน สุ่มตัวอย่างเพือแบ่งเป็ นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยวิธกี ารจับฉลาก
จากกลุ่มช่วงอายุ 7 - 9 ปี และกลุ่มช่วงอายุ 10 – 12 ปี ดังตารางสรุปกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที 2 สรุปกลุ่มตัวอย่าง
จํานวน (คน)
กลุ่ม รวม (คน)
ช่วงอายุ 7 – 9 ปี ช่วงอายุ 10 – 12 ปี
ทดลอง 4 4 8
ควบคุม 4 4 8
รวม (คน) 8 8 16

ขัน ที 3 การสร้างเครืองมือทีใช้ในการวิ จยั


เครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย
3.1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโน
ระดับชัน ต้น
3.2 แบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่อนและหลังการทดลอง
3.3 แบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนและหลังการทดลอง
3.4 การวัดเจตคติ
3.4.1 แบบวัดเจตคติ
3.4.2 แบบสังเกตพฤติกรรม
ขัน ตอนการสร้างเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั ดังนี
29

3.1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเป็ น 2 แผนคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้นและแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูด้ า้ นโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 (Preston and Hale, 2009b) ในแต่
ละแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูม้ ี 8 แผนใน 1 แผนใช้เวลา 40 นาที สัปดาห์ละ 2 แผน โดยมี
ขัน ตอนดังนี
ขัน ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กียวข้องกับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน ต้นเพือมากําหนดเนื อหาสาระ
ขัน ที 2 คัดเลือกเพลงทีม คี วามเหมาะสมกับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้นทีม อี ายุ 7 – 12 ปี
จํานวน 8 เพลง ซึง วิเคราะห์ขนั คู่ในแต่ละเพลงรวมแล้วมีจาํ นวนขัน คู่ครบตามโครงการสอน ได้แก่ คู่
2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ และคู่ 8 เพอร์เฟคโดย
มีหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเพลงดังนี
1. ช่วงเสียง (Range) ไม่กว้างมากจนเกินไป
2. อยูใ่ นบันไดเสียงเพนตาโทนิก
3. จังหวะไม่ซบั ซ้อน
4. อัตราจังหวะคงทีแ ละง่าย ความเร็วปานกลาง
จากเกณฑ์การคัดเลือกเพลงนี จะช่วยให้การเลือกเพลงมาใช้เป็ นสือในการจัดแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ขัน ที 3 นําเนื อหาสาระมากําหนดเป็ นกิจกรรมการเรียนรู้
ขัน ที 4 นํ าแผนการจัดกิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้อาจารย์ทปี รึกษาตรวจสอบ
ความเหมาะสมด้ า นเนื อ หา การจัด กิ จ กรรม ให้ ส อดคล้ อ งกับ วัต ถุ ป ระสงค์ จ ากนั น นํ า ไปให้
ผูท้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
ขัน ที 5 ปรับปรุงและแก้ไขแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคําแนะนํ าของอาจารย์ที
ปรึกษา ผูท้ รงคุณวุฒ ิ และผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่าน
3.2 แบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่อนและหลังการทดลอง
ขัน ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กีย วข้องกับการวัดทักษะด้านการฟงั
ขัน ที 2 นํ าแบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่ อนและหลังการทดลองให้อาจารย์ทปี รึกษา
ตรวจสอบจากนัน นําไปให้ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
ขัน ที 3 ปรับปรุงและแก้ไขแบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่ อนและหลังการทดลองตาม
คําแนะนําของอาจารย์ทปี รึกษา ผูท้ รงคุณวุฒ ิ และผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่าน
30

3.3 แบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนและหลังการทดลอง


ขัน ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กีย วข้องกับการวัดความรูท้ างดนตรี
ขัน ที 2 นํ าแบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนและหลังการทดลองให้อาจารย์ทปี รึกษาตรวจสอบ
จากนัน นําไปให้ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
ขัน ที 3 ปรับปรุงและแก้ไขแบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนและหลังการทดลองตามคําแนะนํ า
ของอาจารย์ทปี รึกษา ผูท้ รงคุณวุฒ ิ และผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่าน
3.4 การวัดเจตคติ แบ่งการประเมินเป็ น 2 ส่วน คือ 1) ประเมินโดยผูเ้ รียน ซึง ใช้แบบวัดเจต
คติและ 2) ประเมินโดยผูส้ อน ซึง ใช้แบบสังเกตพฤติกรรม
3.4.1 แบบวัดเจตคติ ซึงมีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ องค์ประกอบด้านปญั ญา
อารมณ์ และความรูส้ กึ
ขัน ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กียวข้องกับเจตคติเพือนํ ามาสร้างเป็ น
ข้อความในการวัดเจตคติ
ขัน ที 2 จัดแบ่งข้อความตามองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ องค์ประกอบด้านปญั ญา
อารมณ์ และความรูส้ กึ
ขัน ที 3 นํ าแบบวัดเจตคติทสี ร้างขึน ให้อาจารย์ทปี รึกษาตรวจสอบด้านภาษา และ
เนื อหาจากนัน นําไปให้ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
3.4.2 แบบสังเกตพฤติกรรม ซึง เป็ นเครือ งมือช่วยวัดเจตคติของนักเรียนในชัน เรียน
มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ องค์ประกอบด้านปญั ญา อารมณ์ และความรูส้ กึ
ขัน ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กียวข้องกับแบบสังเกตพฤติกรรมการ
เรียน ซึง ในงานวิจยั นี ใช้วธิ กี ารสังเกตทางอ้อม
ขัน ที 2 จัดแบ่งข้อความตามองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ องค์ประกอบด้านปญั ญา
อารมณ์ และความรูส้ กึ
ขัน ที 3 นํ าแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนทีส ร้างขึน ให้อาจารย์ทปี รึกษาตรวจสอบ
ด้านภาษา และเนื อหาจากนัน นําไปให้ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
ขัน ที 4 ปรับปรุงและแก้ไ ขแบบสังเกตพฤติก รรมการเรียนตามคําแนะนํ าของ
อาจารย์ทปี รึกษา ผูท้ รงคุณวุฒ ิ และผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ
โดยมีลาํ ดับการใช้เครือ งมือในการวิจยั ดังต่อไปนี
31

ตารางที 3 สรุปการใช้เครือ งมือวิจยั ในแต่ละสัปดาห์


เครืองมือทีใช้ในการวิ จยั
แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบทดสอบ แบบวัด แบบสังเกต
แผน
ทักษะด้าน ด้านความรู้ ทักษะด้าน ด้านความรู้ เจตคติ พฤติกรรม
ที
การฟงั ก่อน ก่อนการ การฟงั หลัง หลังการ
ทดลอง ทดลอง การทดลอง ทดลอง
1  
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8   

ขัน ที 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล


ในการเก็บรวบรวมข้อ มูลผู้วจิ ยั ได้ดําเนินการทัง ก่ อน ระหว่ าง และหลังการทดลอง รวม
ระยะเวลา 5 สัปดาห์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี
การคัดเลือกกุล่มทดลองและกลุ่มตัวอย่าง (สัปดาห์ที 1)
ขัน ที 1 คัดเลือกนักเรียนทีม อี ายุระหว่าง 7 – 12 ปี และกําลังเรียนหนังสือเปี ยโนชุด Hal
Leonard Student Piano Library Book 2 กับผูว้ จิ ยั
ขัน ที 2 จัดนักเรียนเป็ น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง 8 คน และกลุ่มควบคุม 8 คน โดยใช้วธิ แี บบ
แบ่งชัน (Stratified Random Sampling)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (สัปดาห์ที 2 - 5)
ก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลองและหลังการทดลอง
ขัน ที 1 นักเรียนทัง 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ทําแบบทดสอบทักษะด้านการ
ฟงั และแบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนการทดลอง
ขัน ที 2 ดําเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้นทีผ ูว้ จิ ยั ได้สร้างขึน มีทงั หมด 8 แผน ใน 1 แผนใช้
เวลา 40 นาที สัปดาห์ละ 2 แผน และสอนกลุ่มควบคุมโดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกปญั หาและ
32

วิธกี ารแก้ไขปญั หาไว้ในหัวข้อหมายเหตุของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละมีการบันทึกภาพใน


วีดโี อ
ขัน ที 3 ระหว่างการทดลอง ผูว้ จิ ยั ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนเพือช่วยวัดเจตคติของ
นักเรียนในชัน เรียนทัง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ขัน ที 4 นักเรียนทัง 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ทําแบบทดสอบทักษะด้านการ
ฟงั แบบทดสอบด้านความรู้ และแบบวัดเจตคติหลังการทดลอง

ขัน ที 5 การวิ เคราะห์ข้อมูล สรุป อภิ ปรายผลและนําเสนอเป็ นวิ ทยานิ พนธ์ฉบับสมบูรณ์
ในการวิจยั ครัง นี มวี ตั ถุประสงค์เพือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน ต้น และศึกษาผลสัมฤทธิ /ทางด้านการฟงั ความรูแ้ ละ
เจตคติ จากการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน ต้น โดยมีการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี
1. เปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการ
ทดลองโดยใช้ ก ารทดสอบสมมติฐ านของกลุ่ ม ตัว อย่ า ง 2 กลุ่ ม ทีเ ป็ น อิส ระจากกัน (t-test
independent) แล้วนําเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบตารางประกอบและความเรียง
2. วิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ ด้จากแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทีใ ช้ประกอบกับแบบวัดเจต
คติเป็ นข้อมูลในการอภิปรายผล
3. สรุป อภิปรายผลและนํ าเสนอวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
33

บทที่ 4
ผลการวิ เคราะห์ข้อมูล
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวิจยั เรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูด้ ้านโสต
ทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น โดยแบ่งการนาเสนอข้อมูลออกเป็ น
2
ตอนที่ 1 สาหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน้ ต้น
ตอนที่ 2 (ด้านการฟงั และความรู)้ และรายด้านจาก
การทดลอง สาหรับนักเรียนเปียโน
ระดับชัน้ ต้น ก่อนและหลังการทดลอง

ตอนที่ 1 สาหรับ
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น
ในการนาเสนอข้อ มูล เรื่อ งการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้นเป็ นการนาเสนอข้อมูลในลักษณะบรรยายเพื่อให้
ทรายถึงลักษณะและวิธกี ารสร้างแผนกาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย
สาหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้นโดยแบ่งออกเป็น 3
1.1 สาหรับ
นักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้น
1.2 เนื้อ หาของ ส าหรับ
นักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้น
1.3 เปรียบเทียบแผนการจัดการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน้ ต้นกับแผนการจัดการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2

1.1
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น
กิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้นจะมี
ความต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ระบบระเบีย บ ผู้ส อนต้อ งมีค วามรู้ใ นรูป แบบของการจัด ท าแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 7
1) แนวคิด
2) จุดประสงค์
34

3) เนื้อหา
4) กิจกรรม
5) สื่อการเรียนการสอน
6) การวัดและประเมินผล
7)
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นสามารถเขียนเป็นรูปแบบได้ดงั นี้

แผนการสอนเรื่อง หัวข้อเนื้อหา แผนการสอนที่…..


1 คน / 1คาบ / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิด
........................................................
จุดประสงค์
........................................................
เนื้อหา
........................................................
กิจกรรม
........................................................
สื่อการเรียนการสอน
........................................................
การวัดและประเมินผล
........................................................
หมายเหตุ
........................................................

1.2 เนื้ อหาของ


สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น
ในการจัดทาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้อ งเข้าใจในเนื้อ หาสาระของแต่ ละหัว ข้อใน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างละเอียดและในการเขียนเนื้อหาในแต่ละหัวข้อให้สอดคล้องกัน
โดยมีรายละเอียดดังนี้
35

1.2.1 หัวข้อ เป็ นส่วนที่แสดงให้รถู้ งึ เนื้อหาทีส่ อนในแต่ละแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้


แผนการสอนที่ จานวนผู้เรียน/ จานวนคาบ/ ระยะเวลา ชื่อผูเ้ รียน วัน และเวลา โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
1.2.1.1 หัวข้อเนื้อหา เป็ นคาสาคัญที่แสดงถึงเนื้อหา เป็ นคาสาคัญที่แสดงถึง
เนื้อหาทีจ่ ะสอนซึ่งควรมีความสอดคล้องกับเนื้อหาทีส่ อนและเป็ นตัวกาหนดเนื้อหาที่สอนให้อยู่ใน
ขอบเขต เช่น เรือ่ ง ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
1.2.1.2 แผนการสอนที่ ควรระบุว่าเป็นแผนการสอนทีเ่ ท่าไร เพื่อความเป็ นระเบียบ
และป้องกันปญั หาการสอนไม่ครบ
1.2.1.3 จานวนผูเ้ รียน/ จานวนคาบ/ ระยะเวลา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะเป็นลักษณะการสอนรายบุคคล ซึง่ ใน 1 40
1.2.1.4 ชื่อผูเ้ รียน ควรระบุช่อื ผูเ้ รียนเพื่อป้องกันการสับสน
1.2.1.5 วัน และเวลา ควรระบุวนั ทีส่ อน เช่น 10 2554
10:00 – 10:40 .
1.2.2 แนวคิด เป็ นผลรวมของการเรียนหรือการมีประสบการณ์กบั สิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ซึ่งเป็ น
นามธรรมมีอยู่ในความคิดของแต่ละบุคคล ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปแม้จะเป็ นเรื่องเดียวกัน ทัง้ นี้
ขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เช่น โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้
ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนวทานองและแนวประสาน
1.2.3 จุดประสงค์ คือพฤติกรรมทีผ่ ู้เรียนที่สามารถกระทาได้ หลังจากการจัดกิจ กรรมการ
เรียนรู้ ซึง่ ครูสามารถสังเกตได้ เช่น นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ได้
1.2.4 เนื้อหา ควรมีขอบเขตและความยากง่ายเหมาะสมกับช่วงอายุและระยะเวลาในการ
สอน เนื้อหาควรมีความสัมพันธ์กบั แนวคิด จุดประสงค์ และกิจกรรม นอกจากนี้บทเพลง (เนื้อร้อง
และโน้ตเพลง) ทีใ่ ช้ประกอบกิจกรรมควรจัดเสนอไว้กบั เนื้อหาด้วย ตัวอย่างเนื้อหาได้แก่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็ นพื้นฐานของเสียงประสานในเพลงหนู มาลีมโี น้ตขัน้ คู่แบบเมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่ ง
ด้วยกัน
1.2.5 กิจกรรม คือสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในระหว่างการเรียนการสอน ประกอบด้วย 3 ดังนี้
1.2.5.1 กิจกรรมในขัน้ นี้เป็ นการทบทวนสิง่ ทีเ่ รียนไปแล้วและแนะนาเพลงที่
จะเรียนใหม่ ใช้เวลาประมาณ 3 – 5
36

1.2.5.2 ขัน้ สอน กิจ กรรมในขัน้ นี้เ สนอหัว ข้อ และรายละเอียดของการปฏิบ ัติ
กิจกรรมแต่ละขัน้ ทีผ่ ู้เรียนจะเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรมมีหลายรูปแบบไม่ได้เน้นเพียงทักษะฟงั เพื่อทาให้
ผูเ้ รียนไม่รสู้ กึ เบื่อ
1.2.5.3 ขัน้ สรุป กิจกรรมสุดท้ายของการเรียนการสอน ซึ่งจะทาการสรุปและ
อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน รวมทัง้ ทาแบบฝึกหัดหลังเรียน เพื่อเป็ นการประเมินผล
หลังเรียน
1.2.6 สื่อการเรียนการสอน ช่วยให้ลกั ษณะนามธรรมของดนตรีเป็ นรูปธรรมมากขึ้น ผู้
เรียนรู้ดนตรีไ ด้ใจและมีประสิทธิภาพมากขึ้น สื่อที่ใช้ใ นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสต
ทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้น มีดงั นี้
1.2.6.1 บทเพลง ควรเป็ นบทเพลงทีเ่ หมาะสมกับอายุและระดับชัน้ ของผูเ้ รียน และ
เป็นบทเพลงทีม่ เี นื้อหาสาระสอดคล้องกับสิง่ ทีจ่ ะเรียน
1.2.6.2 แผนภู ม ิเ พลง ควรมีข นาดใหญ่ อ่ า นง่ า ย และเห็น ชัด เจน ซึ่ง จะ
ประกอบด้วยสัญญลักษณ์ หรือโน้ตดนตรี และคาร้อง ผูเ้ รียนสามารถขีดเขียน เพื่อวิเคราะห์ขนั ้ คู่ได้
1.2.6.3 แผนภูมริ ูปแบบจังหวะ ควรมีขนาดใหญ่ อ่านง่าย และเห็นชัดเจน ซึ่งจะ
ประกอบด้วย สัญญลักษณ์ของจังหวะและเสียงทีใ่ ช้แทนสัญญลักษณ์จงั หวะนัน้
1.2.6.4 กระดานรูปคียเ์ ปียโน ควรมีขนาดใหญ่ เห็นชัดเจน เพื่อประกอบการ
อธิบายเรือ่ งขัน้ คู่
1.2.6.5 แผนภาพทิศทางการขึน้ ลงของทานอง ควรมีขนาดใหญ่ เห็นชัดเจน เพื่อ
ประกอบการอธิบ ายเรื่อ งทิศ ทางการขึ้น ลงของท านองจากโน้ ต ตัว หนึ่ ง ไปยัง โน้ ต ตัว ถัด ไป มี
3 ทิศทางขึน้ ทิศทางลง และทิศทางคงที่
1.2.6.6 บัตรภาพขัน้ คู่ ควรมีขนาดใหญ่ เห็นชัดเจน เพื่อประกอบการอธิบายเรื่อง
ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval)
1.2.6.7 เปียโน ควรเป็ นเปียโน Upright Grand Piano มี
คุณภาพและเหมาะกับการฟงั
1.2.6.8
ปริมาณ อายุผเู้ รียน และเวลาเรียน
1.2.7 การวัดและประเมินผล ควรมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ การวัดและประเมินผลที่
ใช้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับ
ชัน้ ต้น มีดงั นี้
1.2.7.1 การสังเกต เป็ นสิง่ ทีผ่ ู้สอนสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียนโดยผูเ้ รียนไม่
รูต้ วั เช่น สังเกตการร้อง สังเกตการตบจังหวะ สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่
37

1.2.7.2 การทาแบบฝึ กหัด เป็ นสิ่งที่ผู้ส อนทดสอบความเข้าใจของผู้เ รียน ซึ่ง


แบบฝึกหัดต้องมีความสอดคล้องกับเนื้อหาทีเ่ รียน
1.2.8 หมายเหตุ เป็ นส่วนทีใ่ ช้บนั ทึกข้อสังเกต หรือ สิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการเรียน
การสอน
1.3 เปรียบเทียบระหว่างแผนการจัดการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสาหรับ
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้นระหว่างแผนการจัดการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะแบบปกติ Ear Without
Fear Volume 2
แผนการจัดกิจ กรรมการเรีย นรู้แ บ่ง เป็ น 2 เรีย นรู้
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้นและแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูด้ า้ นโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 ในแต่ละแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูม้ ี 8 แผนใน 1 แผนใช้เวลา 40 2 ซึง่ มีจานวนขัน้ คู่ครบตามโครงการ
สอน ได้แก่ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ และ
คู่ 8 เพอร์เฟค ซึง่ มีลาดับก่อนหลังแตกต่างกันดังรายละเอียดต่อไปนี้

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบระหว่างแผนการจัดการเรียนรู้ด้านโสตทัก ษะตามแนวคิดโคดาย


สาหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้นและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านโสตทักษะแบบปกติ Ear
Without Fear Volume 2
เนื้ อหา
เรียนรู้ แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
แผนที่
ด้านโสตทักษะแบบปกติ
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น Ear Without Fear Volume 2
1 ทดสอบก่อนการทดลอง ทดสอบก่อนการทดลอง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และแนะนาเรือ่ งขัน้ คู่ก่อนเริม่ เรียน
2 ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
3 ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
4 ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
5 ทบทวนขัน้ คู่ 2เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
คู่ 3 ไมเนอร์และคู่ 5 เพอร์เฟค
6 ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
38

ตารางที่ 4 (ต่อ)
เนื้ อหา
เรียนรู้ แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้
แผนที่
ด้านโสตทักษะแบบปกติ
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น Ear Without Fear Volume 2
7 ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
8 ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค ทบทวน ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
ทดสอบหลังการทดลอง ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคและขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
ทดสอบหลังการทดลอง

จากตารางที่ 4 จะเห็นว่าลาดับการเรียนชนิดขัน้ คู่ ได้แก่ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์


คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ และคู่ 8 เพอร์เฟค ระหว่างทัง้ 2 ด
กิจจกรรมมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโค
ดายสาหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน้ ต้น ได้นาเอาแนวคิดโคดายมาใช้ในเรื่องบทเพลงร้องสาหรับเด็ก
ทีน่ ามาใช้จะอยู่ในบันไดเสียงเพนตาโทนิก (Pentatonic Scale) จึงมีลาดับการเรียนชนิดขัน้ คู่ ดังนี้
คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ คู่ 8 เพอร์เฟค และคู่ 4 เพอร์เฟค
ส่วนในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดา้ นโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 ลาดับ
การเรียนชนิดขัน้ คู่เป็ นไปตามแบบเรียน Ear Without Fear Volume 2 จึงมีลาดับการเรียนชนิดขัน้
คู่ ดังนี้ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 8 เพอร์เฟค และ
คู่ 6 เมเจอร์

ตอนที่ 2 ภ พ (ด้านการฟังและความรู้) และรายด้าน


จากการทดลอง สาหรับ
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น ก่อนและหลังการทดลอง
การนาเสนอผลการวิจยั ในตอนนี้เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้าน
การฟงั ความรู้ และเจตคติจากการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้นก่อนและหลังทดลอง เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ t-test
มุ แบ่งการนาเสนอข้อมูลเป็น 2
39

2.1 ผลการทดสอบก่อนเรียนในภาพรวม ด้านการฟงั และด้านความรูร้ ะหว่างกลุ่มทดลอง


และกลุ่มควบคุม
2.2 ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม ด้านการฟงั ด้านความรู้ และด้านเจตคติระหว่าง
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันในการนาเสนอข้อมูล ผู้วจิ ยั ได้ใช้อกั ษรย่อและสัญลักษณ์ต่ าง ๆ
แทนค่าสถิตติ ่าง ๆ ดังนี้
N หมายถึง จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง
M หมายถึง ค่าเฉลีย่
SD หมายถึง ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
p หมายถึง ค่าความน่าจะเป็น
t หมายถึง ค่าสถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์แบบ t-test

2.1 ผลการทดสอบก่อนเรียนในภาพรวม ด้านการฟัง และด้านความรู้ระหว่างกลุ่ม


ทดลองและกลุ่มควบคุม
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในส่วนนี้เป็ นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการทดสอบ
ก่อนเรียนในภาพรวม ด้านการฟงั และด้านความรูร้ ะหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยแบ่งเป็ น
3 ตารางคือ ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลการทดสอบก่อนเรียนในภาพรวม
ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการ
ทดสอบก่อนเรียนด้านการฟงั ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และ 7 ผลการวิเคราะห์
เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนด้านความรูร้ ะหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

5 ผลการทดสอบก่อนเรียน (ด้าน
การฟงั และความรู)้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 16.31 6.63 1.11 0.29
กลุ่มควบคุม 8 12.50 7.16

จากตารางที่ 5 แสดงผลการวิเ คราะห์เ ปรียบเทียบ ผลการทดสอบก่ อ นเรียนใน


ภาพรวมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบก่อนเรียน
ระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 16.31, SD = 6.63) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 12.50, SD = 7.16)
40

เล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 แสดงว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองและ


กลุ่มควบคุมมี ผลการทดสอบก่อนเรียนในภาพรวมไม่แตกต่างกัน

6 ผลการวิเ คราะห์เปรียบเทียบ ผลการทดสอบก่อนเรียนด้านการฟ งั


ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 5.94 3.03 1.20 0.25
กลุ่มควบคุม 8 4.13 3.01

จากตารางที่ 6 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลการทดสอบก่อนเรียนด้านการ


ฟงั ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ค่าเฉลีย่ ผลการทดสอบก่อนเรียนด้านการฟงั ระหว่าง
กลุ่มทดลอง (M = 5.94, SD = 3.03) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 4.13, SD = 3.01) เล็กน้อยแต่ไม่
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 แสดงว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี
ผลการทดสอบก่อนเรียนด้านการฟงั ไม่แตกต่างกัน

7 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนด้านความรูร้ ะหว่างกลุ่ ม
ทดลองและกลุ่มควบคุม
การเปรียบเทียบ N M SD t P
กลุ่มทดลอง 8 10.38 4.21 0.93 0.37
กลุ่มควบคุม 8 8.38 4.37

จากตารางที่ 7 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการทดสอบก่อนเรียนด้าน
ความรูร้ ะหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบก่อนเรียนด้านความรู้
ระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 10.38, SD = 4.21) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 8.38, SD = 4.37)
เล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 แสดงว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองและ
กลุ่มควบคุมมีผลการทดสอบก่อนเรียนด้านความรูก้ ่อนการทดลองไม่แตกต่างกัน
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลการทดสอบก่อนเรียนในภาพรวม ด้าน
การฟงั และด้านความรู้ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ทัง้ ในทุกด้าน (ภาพรวม ด้านการฟงั และความรู)้
41

2.2 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในภาพรวม ด้านการฟั ง ด้านความรู้ และด้ านเจตคติ


ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในส่วนนี้เป็ นการเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการ
เรียนในภาพรวม ด้านการฟงั ด้านความรู้ และด้านเจตคติระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลัง
การทดลองโดยแบ่งเป็ น 4 ตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนในภาพรวม (ด้านการฟงั และความรู)้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการ
ทดลอง ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั ระหว่าง
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง ตารางที่ 10 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรู้ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง และ
11 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านเจตคติระหว่างกลุ่ม
ทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง

ตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (ด้าน


การฟงั และความรู)้ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 30.00 5.04 1.93 0.08
กลุ่มควบคุม 8 24.63 6.07

จากตารางที่ 8 แสดงผลการวิเ คราะห์เ ปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัม ฤทธิ ์ทางการเรีย นใน


ภ า พ ร ว ม ร ะ ห ว่ า ง ก ลุ่ ม ท ด ล อ ง แ ล ะ ก ลุ่ ม ค ว บ คุ ม ห ลั ง ก า ร ท ด ล อ ง พ บ ว่ า ค่ า เ ฉ ลี่ ย
หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 30.00, SD = 5.04)
สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 24.63, SD = 6.07) เล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี
ระดับ .05 แสดงว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวมหลัง
การทดลองไม่แตกต่างกัน

ตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั ระหว่าง


กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 13.38 3.58 1.21 0.25
กลุ่มควบคุม 8 11.13 3.87
42

จากตารางที่ 9 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการ


ฟงั ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง พบว่า ค่าเฉลีย่ ทางการเรียนด้าน
การฟงั หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 13.38, SD = 3.58) สูงกว่ากลุ่มควบคุม
(M = 11.13, SD = 3.87) เล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 แสดงว่า
ผูเ้ รียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั หลังการทดลองไม่แตกต่าง
กัน

ตารางที่ 10 ผลการวิเ คราะห์เ ปรีย บเทียบค่ าเฉลี่ยผลสัม ฤทธิท์ างการเรีย นด้า นความรู้
ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 16.63 3.20 1.77 0.10
กลุ่มควบคุม 8 13.50 3.82

จากตารางที่ 10 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้าน


ความรูร้ ะหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง พบว่า ค่าเฉลีย่ ทางการเรียน
ด้านความรูห้ ลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 16.63, SD = 3.20) สูงกว่ากลุ่มควบคุม
(M = 13.50, SD = 3.82) เล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 แสดงว่า
ผูเ้ รียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรูห้ ลังการทดลองไม่แตกต่าง
กัน

11 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านเจตคติ
ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง
การเปรียบเทียบ N M SD t p
กลุ่มทดลอง 8 32.75 2.25 5.49* 0.00
กลุ่มควบคุม 8 26.38 2.39
*P < 0.05

จากตารางที่ 11 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ด้านเจตคติระหว่างกลุ่มทดลอง


และกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านเจตคติระหว่างกลุ่มทดลอง (M = 32.75,
SD = 2.25) และกลุ่มควบคุม (M = 26.38, SD = 2.39) หลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมี
43

นัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 แสดงว่า ผู้เรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย่ ด้านเจตคติ


แตกต่างกัน

ในการวิเ คราะห์ค่ า เฉลี่ย จากแบบสัง เกตพฤติก รรมการเรีย นของกลุ่ ม ทดลองและกลุ่ ม


ควบคุมระหว่างการทดลองซึง่ ประเมินโดยผูส้ อนผูว้ จิ ยั ได้กาหนดเกณฑ์การจัดระดับพฤติกรรมเพื่อ
เป็นข้อมูลประกอบด้านเจตคติไว้ดงั นี้

เกณฑ์การจัดระดับพฤติ กรรมการเรียน
คะแนนระดับพฤติกรรมการเรียน 1.00 – 1.66
คะแนนระดับพฤติกรรมการเรียน 1.67 – 2.34 ปานกลาง
คะแนนระดับพฤติกรรมการเรียน 2.35 – 3.00 สูง

ตารางที่ 12 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในภาพรวม (ด้านปญั ญา ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ และด้านความรับผิดชอบ)
กลุ่มทดลอง ระดับ กลุ่มควบคุม ระดับ
พฤติกรรม
M SD พฤติกรรม M SD พฤติกรรม
1. ด้านปญั ญา 2.86 0.35 สูง 2.59 0.62 สูง
2. ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ 2.66 0.52 สูง 1.93 0.68 ปานกลาง
3. ด้านความรับผิดชอบ 2.84 0.36 สูง 1.92 0.60 ปานกลาง
ภาพรวม 2.79 0.43 สูง 2.15 0.65 ปานกลาง

จากตารางที่ 12 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับสูง


(M = 2.79, SD = 0.43) กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
(M = 2.15, SD = 0.65) เมื่อพิจารณารายด้าน กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้าน
ปญั ญามากทีส่ ุด (M = 2.86, SD = 0.35) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงส่วนด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ มี
ค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 2.66, SD = 0.52) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงสาหรับกลุ่ มควบคุม พบว่า มี
ค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้านปญั ญามากทีส่ ุด (M = 2.59, SD = 0.62) โดยมีเกณฑ์อยู่ใน
ระดับสูงส่วนด้านความรับผิดชอบมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 1.92, SD = 0.60) โดยมีเกณฑ์อยู่ใน
ระดับปานกลาง
44

ตารางที่ 13 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านปญั ญา
กลุ่มทดลอง ระดับ กลุ่มควบคุม ระดับ
ด้านปญั ญา
M SD พฤติกรรม M SD พฤติกรรม
1.1 ความเข้าใจเนื้อหา 2.91 0.29 สูง 2.66 0.71 สูง
1.2 การตอบคาถาม 2.81 0.39 สูง 2.50 0.56 สูง
1.3 ความสามารถในการฟงั 2.86 0.35 สูง 2.61 0.66 สูง
ค่าเฉลีย่ 2.86 0.35 สูง 2.59 0.62 สูง

จากตารางที่ 13 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้านปญั ญาอยู่ในระดับสูง


(M = 2.86, SD = 0.35) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความเข้าใจเนื้อหามีค่าเฉลีย่ มากทีส่ ุด
(M = 2.91, SD = 0.29) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงส่วนด้านการตอบคาถามมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด
(M = 2.81, SD = 0.39) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงสาหรับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการ
เรียนด้านปญั ญาอยู่ในระดับสูง (M = 2.59, SD = 0.62) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความ
เข้าใจเนื้อหามีค่าเฉลีย่ มากทีส่ ุด (M = 2.66, SD = 0.71) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงส่วนด้านการ
ตอบคาถามมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 2.50, SD = 0.56) โดยมีเกณฑ์อยูใ่ นระดับสูง

ตารางที่ 14 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ
กลุ่มทดลอง ระดับ กลุ่มควบคุม ระดับ
ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ
M SD พฤติกรรม M SD พฤติกรรม
2.1 มีความสุขในการเรียน 2.64 0.48 สูง 1.88 0.63 ปานกลาง
2.2 ความรูส้ กึ ต่อบทเพลง 2.64 0.57 สูง 1.91 0.66 ปานกลาง
2.3 ความรูส้ กึ ต่อครู 2.69 0.49 สูง 2.02 0.75 ปานกลาง
ค่าเฉลีย่ 2.66 0.52 สูง 1.93 0.68 ปานกลาง

จากตารางที่ 14 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ อยู่


ในระดับสูง (M = 2.66, SD = 0.52) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความรูส้ กึ ต่อครูมคี ่าเฉลีย่
มากทีส่ ุด (M = 2.69, SD = 0.49) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงส่วนด้านมีความสุขในการเรียนและ
ความรูส้ กึ ต่อบทเพลงมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 2.64, SD = 0.48 และ M = 2.64, SD = 0.57
ตามลาดับ) โดยมีเกณฑ์อยูใ่ นระดับสูงสาหรับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้านอารมณ์
45

ความรูส้ กึ อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 1.93, SD = 0.68) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้าน


ความรูส้ กึ ต่อครูมคี ่าเฉลีย่ มากทีส่ ุด (M = 2.02, SD = 0.75) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับปานกลางส่วน
ด้านมีความสุขในการเรียนมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 1.88, SD = 0.63) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับปาน
กลาง

ตารางที่ 15 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมในด้านความรับผิดชอบ
กลุ่มทดลอง ระดับ กลุ่มควบคุม ระดับ
ด้านความรับผิดชอบ
M SD พฤติกรรม M SD พฤติกรรม
3.1 ด้านการเรียน 2.84 0.37 สูง 1.94 0.61 ปานกลาง
3.2 การให้ความร่วมมือใน 2.83 0.38 สูง 1.84 0.60 ปานกลาง
กิจกรรม
3.3 การแก้ไขปญั หา 2.86 0.35 สูง 1.98 0.60 ปานกลาง
ค่าเฉลีย่ 2.84 0.36 สูง 1.92 0.60 ปานกลาง

จากตารางที่ 15 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนด้านความรับผิดชอบอยู่ใน


ระดับสูง (M = 2.84, SD = 0.36) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการแก้ไขปญั หามีค่าเฉลีย่ มาก
ทีส่ ุด (M = 2.86, SD = 0.35) โดยมีเกณฑ์อยู่ในระดับสูงส่วนด้านการให้ความร่วมมือในกิจกรรมมี
ค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 2.83, SD = 0.38) โดยมีเกณฑ์อยูใ่ นระดับสูงสาหรับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย่
พฤติกรรมการเรียนด้านความรับผิดชอบอยู่ในระดับปานกลาง (M = 2.59, SD = 0.62) เมื่อ
พิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการแก้ไขปญั หามีค่าเฉลีย่ มากทีส่ ุด (M = 1.98, SD = 0.60) โดยมี
เกณฑ์อยู่ในระดับปานกลางส่วนด้านการให้ความร่วมมือในกิจกรรมมีค่าเฉลีย่ น้อยทีส่ ุด (M = 1.84,
SD = 0.60) โดยมีเกณฑ์อยูใ่ นระดับปานกลาง

ในส่วนต่อไปเป็ นการนาเสนอแผนภูมเิ พื่อเปรียบเทียบระดับค่าเฉลีย่ ของผลสัมฤทธิ ์ทางการ


เรียนในภาพรวม ด้านการฟงั ความรู้ และเจตคติ หลังการทดลองและแผนภูมเิ พื่อเปรียบเทียบระดับ
ค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
46

83.97
83.12
90
80

75

67.64
66.87

67.5
61.56
70

55.63
60
50 กลุ่มทดลอง
ร้อยละ

40 กลุ่มควบคุม
30
20
10
0
ภาพรวม การฟงั ความรู้ เจตคติ

ภาพที่ 6 ค่าเฉลีย่ ของผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม ด้านการฟงั


ความรูแ้ ละเจตคติ หลังการทดลอง

จากภาพที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละของค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังการ


ทดลองระหว่า งกลุ่ มทดลองและกลุ่ ม ควบคุ ม พบว่ า หลังการทดลอง กลุ่ มทดลองมีร้อ ยละของ
ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั และความรู)้ (ร้อยละ 75) สูงกว่ากลุ่มควบคุม
(ร้อยละ 61.56) และเมือ่ พิจารณารายด้าน กลุ่มทดลองมีรอ้ ยละของค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียน
ด้านการฟงั ความรูแ้ ละเจตคติสูงกว่ากลุ่มควบคุม เพียงแต่ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั และ
ด้านความรูไ้ ม่มคี วามแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05
47

95.31

94.79
92.88
100

88.54
86.28
90

71.67
80

64.41

64.06
70
60 กลุ่มทดลอง
ร้อยละ
50
40 กลุ่มควบคุม
30
20
10
0
ภาพรวม ั
ด้านปญญา ด้านอารมณ์ ด้านความ
ความรู้สึก รับผิดชอบ

ภาพที่ 7 ร้อยละค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนระหว่างการทดลอง

จากภาพที่ 7 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละของค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลอง


และกลุ่มควบคุมระหว่างการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีรอ้ ยละค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนสูงกว่า
กลุ่มควบคุมในด้านภาพรวม (ด้านปญั ญา ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ และด้านความรับผิดชอบ) (ร้อย
ละ 92.88) เมือ่ พิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มทดลองมีรอ้ ยละค่าเฉลีย่ พฤติกรรมการเรียนสูงกว่ากลุ่ม
ควบคุมในด้านปญั ญา ด้านอารมณ์ ความรู้สกึ และด้านความรับผิดชอบ (ร้อยละ 95.31 ร้อยละ
88.54 และร้อยละ 94.79 ตามลาดับ)
48

35
30 30
25 24.63
20 ทดลอง
คะแนน

15 16.31 ควบคุม
12.5
10
5
0
ก่อ นเรียน หลังเรียน

ภาพที่ 8 ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั และความรู)้


ก่อนและหลังการทดลอง

จากภาพที่ 8 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั


และความรู)้ ก่อนและหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนและหลังการ
ทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั และความรู)้ (M = 16.31
และ M = 30.00 ตามลาดับ) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 12.50 และ M = 24.63 ตามลาดับ) และ
ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนในภาพรวม (การฟงั และความรู)้ หลังการทดลองของทัง้ สองกลุ่มมี
แนวโน้มสูงขึน้ จากก่อนการทดลอง
49

16
14
13.38
12
11.13
10
ทดลอง
คะแนน
8
ควบคุม
6 5.94
4 4.13
2
0
ก่อ นเรียน หลังเรียน

ภาพที่ 9 ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั ก่อนและ


หลังการทดลอง

จากภาพที่ 9 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั ก่อนและ


หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่ า ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมี
ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั (M = 5.94 และ M = 13.38 ตามลาดับ) สูงกว่ากลุ่ม
ควบคุม (M = 4.13 และ M = 11.13 ตามลาดับ) และค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านการฟงั
หลังการทดลองของทัง้ สองกลุ่มมีแนวโน้มสูงขึน้ จากก่อนการทดลอง
50

18
16 16.63
14 13.5
12
คะแนน 10 10.38 ทดลอง
8 8.38 ควบคุม
6
4
2
0
ก่อนเรียน หลังเรียน

ภาพที่ 10 ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรูก้ ่อนและ


หลังการทดลอง

จากภาพที่ 10 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรูก้ ่อนและ


หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมี
ค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรู้ (M = 10.38 และ M = 16.63 ตามลาดับ) สูงกว่ากลุ่ม
ควบคุม (M = 8.38 และ M = 13.50 ตามลาดับ) และค่าเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนด้านความรู้
หลังการทดลองของทัง้ สองกลุ่มมีแนวโน้มสูงขึน้ จากก่อนการทดลอง
51

บทที 5
สรุปผลการวิ จยั อภิ ปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจ ยั เรือ งการพัฒ นากิจ กรรมการเรีย นรู้ด้า นโสตทัก ษะตามแนวคิด โคดายสํ า หรับ
นักเรียนเปียโนระดับชัน& ต้น มีสาระสําคัญดังนี&

วัตถุประสงค์
1. เพือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับ
นักเรียนเปียโนระดับชัน& ต้น
2. เพือศึกษาผลสัมฤทธิ 0ทางด้านทักษะการฟงั ด้านความรูแ้ ละมีเจตคติทดี จี ากการทดลอง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปียโน
ระดับชัน& ต้น

วิ ธีดาํ เนิ นการวิ จยั


การวิ จ ัย ครัง& นี& เ ป็ น การวิจ ัย ในลัก ษณะการวิจ ัย แบบกึ ง ทดลอง (Quasi-Experimental
Research) แบบศึกษาสองกลุ่มวัดสองครัง& (The Two-Group Pretest – Posttest Design with
Nonequivalent Groups) โดยมีขนั & ตอนดังนี&

ขัน$ ที 1 เตรียมการ ศึกษาเอกสาร แนวคิ ด ทฤษฎี และงานวิ จยั ทีเกียวข้อง


ศึกษาข้อมูลพื&นฐานโดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร งานวิจยั ทีเกียวข้องเพือสร้างกรอบใน
การวิจยั ในหัวข้อดังต่อไปนี& ศึกษาเรืองของการสอนโสตทักษะ แนวคิดและวิธกี ารสอนดนตรีของ
โคดาย ดนตรีกบั พัฒนาการของเด็ก การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นการสอนดนตรีทวไป ั
การวัดและประเมินผลทางด้านการฟงั ความรูแ้ ละเจตคติและงานวิจยั ทีเ กีย วข้อง

ขัน$ ที 2 กําหนดประชากรและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชัน$ (Stratified Random


Sampling)
2.1 ประชากร คือนักเรียนทีเ รียนเปี ยโนเดีย วกับผูว้ จิ ยั ทีม ชี ่วง 7 - 12 ปี และเรียนเปี ยโนใน
ระดับชัน& ต้น
2.2 กลุ่มตัวอย่าง เป็ นนักเรียนทีเ รียนเปียโนเดีย วกับผูว้ จิ ยั ทีไ ด้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่ง
ชัน& (Stratified Random Sampling) จํานวน 16 คน โดยแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มอายุได้แก่ ช่วงอายุ
7 – 9 ปี มีจาํ นวน 8 คนและช่วงอายุ 10 – 12 ปี มีจาํ นวน 8 คน จากนัน& สุ่มตัวอย่างเพือแบ่งเป็ น
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยวิธกี ารจับฉลาก
52

ขัน$ ที 3 การสร้างเครืองมือทีใช้ในการวิ จยั


เครือ งมือทีใช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบ่งเป็ น 2 แผนคือ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น
และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ ้านโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2
(Preston, 2009) แบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่อนและหลังการทดลอง แบบทดสอบด้านความรู้
ก่อนและหลังการทดลอง แบบวัดเจตคติ และแบบสังเกตพฤติกรรม แบ่งเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านปญั ญา
ด้านอารมณ์ ความรู้สกึ และด้านความรับผิดชอบโดยมีขนั & ตอนการสร้างเครืองมือทีใช้ในการวิจยั
ดังนี& ขัน& ที 1 ศึกษาเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีทเี กีย วข้อง ขัน& ที 2 กําหนดเนื&อหาสาระของเครืองมือ
ทีใ ช้ในการวิจยั ขัน& ที 3 สร้างเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั ขัน& ที 4 นําเครือ งมือทีใ ช้ในการวิจยั ให้อาจารย์
ทีป รึกษาตรวจสอบจากนัน& นํ าไปให้ผูท้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ ขัน& ที 5 ปรับปรุง
และแก้ไ ขแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต ามคําแนะนํ าของอาจารย์ทปี รึกษา ผู้ทรงคุ ณวุฒ ิ และ
ผูเ้ ชีย วชาญ 3 ท่าน จากนัน& นํ าไปทดลองกับนักเรียนทีไ ม่ใช่กลุ่มตัวอย่างและขัน& ที 6 นํ าผลทีไ ด้จาก
การทดลองกับนักเรียนทีไ ม่ใช่กลุ่มตัวอย่างมาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง

ขัน$ ที 4 การเก็บรวบรวมข้อมูล


ในการเก็บรวบรวมข้อ มูลผู้วจิ ยั ได้ดําเนินการทัง& ก่ อน ระหว่ าง และหลังการทดลอง รวม
ระยะเวลา 5 สัปดาห์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี&
การคัดเลือกกุล่มทดลองและกลุ่มตัวอย่าง (สัปดาห์ที 1)
ขัน& ที 1 คัดเลือกนักเรียนทีม อี ายุระหว่าง 7 – 12 ปี และกําลังเรียนหนังสือเปี ยโนชุด Hal
Leonard Student Piano Library Book 2 กับผูว้ จิ ยั
ขัน& ที 2 จัดนักเรียนเป็ น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง 8 คน และกลุ่มควบคุม 8 คน โดยใช้วธิ แี บบ
แบ่งชัน& (Stratified Random Sampling)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (สัปดาห์ที 2 - 5)
ก่อนการทดลอง ระหว่างการทดลองและหลังการทดลอง
ขัน& ที 1 นักเรียนทัง& 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ทําแบบทดสอบทักษะด้านการ
ฟงั และแบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนการทดลอง
ขัน& ที 2 ดําเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้นทีผ ูว้ จิ ยั ได้สร้างขึน& มีทงั & หมด 8 แผน ใน 1 แผนใช้
เวลา 40 นาที สัปดาห์ละ 2 แผน และสอนกลุ่มควบคุมโดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ น
โสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกปญั หาและ
วิธกี ารแก้ไขปญั หาไว้ในหัวข้อหมายเหตุของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละมีการบันทึกภาพใน
วีดโี อ
53

ขัน& ที 3 ระหว่างการทดลอง ผูว้ จิ ยั ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนเพือช่วยวัดเจตคติของ


นักเรียนในชัน& เรียนทัง& กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ขัน& ที 4 นักเรียนทัง& 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ทําแบบทดสอบทักษะด้านการ
ฟงั แบบทดสอบด้านความรู้ และแบบวัดเจตคติหลังการทดลอง

ขัน$ ที 5 การวิ เคราะห์ข้อมูล สรุป อภิ ปรายผลและนําเสนอเป็ นวิ ทยานิ พนธ์ฉบับสมบูรณ์
ในการวิจยั ครัง& นี&มวี ตั ถุประสงค์เพือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตาม
แนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น และศึกษาผลสัมฤทธิ 0ทางด้านการฟงั ความรูแ้ ละ
เจตคติ จากการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปี ยโนระดับชัน& ต้น โดยมีการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี& 1. เปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนของกลุ่ม
ทดลองและกลุ่มควบคุ มก่ อ นและหลังการทดลองโดยใช้การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง
2 กลุ่ม ทีเ ป็ นอิสระจากกัน (t-test independent) แล้วนํ าเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบตาราง
ประกอบและความเรียง 2. วิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ ด้จากแบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนทีใ ช้ประกอบ
กับแบบวัดเจตคติเป็ นข้อมูลในการอภิปรายผล และ 3. สรุป อภิปรายผลและนํ าเสนอวิทยานิพนธ์
ฉบับสมบูรณ์

สรุปผลการวิ จยั
ผลการทดลองเรืองการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับ
นักเรียนเปียโนระดับชัน& ต้น สามารถสรุปผลการวิจยั ได้ดงั นี&
ตอนที 1 การพัฒ นาแผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ด้ า นโสตทัก ษะตามแนวคิ ด
โคดายสําหรับสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน$ ต้น
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทัก ษะตามแนวคิด โคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโน
ระดับชัน& ต้น ประกอบด้วย 7 หัวข้อดังนี&
1. แนวคิด เป็ นผลรวมของการเรียนหรือการมีประสบการณ์ กบั สิง ใดสิง หนึง ซึงเป็ น
นามธรรมมีอยู่ในความคิดของแต่ละบุคคล ซึงจะแตกต่ างกันออกไปแม้จะเป็ นเรืองเดียวกัน ทัง& นี&
ขึน& อยูก่ บั ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
2. จุดประสงค์ คือพฤติกรรมทีผู้เรียนทีสามารถกระทําได้ หลังจากการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ซึง ครูสามารถสังเกตได้
3. เนื&อหา ควรมีขอบเขตและความยากง่ายเหมาะสมกับช่วงอายุและระยะเวลาในการสอน
เนื&อหาควรมีความสัมพันธ์กบั แนวคิด จุดประสงค์ และกิจกรรม นอกจากนี&บทเพลง (เนื&อร้องและ
โน้ตเพลง) ทีใ ช้ประกอบกิจกรรมควรจัดเสนอไว้กบั เนื&อหาด้วย
54

4. กิจกรรม คือสิง ทีจ ะเกิดขึน& ในระหว่างการเรียนการสอน ประกอบด้วย 3 ขัน& ตอน ดังนี&


4.1 ขัน& นํ า กิจกรรมในขัน& นี&เป็ นการทบทวนสิง ทีเ รียนไปแล้วและแนะนํ าเพลงทีจ ะเรียน
ใหม่ ใช้เวลาประมาณ 3 – 5 นาที
4.2 ขัน& สอน กิจกรรมในขัน& นี&เสนอหัวข้อและรายละเอียดของการปฏิบตั กิ จิ กรรมแต่ละขัน&
ทีผ เู้ รียนจะเรียนรู้ ซึง กิจกรรมมีหลายรูปแบบไม่ได้เน้นเพียงทักษะฟงั เพือทําให้ผเู้ รียนไม่รสู้ กึ เบือ
4.3 ขัน& สรุป กิจกรรมสุดท้ายของการเรียนการสอน ซึง จะทําการสรุปและอภิปรายร่วมกัน
ระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รียน รวมทัง& ทําแบบฝึกหัดหลังเรียน เพือเป็ นการประเมินผลหลังเรียน
5. สือการเรียนการสอน ช่วยให้ลกั ษณะนามธรรมของดนตรีเป็ นรูปธรรมมากขึน& ผู้เรียนรู้
ดนตรีได้ใจและมีประสิทธิภาพมากขึน&
6. การวัดและประเมินผล ควรมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์
7. หมายเหตุ เป็ นส่วนทีใ ช้บนั ทึกข้อสังเกต หรือสิง ต่าง ๆ ทีเ กิดขึน& ในระหว่างการเรียนการ
สอน

ตอนที 2 ศึ กษาผลสัมฤทธิL ทางการเรียนในด้ านการฟั ง ความรู้และเจตคติ จากการ


ทดลองแผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิ ดโคดายสําหรับนั กเรียน
เปี ยโนระดับชัน$ ต้น
ในส่วนนี&เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติ t-test โดยสรุปผลการวิจยั ดังนี&
1. ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวม พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองและ
กลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ
.05
2. ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองและ
กลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ
.05
3. ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านความรู้ พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองและ
กลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านความรูไ้ ม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ
.05
4. ด้านเจตคติแบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ ค่าเฉลียด้านเจตคติซงึ ประเมินโดยผู้เรียนและค่าเฉลีย
พฤติกรรมการเรียนซึง ประเมินโดยผูส้ อน
4.1 ด้านเจตคติ พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลียด้าน
เจตคติแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 โดยทีค ่าเฉลีย ด้านเจตคติของกลุ่มทดลอง
(M = 32.75, SD = 2.25) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 26.38, SD = 2.39)
55

4.2 ค่าเฉลีย พฤติกรรมการเรียน พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลียพฤติกรรมการเรียนใน


ภาพรวมอยู่ในระดับสูง (M = 2.79, SD = 0.43) กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลีย พฤติกรรมการเรียนใน
ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 2.29, SD = 1.42) ในแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนแบ่งเป็ น
3 ด้าน คือด้านปญั ญา ด้านอารมณ์ ความรู้สกึ และด้านความรับผิดชอบ พบว่า กลุ่มทดลองมี
ค่าเฉลียพฤติกรรมการเรียนด้านปญั ญาอยู่ในระดับสูง (M = 2.86, SD = 0.35) ด้านอารมณ์
ความรูส้ กึ อยู่ในระดับสูง (M = 2.66, SD = 0.52) และด้านความรับผิดชอบอยู่ในระดับสูง
(M = 2.84, SD = 0.36) สําหรับกลุ่มควบคุม พบว่า มีค่าเฉลีย พฤติกรรมการเรียนด้านปญั ญาอยู่ใน
ระดับสูง (M = 2.59, SD = 0.62) ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ อยู่ในระดับปานกลาง (M = 1.93,
SD = 0.68) และด้านความรับผิดชอบอยูใ่ นระดับปานกลาง (M = 1.86, SD = 0.62)

สมมุติฐาน
การวิจ ยั ครัง& นี& ผู้ว ิจ ยั ตัง& สมมุ ติฐ านว่ า หลัง การทดลอง กลุ่ ม ทดลองทีไ ด้ร บั การทดลอง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น
จะมีผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านทักษะการฟงั และด้านความรู้ และมีเจตคติสูงกว่ากลุ่มควบคุมที
ได้รบั การทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ แต่ ผลการทดลอง สรุปได้ว่า หลังการ
ทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวมไม่แตกต่ างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 โดยกลุ่มทดลอง (M = 30.00, SD = 5.04) มีค่าเฉลีย สูงกว่ากลุ่ม
ควบคุม (M = 24.63, SD = 6.07) เมือพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี
ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 โดยกลุ่ม
ทดลอง (M = 10.38, SD = 4.21) มีค่าเฉลีย สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 8.38, SD = 4.37) ส่วน
ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านความรูไ้ ม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทรี ะดับ .05 โดยกลุ่ม
ทดลอง (M = 16.63, SD = 3.20) มีค่าเฉลีย สูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 13.50, SD = 3.82) แต่ใน
ด้านเจตคติกลุ่มทดลอง (M = 2.52, SD = 0.17) มีค่าเฉลียสูงกว่ากลุ่มควบคุม (M = 2.02,
SD = 0.18) แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 ซึง การวิจยั เป็ นไปตามสมมุตฐิ าน
บางส่วน

อภิ ปรายผลการวิ จยั


การอภิป รายผลการวิจยั เรือ งการพัฒนากิจ กรรมการเรียนรู้ด้านโสตทัก ษะตามแนวคิด
โคดายสําหรับนักเรียนเปียโนระดับชัน& ต้นมีประเด็นสําคัญทีค วรนํามาอภิปรายแบ่งเป็ น 3 ตอนดังนี&
ตอนที 1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน& ต้น
56

ตอนที 2 ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวม (ด้านการฟงั และด้านความรู)้ และรายด้าน


จากการทดลองแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน& ต้น
ตอนที 3 การอภิปรายในสิง ทีค น้ พบเพิม เติม
ในส่วนต่อไปเป็ นการนําเสนอรายละเอียดของการอภิปรายผลการวิจยั

ตอนที 1 แผนการจัดกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิ ดโคดายสําหรับ


นักเรียนเปี ยโนระดับชัน$ ต้น
จากการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับ
นักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น ผู้วจิ ยั ได้นํามาสร้างเป็ นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พือให้ในแต่ละ
แผนการสัป ดาห์ ม ีค วามต่ อ เนื อ งกัน และมีร ะเบีย บขัน& ตอน ซึง ในแต่ ล ะแผนการจัด กิ จ กรรม
ประกอบด้วย 7 หัวข้อดังนี& 1) แนวคิด 2) จุดประสงค์ 3) เนือหา 4) กิจกรรม 5) สือ การเรียนการสอน
6) การวัดและประเมินผล และ7) หมายเหตุ ผูเ้ รียนจะได้เรียนรูโ้ ดยมุง่ เน้นทักษะการร้องซึง จะนํ าไปสู่
การพัฒนาทักษะการฟงั โดยในแต่ละแผนการจัดกิจกรรมจะมีบทเพลงเป็ นสือการสอนทีส ําคัญ บท
เพลงต้องเป็ นบทเพลงทีเหมาะสมกับอายุและระดับชัน& ของนักเรียน และแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น ได้นําเอาแนวคิดโคดาย
มาใช้ในเรือ งบทเพลงร้องสําหรับเด็กทีน ํ ามาใช้จะอยู่ในบันไดเสียงเพนตาโทนิก (Pentatonic Scale)
จึงมีลาํ ดับการเรียนชนิดขัน& คู่ ดังนี& คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์
คู่ 8 เพอร์เฟค และคู่ 4 เพอร์เฟค ตามลําดับ ซึงการเรียงลําดับนี&สอดคล้องกับการเรียงลําดับใน
หนังสือแบบฝึ กหัด 333 Elementary Exercises (Kodaly, 1965) และเพลงร้องในสังคมไทย จึงเห็น
ได้ว่ าเนื& อ หาจะเรียงลํา ดับ จากง่ ายไปยาก และในขัน& สรุ ป ของกิจ กรรมทุ ก ครัง& นั ก เรีย นจะได้ทํ า
แบบฝึ กหัดเพือเป็ นการวัดและประเมินผลอีกทัง& ยังเป็ นส่วนทําให้นักเรียนได้สรุปสาระดนตรีทไี ด้
เรียนมาอีกครัง&
ครูผู้สอนจําเป็ นต้องศึกษาและทําความเข้าใจในรายละเอียดแต่ละหัวข้อเพือการเรียนการ
สอนทีม ปี ระสิทธิภาพเป็ นไปตามจุดประสงค์ทตี งั & ไว้ และสามารถปรับให้เหมาะกับผูเ้ รียนแต่ละบุคคล
ได้
สําหรับบทเพลงทีค ดั เลือกมาเป็ นสือในการเรียนการสอนในแผนการจัดการเรียนรูด้ า้ นโสต
ทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้นนัน& จะเปลีย นไปทุกแผนการจัดกิจกรรม
ซึง จะทําให้ผู้เ รียนรู้ส ึก สนุ ก และไม่เ บือหน่ ายกับการเรียนอีก ทัง& ได้เ รียนรู้บทเพลงทีห ลากหลาย
หากแต่ มขี ้อ จํา กัด สําหรับนัก เรียนบางคนทีไ ม่ส ามารถจดจําบทเพลงทีเ ปลียนไปทุ ก สัป ดาห์ไ ด้
ครูผสู้ อนอาจจะคัดเลือกหนึงบทเพลงทีน ํามาใช้ต่อการเรียนการสอนสองแผนการจัดกิจกรรมได้ทงั & นี&
57

บทเพลงนัน& ต้องมีสาระดนตรีครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมเหล่านัน& ส่วนบท


เพลงทีเ ป็ นภาษาต่างประเทศครูผูส้ อนควรอธิบายความหมายคําศัพท์บางคําทีผ ู้เรียนไม่ทราบ และ
การออกเสียงทีถูกต้องเพือให้ความรูแ้ ละความเข้าใจกับผู้เรียน อีกทัง& ทําให้การฝึ กร้องของผู้เรียน
เป็ นไปอย่างง่ายขึน&

ตอนที 2 ผลสัมฤทธิL ทางการเรียนในภาพรวม (ด้านการฟั งและด้านความรู้) และราย


ด้ า นจากการทดลองแผนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ด้ า นโสตทัก ษะตามแนวคิ ด โคดาย
สําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน$ ต้น
ก า ร อ ภิ ป ร า ย ข้ อ ค้ น พ บ ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ท0 า ง ก า ร เ รี ย น จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดายสําหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน& ต้น
แบ่งเป็ น 4 ส่วนคือ
ส่วนที 1 ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวม
การทีค่ าเฉลียผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวมทัง& ก่ อ นและหลัง การทดลองของกลุ่ ม
ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมเล็กน้ อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 อาจมี
สาเหตุมาจากในช่วงแรกของการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นแผนที 1 – 3 นักเรียนบางคนมีอาการไม่
มันใจในการร้
 องเนืองจากไม่เคยชินกับกิจกรรมการร้อง จึงทําให้เกิดอาการเกร็ง และตึงเครียด จึงทํา
ให้การเรียนการสอนเป็ นไปอย่างไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าทีค วร แต่ในแผนการจัดกิจกรรมต่อ ๆ มา
นักเรียนเริม เคยชินและสนุ กกับกิจกรรมการร้องมากขึน& ทําให้บรรยากาศการเรียนดีขน&ึ และการสอน
เป็ น ไปอย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพอีก ทัง& จํา นวนแผนทีใ ช้ใ นการทดลองมีเ พีย ง 8 แผน ซึง อาจยัง ไม่
เพียงพอทีท าํ ให้เกิดความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 เพียงแต่เห็นแนวโน้มว่า
ค่าเฉลีย ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนในภาพรวมว่าสูงขึน&
ส่วนที 2 ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั
การทีค่ าเฉลียผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั ทัง& ก่ อ นและหลัง การทดลองของกลุ่ ม
ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมเล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05เนืองจาก
กลุ่มทดลองซึง เป็ นแผนการจัดกิจกรรมตามแนวคิดโคดายนัน& จะมุ่งเน้นพัฒนาทักษะการฟงั โดยเริม
จากการสอนร้อง ผูเ้ รียนต้องร้องเพลงให้มคี ุณภาพ ไพเราะและมีระดับเสียงทีถูกต้อง ไม่เพีย& น ซึง
หากผูเ้ รียนบางคนไม่สามารถทําได้ครูผูส้ อนจะใช้สญ ั ญาณมือช่วยในการแก้ไขระดับเสียงให้ถูกต้อง
จึงทําให้มผี ลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านการฟงั ทีสูงกว่ากลุ่มควบคุมซึงสอดคล้องกับงานวิจยั ของ
Hensley (1981) พบว่าผลสัมฤทธิ 0ในด้านความรูเ้ กียวบันไดเสียง ทักษะการฟงั เพือแยกแยะทํานอง
และเสียงของนักเรียนเกรด 4 มีความแตกต่างกันและผลสัมฤทธิ 0ในด้านทักษะการฟงั เพือแยกแยะ
ทํานองและเสียงเครือ งดนตรีของนักเรียนเกรด 5 มีความแตกต่างกันสําหรับกลุ่มควบคุมใช้แผนการ
58

จัดการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะแบบปกติ Ear Without Fear Volume 2 นัน& การเรียนการสอนส่วนใหญ่


จะเน้ นไปทีการทําแบบฝึ กหัดการฟงั และบันทึกโน้ ตตามทีได้ยนิ ซึงผู้เรียนจะรูส้ กึ ตึงเครียดเพราะ
ต้องมีสมาธิและตัง& ใจในการฟงั เป็ นเวลานาน จึงเป็ นเหตุให้เกิดความเหนือยล้า อีกทัง& มีส่วนของการ
ร้อ งค่ อ นข้า งน้ อ ยและแบบฝึ ก หัด เป็ น ลัก ษณะร้อ งโน้ ต ไม่ ไ ด้ใ ช้ บ ทเพลงเป็ น สือ ผู้เ รีย นจึง เกิด
ความรู้ส ึก เบือ หน่ า ยทํ าให้ก ารพัฒนาทัก ษะด้านการฟ งั ของกลุ่ ม ควบคุ ม นี& เ ป็ น ไปน้ อ ยกว่ า กลุ่ ม
ทดลอง
ส่วนที 3 ผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านความรู้
การทีค่ าเฉลียผลสัมฤทธิ 0ทางการเรียนด้านความรู้ทงั & ก่ อ นและหลัง การทดลองของกลุ่ ม
ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมเล็กน้ อยแต่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี ะดับ .05 อาจมี
สาเหตุมาจากทัง& 2 กลุ่มได้มกี ารสรุปและอภิปรายร่วมกันระหว่างครูผูส้ อนและผูเ้ รียนในเรืองความรู้
ทางสาระดนตรีทไี ด้เรียนไปทุก ๆ แผนการจัดกิจกรรม อีกทัง& เมือเริม แผนการจัดกิจกรรมต่ อไป
ครูผสู้ อนจะทบทวนความรูท้ เี รียนไปแล้วในแผนการจัดกิจกรรมทีแ ล้ว
ส่วนที 4 ด้านเจตคติ
หลังการทดลองค่าเฉลียด้านเจตคติของกลุ่มทดลองแตกต่างจากกลุ่มควบคุมทัง& นี&ค่าเฉลีย
ด้านเจตคติของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม ซึง ในช่วงแรกของการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นแผน
ที 1 – 3 นักเรียนบางคนมีอาการไม่มนใจในการร้
ั องเนืองจากไม่เคยชินกับกิจกรรมการร้อง จึงทําให้
เกิดอาการเกร็ง และตึงเครียด แต่ในแผนการจัดกิจกรรมต่อ ๆ มา นักเรียนเริม เคยชินและสนุ กกับ
กิจกรรมการร้องมากขึน& ทําให้บรรยากาศการเรียนดีขน&ึ อีกทัง& แผนการจัดกิจกรรมมีการเรียงลําดับ
จากง่ายไปยากและเน้ นให้นักเรียนคิดและทําความเข้าใจจึงทําให้นักเรียนสามารถร่วมทํากิจกรรม
ต่าง ๆ ได้ โดยไม่รูส้ กึ ยาก นอกจากด้านเจตคติแล้วผู้วจิ ยั ได้สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
เพือเก็บข้อมูลประกอบกับด้านเจตคติดว้ ย ซึง พบว่าค่าเฉลีย พฤติกรรมการเรียนของกลุ่มทดลองอยู่
ในระดับสูงในขณะทีกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลียพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง อาจจะมีสาเหตุมาจาก
กิจกรรมในกลุ่มทดลองมีความหลากหลายและน่ าสนใจทําให้นักเรียนรูส้ กึ สนุ ก และมีส่วนร่วมในการ
เรียนมากกว่ากลุ่มควบคุมซึง กิจกรรมค่อนข้างซํ&าและน่ าเบือ

ตอนที 3 การอภิ ปรายในสิ งทีค้นพบเพิ มเติ ม


สิง ทีค้นพบเพิม เติมนอกเหนื อจากสิง ทีต้อ งการศึกษาในงานวิจยั แล้ว ผู้ว ิจยั ได้ค้นพบว่ า
ผูเ้ รียนในกลุ่มทดลองมีทกั ษะการร้องทีด ขี น&ึ เนืองจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะ
ตามแนวคิดโคดายในกลุ่มนี& ได้เน้นให้ผูเ้ รียนฝึ กร้องให้มคี ุณภาพในทุก ๆ กิจกรรม อีกทัง& ได้นําเอา
บทเพลงทีม คี วามเหมาะสมจึงทําให้ผูเ้ รียนรูส้ กึ ไม่ยากจนเกินไปและสนุ กกับการเรียนการสอนส่วน
กลุ่มควบคุมมีส่วนของการร้องค่อนข้างน้ อยและแบบฝึ กหัดเป็ นลักษณะร้องโน้ ตไม่ได้ใช้บทเพลง
เป็ นสือ ผู้เรียนจึง เกิดความรู้สกึ เบือ หน่ ายทําให้การพัฒนาทัก ษะด้านการร้องของกลุ่ มควบคุมนี&
59

เป็ นไปน้ อยกว่ากลุ่มทดลอง อีกทัง& ยังพบว่าผู้เรียนในกลุ่มทดลองทุกคนเมือได้ฝึกร้องบทเพลงใน


แผนการจัดกิจกรรมแล้วนัน& จะมีความรู้สกึ อยากเล่นเปี ยโน และเมือได้เล่นก็จะสามารถฝึ กเล่นได้
อย่างคล่องแคล่ว และเมือ ผูเ้ รียนเล่นผิดก็สามารถแก้ไขได้ดว้ ยตนเองเนืองจากผูเ้ รียนเล่นจากการได้
ยินเสียงภายใน (Inner hearing) ซึงสอดคล้องกับหลักการเสียงก่อนสัญญลักษณ์ (Mainwaring,
1951) กล่าวว่าสิง ทีสําคัญในการปฏิบตั ดิ นตรีคอื การทีผู้เรียนเห็นสัญญลักษณ์หรือโน้ ตแล้วได้ยนิ
เสียงภายใน จากนัน& จึงปฏิบตั เิ สียงทีไ ด้ยนิ ออกมา
ผูเ้ รียนในกลุ่มทดลองทีม ชี ่วงอายุ 7 – 9 ปี ส่วนใหญ่สามารถฝึ กร้องให้มคี ุณภาพได้ง่ายกว่า
กลุ่มทดลองทีม ชี ่วงอายุ 10 – 12 ปี เนืองจากผูเ้ รียนในวัยนี&เข้าใจระดับเสียงและสามารถเลียนเสียง
ได้ด ี อีกทัง& ไม่ค่อยมีอาการเกร็งในการร้องซึงสอดคล้องกับหลักการของโคดายทีก ล่าวว่าการเรียน
ดนตรีควรเริม ตัง& แต่เด็ก (Choksy, 1999) แต่กลุ่มทดลองทีม ชี ่วงอายุ 10 - 12 ปี สามารถทําความ
เข้าใจด้านความรูด้ นตรีได้ดแี ละรวดเร็ว
ผู้ เ รีย นหนึ ง คนทีเ รีย นในโรงเรีย นนานาชาติ นั &น จะมีค วามสามารถในการออกเสีย ง
ภาษาต่างประเทศทีด แี ละถูกต้อง สามารถฝึกร้องให้มคี ุณภาพได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว
และผู้เรียนหนึงคนทีมอี ุปสรรคเรืองการออกเสียง ในการฝึ กร้องมักจะออกเสียงไม่ถูกต้อง
ผูส้ อนพยายามแก้ไขซึง ได้ในระดับหนึงเท่านัน& ถึงอย่างไรก็ตามคะแนนด้านการฟงั ของนักเรียนคนนี&
ก็เพิม ขึน& จากคะแนนทดสอบก่อนเรียน 3 คะแนนเป็ น 11 คะแนนในการทดสอบหลังเรียน

ข้อเสนอแนะสําหรับการวิ จยั
ข้อเสนอแนะในการนําผลการวิจยั ไปใช้
1. ครูผูส้ อนควรทําความเข้าใจกับแผนการจัดกิจกรรมทุกหัวข้อ ได้แก่ แนวคิด จุดประสงค์
เนื&อหา กิจกรรม สือการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และหมายเหตุ เพือการเรียนการสอน
ทีม ปี ระสิทธิภาพ และสามารถปรับให้เหมาะกับผูเ้ รียนแต่ละบุคคลได้
2. ครูผสู้ อนควรร้องเพลงทีจ ะสอนให้ถูกต้องและไพเราะ เพือเป็ นตัวอย่างทีด ใี ห้กบั นักเรียน
อีกทัง& เป็ นการสร้างบรรยากาศทีด ใี นการเรียน
3. ครูผสู้ อนสามารถนํ าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ผี วู้ จิ ยั สร้างขึน& ไปประยุกต์ใช้กบั การ
สอนเครือ งดนตรีประเภทอืนได้
4. ครูผสู้ อนควรคัดเลือกบทเพลงทีเ หมาะกับอายุของนักเรียน ซึง มีช่วงเสียงทีผ เู้ รียน
สามารถร้องได้ และมีสาระดนตรีทจี ะสอนครบถ้วน

ข้อเสนอแนะในการทําวิจยั ครัง& ต่อไป


1. ในการวิจยั ครัง& นี&มเี พียง 8 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ น่ าจะเพิม จํานวนแผนทัง& นี&
เพือให้ได้ผลการวิจยั ทีช ดั เจนในผลสัมฤทธิ 0ด้านทักษะการฟงั และการร้องมากขึน&
60

2. ควรมีก ารวิ จ ัย กั บ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที ม ี ช่ ว งอายุ แ คบเช่ น อายุ 7 – 9 ปี เป็ น ต้ น เพื อ
จะทําให้เห็นถึงการวิจยั ในแนวลึกมากขึน&
3. ควรมีการวิจยั เกียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะตามแนวคิดโคดายใน
เครือ งดนตรีประเภทอืน
61

รายการอ้างอิ ง
ภาษาไทย
จุฑารัตน์ มณีวลั ย์. 2551. การสอนโสตทักษะด้านทํานองในหลักสูตรเปียโนระดับชัน ต้นของ
สํานักพิมพ์อลั เฟรด: กรณีศกึ ษาโรงเรียนดนตรีปิน' นคร. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. 2540. กิจกรรมดนตรีสาํ หรับครู. พิมพ์ครัง' ที( 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. 2537. หลักการของโคดายสู่การปฏิบตั .ิ พิมพ์ครัง' ที( 4. กรุงเทพมหานคร:
สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. 2541. จิตวิทยาการสอนดนตรี. พิมพ์ครัง' ที( 1. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. 2544. พฤติกรรมการสอนดนตรี. พิมพ์ครัง' ที( 3. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัชชา พันธ์เจริญ. 2535. การฝึกโสตประสาทแบบตะวันตกสําหรับนักเรียนไทย. ทุนวิจยั
รัชดาภิเษกสมโภช. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เดชาชัย สุจริตจันทร์. 2549. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท3 างการเรียนดนตรี เรือ' งการอ่านโน้ต
สากลเบืองต้นของนักเรียนชัน ประถมศึกษาปีที ' 3 ทีเ' รียนตามวิธกี ารสอนของโคดายกับ
วิธสี อนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ธวัชชัย นาควงศ์. 2541. การสอนดนตรีสาํ หรับเด็กตามแนวของโคได. กรุงเทพมหานคร:
สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธวัชชัย นาควงษ์. 2543. โคไดสู่การปฏิบตั .ิ พิมพ์ครัง' ที( 1. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธวัชชัย นาควงษ์. 2547. การทดลองใช้หลักสูตรการสอนดนตรีสากลตามแบบของโคดายและ
ออร์ฟในระดับประถมศึกษา (ช่วงชัน ที ' 1 - 2) ทีโ' รงเรียนวัดหลักสี.' กรุงเทพมหานคร:
สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธีรวุฒ ิ เอกะกุล. 2550. การวัดเจตคติ. พิมพ์ครัง' ที( 2. อุบลราชธานี: วิทยาออฟเซทการพิมพ์.
พงษ์ลดา นาควิเชียร. 2537. ผลสัมฤทธิใ3 นการเรียนดนตรีสากลขัน พืนฐานตามแนวคิดของ
โคดายของนักเรียนชัน ประถมศึกษาปีที ' 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝา่ ย
ประถม.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
62

พรพิไล เลิศวิชา และ อัครภูม ิ จารุภากร. 2550. ออกแบบกระบวนการเรียนรูโ้ ดยเข้าใจสมอง.


พิมพ์ครัง' ที( 1. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยาการเรียนรู.้
พิมลพรรณ เกษมนุ กูลฤกษ์. 2549. การศึกษาการสอนโสตทักษะของครูผสู้ อนสําหรับนักเรียน
เปียโนระดับชัน ต้น กรณีศกึ ษาโรงเรียนดนตรีสยามกลการบางนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์
มหาวิทยาลัยมหิดล.
วรรณดี แสงประทีปทอง. 2536. การวัดเจตคติ. วารสารการวัดการศึกษา. 14: 12 (มกราคม-
เมษายน 2536). 52-72.
วรรณี แกมเกตุ. 2551. วิธวี ทิ ยาการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครัง' ที( 2. กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิชย์ จันทร์เพ็ง. 2549. การพัฒนาแผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระศิลปะ เรือ' งขลุ่ยรีคอร์เดอร์ ชัน
มัธยมศึกษาปีที ' 2 โรงเรียนเทอดไทยวิทยาคม สํานักงานเขตพืนทีก' ารศึกษาร้อยเอ็ด
เขต 1 จังหวัด ร้อ ยเอ็ด โดยการสอนตามแนวคิด ของโคดาย. การศึก ษาค้นคว้าอิส ระ.
ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วัชรินทร์ สายสาระ. 2533. เทคนิคการฝึกโสตประสาท. เลย :ฝา่ ยเอกสารและตําราวิทยาลัยครู
เลย.
วิมลรัตน์ วิมลรัตนกุล. 2547. การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถทางการขับร้องของ
ครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์การเรียนรูใ้ ห้เด็กวัยอนุ บาลโดยการประยุกต์ใช้แนวคิด
ทางดนตรีของโคดาย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชรี า ภัทรายุตวรรณ์. 2545. คู่มอื การวัดทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: เมดิคลั มีเดีย
สุวทิ ย์ มูลคํา และคนอื(นๆ. 2549. การเขียนแผนการจัดการเรียนรูท้ เี ' น้นการคิด. กรุงเทพฯ: ภาพ
พิมพ์.
เอกลักษณ์ เล้าเจริญ. 2544. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท3 างการเรียน เรือ' งการฝึกโสตประสาท
ในรายปฏิบตั ศิ ลิ ป์สากล 1 ของนักเรียนชัน ต้นปีที ' 1 วิทยาลัยนาฏศิลป์ ระหว่างการสอน
แบบแยกกระสวนจังหวะและทํานอง กับการสอนแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีวทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
63

ภาษาอังกฤษ
Allport, G. W. 1954. The Historical Background of Modern Socail Psychology.
Lindzey, G., (ed.), The Handbook of Social Psychology. pp. 3-56. Massachusetts:
Addison-wesley Publishing Company.
Anastasi, A. 1990. Psychological Testing. 6th ed. New York: Micmillan.
Bem, D. J. 1970. Beliefs, Attitudes, and Human Affairs. 1st ed. Belmont, California:
Brooks/Cole Publishing.
Brown, T. W. 1990. An Investigation of The Effectiveness of A Piano Course in Playing by
Ear and Aural Skills Development for College Students (Doctoral Dissertation,
University of Illinois at Urbana Champaign, 1990. Dissertation Abstracts
International. 51: 4052.
Campbell, P. S. and Scott-Kassner, C. 2006. Music in Childhood: From Preschool through
the Elementary Grades. 3rd ed. Belmont, CA: Thomson Schirmer.
Choksy, L. 1999. The Kodaly Method I. New Jersey: Prentice-Hall Inc.
Dalby, B. (n.d.). The Gordon Institute for Music Learning[Online]. Available from:
http://www.giml.org/AboutMLT.pdf[2010, November 8]
Gordon, E. E. 1989. Learning Sequences in Music. Chicago: GIA Publications.
Fishbein, M. and Ajzen, L. 1975. Belief, Attitude, Intention and Behavior: An Introduction to
Theory and Research. New York: Addison-Wesley.
Gallo, F. 2010. The Kodaly Concept in The Secondary Choral Classroom Increasing The
Use of Kodaly-Inspired Technique. Kodaly Envoy.
Hensley, S. E. 1981. A Study of the Musical Achievement of Elementary Students Taught by
the Memphis City Curriculum Guide and Students Taught by the Traditional
Approach. Doctoral Dissertation. The Louisiana State University and Agricultural
and Mechanical Col.
Insko, C. A. 1967. Theories of Attitude Change. 1st ed. New York: Appleton-Century-Crofts.
Karpinski, G. S. 2000. Aural Skills Acquisition. New York: Oxford University Press.
Katz, D. The Social Psychology of Organizations. 1978. 2nd ed. New York: John Wiley and
sons.
Krech, D., C., R. S. and Ballachey, E. L. 1962. Individual in Society. NY: McGraw-Hill.
Kodaly, Z. 333 Elementary Exercises. London: Boosey and Hawkes. 1965.
64

Luce, J. R. 1965. Sight-Reading and Ear-Playing Abilities as Related to Instrumental


Music Students. Journal of Research in Music Education, 13: 101–109.
Preston, C. and Hale, C. 2009a. Ear Without Fear Volume 1. Wisconsin: Hal Leonard
Corporation.
Preston, C. and Hale, C. 2009b. Ear Without Fear Volume 2. Wisconsin: Hal Leonard
Corporation.
Preston, C. and Hale, C. 2009c. Ear Without Fear Volume 3. Wisconsin: Hal Leonard
Corporation.
Randel, D. M. 1996. The Harvard Concise Dictionary of Music and Musicains.
Cambridge: Harvard University Press.
Mainwaring, J. 1951. Psycological factors in the teaching of music: Part II: Applied
musicianship. British Journal of Educational Psychology, 21(3), 199-213.
McPherson, G. E. 1995. ‘Honing the craft’: Improving the way we teach the musically
gifted and talented. (169-176). In H. Lee & M. Barrett (Eds.). ‘Honing the Craft’:
Improving the Quality of Education. Proceedings of the Australian Society for Music
Education 10th National Conference held in Hobart.
Mehrens, W. A. and Lehmann, I. J. 1978. Measurement and Evaluation in Education and
Psychology. 2nd ed. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Musco, A. M. 2006. Effect of Learning Melodies by Ear on Performance Skills and Student
Attitudes. Journal of Research in Music Education. 36(2): 79-95.
OAKE (Organization of American Kodaly Educators). 1987. Music for Everyone,
Brochure of OAKE. Nicholls State University: Department of Music.
Rosenberg, M. J. 1960. Attitude Organization and Change. New Haven: Yale University.
Schleuter, S. L. 1984. A Sound Approach to Teaching Instrumentalists. Kent, OH: The Kent
State University Press.
Thurstone, L. L. 1959. The Measurement of Values. Chicago: University of Chicago Press.
Triandis, H. C. 1971. Attitude and Attitude Change. New York: John Wiley and Sons.
65

ภาคผนวก
66

ภาคผนวก ก
รายนามผูท้ รงคุณวุฒ ิ
67

รายนามผูท้ รงคุณวุฒิ
1. ผูเ้ ชีย่ วชาญในการตรวจสอบเครือ่ งมือการวิจยั
1.1 อาจารย์พรรษวัชร์ พุธวัฒนะ
หัวหน้าภาควิชาเปียโนและขับร้อง สถาบันดนตรียามาฮ่า
1.2 อาจารย์วภิ าวรรณ จาเนียรพันธุ์
อาจารย์ประจาสาขาดนตรีศกึ ษา วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1.3 อาจารย์ดวงกมล บางชวด
อาจารย์ประจาโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
68

ภาคผนวก ข
1. โครงการสอน
2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะตามแนวคิดโคดาย
สาหรับนักเรียนเปี ยโนระดับชัน้ ต้น
3. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นโสตทักษะแบบปกติ
Ear Without Fear Volume 2
69

โครงการสอน

เนื้ อหา
เรียนรู้ แผนการจบดกิ จกรรมการเรียนรู้
แผนที่
ด้านโสตทบกษดแนนีกติ
สาหรบนนบกเรียนเีี ยโนรดดบนชบน้ ต้น Ear Without Fear Volume 2
1 ทดสอบก่อนการทดลอง ทดสอบก่อนการทดลอง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และแนะนาเรือ่ งขัน้ คู่ก่อนเริม่ เรียน
2 ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
3 ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
4 ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
5 ทบทวนขัน้ คู่ 2เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
คู่ 3 ไมเนอร์และคู่ 5 เพอร์เฟค
6 ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
7 ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
8 ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค ทบทวน ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
ทดสอบหลังการทดลอง ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคและขันคู ้ ่ 6 เมเจอร์
ทดสอบหลังการทดลอง
70

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ทดสอบก่อนเรียนเรียน แผนการสอนที่ 1


และขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คูเ่ ป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) เป็ นสัญญลักษณ์แทนอัตราจังหวะของโน้ตสากล
3. รูปแบบมีหลายลักษณะเกิดจากการสร้างสรรค์โดยการนาองค์ประกอบโครงสร้างของ
รูปแบบมาเป็ นตัวกาหนด
4. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลงหนูมาลีได้
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของเพลงหนูมาลีได้
4. นักเรียนสามารถตบจังหวะตามเพลงหนูมาลีได้
5. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ในเพลงหนูมาลีได้
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
8. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
9. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูก้ อ่ นเรียน
10. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน
71

เนื้ อหา
ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพื้น ฐานของเสียงประสานในเพลงหนู มาลีมโี น้ตขัน้ คู่แบบเมโลดิก
เกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลงหนู ม าลีมีโ น้ ต ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์เ กิด ขึ้นหลายตาแหน่ งด้ว ยกัน ซึ่ง โน้ ต ขัน้ คู่ 2
เมเจอร์ห่างกัน 2 ครึง่ เสียง (1 เสียง) ได้แก่ โด-เร และ เร-มี ดังคียเ์ ปียโน

X X X
72

เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเป็ นเพลงสาหรับเด็กทีน่ าทานองมาจากเพลง Mary Had a Little Lamp
เป็ นเพลงพื้นเมือง ประพันธ์โดย Sarah Josepha Buell Hale (1788 - 1879) นักเขียนชาว
อเมริกนั ซึง่ นามาใส่เนื้อร้องภาษาไทยดังนี้
หนูมาลี
ทำนอง Mary Had a Little Lamp
เนื้อร้อง มล.มณีรตั น์ บุนนำค
C = do
m คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์

คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลงหนูมาลีพบว่ามีขนั ้ คู่ดงั ต่อไปนี้ คู่ 2 เมเจอร์ทศิ ทางขึน้


และลง (มี-เร, เร-โด, โด-เร และ เร-มี) และมี ปแบบเป็ นไบนารี (Binary Form) คือ รูปแบบที่
ประกอบด้วย 2 ส่วนลักษณะเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน คือ AA’
73

สบญญาณมือ
โคดายดัดแปลงมาจากสัญญาณมือที่ จอห์น เคอร์เวน (John Curwen) คิดขึน้ มา การใช้
สัญญาณมือนัน้ จะใช้ควบคู่ไปกับการอ่านโน้ต เพื่อแทนระดับเสียงต่างๆ ช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรู้
เรื่องระดับเสียง และช่วงห่างของระดับเสียงได้อย่างชัดเจน

และในเพลงหนูมาลีมกี ารใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด, เร, มี และซอล)
ดังต่อไปนี้

ซอล

มี

เร

โด
74

สบญลบกษณ์ของจบงหวด
โคดายยังได้กาหนดเสียงใช้ในการเรียกสัญลักษณ์ ต่างๆ ไว้ เพื่อให้ผเู้ รียนใช้พูดแทน
การตบมือได้ด้ว ย ในเพลงหนู มาลีได้น าเอาสัญลักษณ์ ของจังหวะมาใช้ในรูป แบบจังหวะ A
ดังต่อไปนี้

ทีม - ริ – ที - ที - ที - ทา

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้า
โน้ตตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ากว่าแต่ถา้ โน้ตซ้าอยู่
ทีร่ ะดับเสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลงหนู มาลีมที ศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่
2 เมเจอร์: โด-เร) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบความรูก้ อ่ นเรียน
1.2 นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน
1.3 ครูรอ้ งเพลงหนูมาลีให้นกั เรียนฟงั แล้วถามนักเรียนว่าเคยฟงั หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลงหนูมาลีให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรือ่ งเนื้อเพลงและระดับ
เสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูเล่าประวัตแิ ละผูแ้ ต่งเพลงหนูมาลีให้นักเรียนฟงั
2.3 ครูถามนักเรียนว่าในเนื้อเพลงหนูมาลีม ที ่อนใดทีเ่ หมือนกันหรือไม่ และให้นักเรียน
ยกมือขวาในเนื้อเพลงท่อนแรก และยกมือซ้ายในท่อนทีต่ ่างออกไป
2.4 แ ร่วมอภิปรายและสรุปเรื่องรูปแบบเพลงหนูมาลี ว่าเป็ น ปแบบไบ
นารี (Binary Form) คือ AA’
2.5 ครูรอ้ งโน้ตในเพลงหนูมาลีให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.6 นักเรียนร้องโน้ตเพลงหนูมาลี (โด, เร, มี และซอล) ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.7 บ ปแบบจังหวะ A หนูมาลีให้นกั เรียนตบมือตาม
2.8 บ ปแบบจังหวะ A และให้นักเรียนอ่านออกเสียง ทีม-ริ–ที- -ที-ที-ทา
75

2.9 ครูนาแผนภูมเิ พลงหนูมาลีให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนบอกว่าช่วงใดทีม่ รี ูปแบบ


จังหวะเหมือนกับรูปแบบจังหวะ A
2.10 นักเรียนตบมือตามจังหวะทานองเพลงหนูมาลีทงั ้ เพลง แล้วครูกบั นักเรียนสนทนา
กันถึงลักษณะ ความหมายและค่าของโน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) อ่านว่า ที มีอตั ราจังหวะ 1/2
จังหวะ หรือโน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ 2 ( ) มีอตั ราจังหวะ 1 จังหวะ
2.11 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตมี-เร เร-โด โด-เร และเร-มี ห่างกันเท่าใด
2.12 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขันคู ้ ่ 2 เมเจอร์ (มี-เร เร-โด โด-เร และเร-มี) ซึง่ ห่างกัน
2 ครึง่ เสียง (1 เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.13 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ในแผนภูมเิ พลงหนูมาลี
2.14 ครูกดโน้ตห้องที่ 1 และ 2 ในเพลงหนูมาลีบนเปี ยโนให้นกั เรียนฟงั ให้นักเรียน
สังเกตทิศทางการขึน้ ลงของเสียง แล้วอภิปราย
2.15 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลงหนูมาลี ดังแผนภาพทิศทางการขึน้
ลง
2.16 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลงหนูมาลี
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 2 เมเจอร์

การสอน
1. แผนภูมเิ พลงหนูมาลี
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. แผนภาพทิศทางการขึน้ ลง 2 เมเจอร์
4. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 2 เมเจอร์
5. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
6. เปี ยโน
7. กระดาษ
8. ดินสอ
9. แบบทดสอบความรูก้ อ่ นเรียน
10. แบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน
76

1. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
3. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
4. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
5. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เเรือ่ งโน้ตขันคู้ ่ 2 เมเจอร์
6. การทาแบบทดสอบความรูก้ อ่ นเรียน
7. การทาแบบทดสอบการฟงก่ ั อนเรียน

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
77

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ (โด-เร) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 2 ครึง่ เสียง
ค. 3 ครึง่ เสียง ง. 4 ครึง่ เสียง

2. โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) มีอตั ราจังหวะ


ก. 1/2 จังหวะ ข. 1 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 3 จังหวะ

3. จงทาเครือ่ งหมาย X เพิม่ บ ป ( ) เพือ่ ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 2 เมเจอร์


ก. โด-มี ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
78

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ลง ()

1.

ทิศทาง

2.

ทิศทาง

3.

ทิศทาง

4.

ทิศทาง
79

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ข. 2 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ (โด-เร) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 2 ครึง่ เสียง
ค. 3 ครึง่ เสียง ง. 4 ครึง่ เสียง

2. โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) มีอตั ราจังหวะ


ก. 1/2 จังหวะ ข. 1 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 3 จังหวะ

3. จงทาเครือ่ งหมาย X บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์

X X

หรือ

X
X

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 2 เมเจอร์


ก. โด-มี ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
80

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ขึ้น() แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ลง()

1.

ทิศทาง ขึ้น()

2.

ทิศทาง ลง()

3.

ทิศทาง ลง()

4.

ทิศทาง ขึ้น()
81

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
82

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 2


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
โน้ตขัน้ คู่เป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึ่งเป็ นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลง When the Saints Go Marching In ได้
3. นักเรียนสามารถตบจังหวะตามเพลง When the Saints Go Marching In ได้
4. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ในเพลง When the Saints Go
Marching In ได้
5. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
8. นักเรียนสามารถเล่นเพลง When the Saints Go Marching In ได้อย่างถูกต้องและ
ตรงจังหวะ

เนื้ อหา
ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง When The Saints Go Marching
In มีโน้ตขัน้ คูแ่ บบเมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
83

ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน


และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลง When The Saints Go Marching In มีโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์เกิดขึน้ หลาย


ตาแหน่ งด้วยกัน ซึง่ โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ห่างกัน 4 ครึง่ เสียง (2 เสียง) ได้แก่ โด-มี ดังคียเ์ ปียโน

X X
84

เพลง When The Saints Go Marching In


เพลง When The Saints Go Marching In เป็ นเพลงพื้นบ้านทีก่ ล่าวถึงนักบุญ (The
Saints) และใช้เ ป็ นเพลงสวดพระกิตติคุณ แต่ใ นป จั จุบ ัน นี้เ ป็ นที่นิ ยมเล่น ในวงดนตรีแ จ๊ ส
ประพันธ์ทานองโดย James Milton Black (1856 – 1938) และเนื้อร้องโดย Katharine Purvis
(died 1909)

When The Saints Go Marching In

C = do ทำนอง James Milton Black


เนื้อร้อง Katharine Purvis
คู่ d
3 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์

คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์

คู่ 3 เมเจอร์

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลง When The Saints Go Marching In พบว่ามีขนั ้ คู่


ดังต่อไปนี้ คู่ 3 เมเจอร์ทศิ ทางขึน้ และลง (โด-มี)
85

สบญญาณมือ
เพลง When The Saints Go Marching In มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคู่ไปกับการอ่าน
โน้ต (โด, เร, มี, ฟา และซอล) ดังต่อไปนี้

ซอล

ฟา

มี

เร

โด

เครื่องหมายทาย
ทาย (Tie) คือ เครื่อ งหมายที่ม ีล ัก ษณะเป็ น เส้น โค้ง เชื่อ มต่ อ กัน ของหัว โน้ ต
2 บ ( ) เวลาเล่นให้รวมอัตราจังหวะของโน้ตทัง้ 2

ลบกษณดของรูีแนน (Form)
ปแบบไบนารี (Binary Form) คือ รูปแบบทีป่ ระกอบด้วย 2 ส่วนลักษณะเหมือนหรือ
คล้ายคลึงกัน คือ AA’ (A’ แสดงว่าเป็ นรูปแบบเดียวกับ A มีความแตกต่างในรายละเอียดบาง
ประการ)
86

สบญลบกษณ์ของจบงหวด
โคดายยังได้กาหนดเสียงใช้ในการเรียกสัญลักษณ์ ต่างๆ ไว้ เพื่อให้ผเู้ รียนใช้พูดแทน
การตบมือได้ด้ว ย ในเพลงหนู มาลีได้น าเอาสัญลักษณ์ ของจังหวะมาใช้ในรูป แบบจังหวะ B
ดังต่อไปนี้

ทา – ทา - ทา–อา-อ -อ -อา
กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูรอ้ งเพลง When the Saints Go Marching In และถามนักเรียนว่าเคยฟงั หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลง When the Saints Go Marching In ให้นักเรียนร้องตามโดยครู
แนะนาในเรือ่ งเนื้อเพลงและระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูเล่าประวัตแิ ละผูแ้ ต่งเพลง When the Saints Go Marching In ให้นักเรียนฟงั
2.3 ครูรอ้ งโน้ตในเพลง When the Saints Go Marching In ให้นักเรียนร้องตามโดยครู
แนะนานักเรียนในเรือ่ งระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.4 นักเรียนร้องโน้ตเพลง When the Saints Go Marching In (โด, เร, มี, ฟาและซอล)
ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.5 บ ปแบบจังหวะ B When the Saints Go Marching In
ให้นักเรียนตบมือตาม
2.6 บ ปแบบจังหวะ B และให้นักเรียนอ่านออกเสียง ทา-ทา-ทู-อู
2.7 ครูนาแผนภูมเิ พลง When the Saints Go Marching In ให้นักเรียนดู แล้วให้
นักเรียนบอกว่าช่วงใดทีม่ รี ปู แบบจังหวะเหมือนกับ ปแบบจังหวะ B
2.8 ครูกบั นักเรียนสนทนากันถึงลักษณะ ความหมายของเครื่องหมายทาย (Tie)
2.9 นักเรียนตบมือตามจังหวะทานองเพลง When the Saints Go Marching In ทัง้
เพลง
2.10 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตโด-มี ห่างกันเท่าใด
2.11 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขันคู้ ่ 3 เมเจอร์ (โด-มี) ซึง่ ห่างกัน 4 ครึง่ เสียง (2 เสียง)
โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.12 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลง When the Saints Go Marching In
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 3 เมเจอร์
87

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง When the Saints Go Marching In
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 3 เมเจอร์
4. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
5. เปี ยโน
6. กระดาษ
7. ดินสอ

1. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
2. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
3. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
4. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 3 เมเจอร์
5. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
88

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 เมเจอร์
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ (โด-มี) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 2 ครึง่ เสียง
ค. 3 ครึง่ เสียง ง. 4 ครึง่ เสียง

2. โน้ตต่อไปนี้ มีอตั ราจังหวะ


ก. 4 จังหวะ ข. 5 จังหวะ
ค. 6 จังหวะ ง. 7 จังหวะ

3. จงทาเครือ่ งหมาย X เพิม่ บ ป ( ) เพือ่ ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 3 เมเจอร์


ก. มี-ซอล ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. ฟา-
89

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 เมเจอร์
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง

2.

ทิศทาง

3.

ทิศทาง

4.

ทิศทาง
90

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 เมเจอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ง. 4 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ (โด-มี) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 2 ครึง่ เสียง
ค. 3 ครึง่ เสียง ง. 4 ครึง่ เสียง

2. โน้ตต่อไปนี้ มีอตั ราจังหวะ


ก. 4 จังหวะ ข. 5 จังหวะ
ค. 6 จังหวะ ง. 7 จังหวะ

3. จงทาเครือ่ งหมาย X บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์

X X

หรือ

X
X

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 3 เมเจอร์


ก. มี-ซอล ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. ฟา-ลา
91

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 เมเจอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ลง() แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง ลง()

2.

ทิศทาง ขึ้น()

3.

ทิศทาง ขึ้น()

4.

ทิศทาง ขึ้น()
92

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
93

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ แผนการสอนที่ 3


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึ่งเป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. รูปแบบมีหลายลักษณะเกิดจากการสร้างสรรค์โดยการนาองค์ประกอบโครงสร้างของ
รูปแบบมาเป็ นตัวกาหนด
3. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลงร่าเริงใจได้
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของเพลงร่าเริงใจได้
4. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ในเพลงร่าเริงใจได้
5. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา

ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพื้นฐานของเสียงประสานในเพลงร่าเริงใจมีโน้ตขัน้ คู่แบบเมโลดิก
เกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
94

ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


ในเพลงร่าเริงใจมีโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์เกิดขึน้ หลายตาแหน่ งด้วยกัน ซึ่งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไม
เนอร์หา่ งกัน 3 ครึง่ เสียง (1.5 เสียง) ได้แก่ มี-ซอล ดังคียเ์ ปียโน

X X
95

เพลงร่าเริ งใจ
เพลงร่าเริงใจเป็ นเพลงสาหรับเด็ก ประพันธ์เนื้อร้องและทานองโดย ณรุทธ์ สุทธจิตต์ มี
เนื้อร้องและทานองดังนี้
เพลงร่าเริ งใจ
เนื้อร้อง-ทำนอง ณรุทธ์ สุทธจิตต์
C = do
m
คู่ 3 ไมเนอร์

คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์

คู่ 3 ไมเนอร์

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลงร่าเริงใจพบว่ามีขนั ้ คู่ดงั ต่อไปนี้ คู่ 3 ไมเนอร์ (มี-ซอล)


และมี ปแบบเป็ นเทร์นารี (Ternary Form) คือ รูปแบบทีป่ ระกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ ๆ โดยมี
ส่วนกลางทีแ่ ตกต่างไปจากส่วนต้นและส่วนท้าย คือ ABA
96

สบญญาณมือ
เพลงร่าเริงใจ มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคู่ไปกับการอ่านโน้ต (โด, เร, มี, ซอล และลา)
ดังต่อไปนี้

ลา

ซอล

มี

เร

โด

เครื่องหมายซา้
D.C. al Fine (Da Capo al Fine) หมายถึง ให้กลับไปเล่นตัง้ แต่ตน้ จนถึงคาว่า Fine

ลบกษณดของรูีแนน (Form)
ปแบบเทร์นารี (Ternary Form) คือ รูปแบบทีป่ ระกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ ๆ โดยมี
ส่วนกลางทีแ่ ตกต่างไปจากส่วนต้นและส่วนท้าย คือ ABA อ ABA’

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้า
โน้ตตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ากว่าแต่ถา้ โน้ตซ้าอยู่
ทีร่ ะดับเสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลงร่าเริงใจมีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 3 ไม
เนอร์: มี- อ ) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้
97

ห้องเพลงร่าเริ งใจ ทิ ศทาง

ห้องที่ 1

ห้องที่ 5

ห้องที่ 10 และ 11

ห้องที่ 14 และ 15

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูรอ้ งเพลงร่าเริงใจให้นกั เรียนฟงั แล้วถามนักเรียนว่าเคยฟงั หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลงร่าเริงใจให้นกั เรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรือ่ งเนื้อเพลงและระดับ
เสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูถามนักเรียนว่าในเนื้อเพลงร่าเริงใจมีท่อนใดทีเ่ หมือนกันหรือไม่
2.3 นักเรียนยกมือขวาในเนื้อเพลงท่อนแรก และยกมือซ้ายในท่อนทีต่ า่ งออกไป
2.4 แ นักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปเรื่องเครื่องหมายซ้า D.C. al Fine ทีม่ ใี น
เพลงร่าเริงใจ
2.5 แ ร่วมอภิปรายและสรุปเรื่องรูปแบบเพลงร่าเริงใจ ว่าเป็ น ปแบบเทร์
นารี (Ternary Form) คือ ABA
2.6 ครูรอ้ งโน้ตในเพลงร่าเริงใจให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.7 นักเรียนร้องโน้ตเพลงร่าเริงใจ (โด, เร, มี, ซอลและลา) ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.8 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตมี-ซอล ห่างกันเท่าใด
2.9 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขันคู ้ ่ 3 ไมเนอร์ (มี-ซอล) ซึง่ ห่างกัน 3 ครึง่ เสียง (1.5
เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.10 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ในแผนภูมเิ พลงร่าเริงใจ
98

2.11 ครูกดโน้ตห้องที่ 1, 5, 10, 11, 14 และ 15 ในเพลงร่าเริงใจบนเปี ยโนให้นกั เรียน


ฟงั ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางการขึน้ ลงของเสียง แล้วอภิปราย
2.12 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลงร่าเริงใจ ดังแผนภาพทิศทางการขึน้
ลง
2.13 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลงร่าเริงใจ
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 3 ไมเนอร์

การสอน
1. แผนภูมเิ พลงร่าเริงใจ
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. แผนภาพทิศทางการขึน้ ลง
4. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 3 ไมเนอร์
5. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
6. เปี ยโน
7. กระดาษ
8. ดินสอ

1. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
2. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
3. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 3 ไมเนอร์
4. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
99

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 ไมเนอร์
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ (มี-ซอล) ห่างกันกีเ่ สียง
ก. 1 เสียง ข. 1.5 เสียง
ค. 2 เสียง ง. 3 เสียง

2. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


ก. โด-มี ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. ที-เร

3. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นคู
ั ้ ่ 3 ไมเนอร์ กีต่ าแหน่ง

ก. 2 ตาแหน่ง ข. 3 ตาแหน่ง
ค. 4 ตาแหน่ง ง. 5 ตาแหน่ง

4. จงทาเครือ่ งหมาย X เพิม่ บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์

X
100

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 ไมเนอร์
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง
2.

ทิศทาง
3.

ทิศทาง
4.

ทิศทาง
101

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 ไมเนอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ข. 1.5 เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ (มี-ซอล) ห่างกันกีเ่ สียง
ก. 1 เสียง ข. 1.5 เสียง
ค. 2 เสียง ง. 3 เสียง

2. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


ก. โด-มี ข. เร-มี
ค. มี-ฟา ง. ที-เร

3. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นคู
ั ้ ่ 3 ไมเนอร์ กีต่ าแหน่ง
คู่ 3 ไมเนอร์

คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์

คู่ 3 ไมเนอร์

ก. 2 ตาแหน่ง ข. 3 ตาแหน่ง
ค. 4 ตาแหน่ง ง. 5 ตาแหน่ ง

4. จงทาเครือ่ งหมาย X เพิม่ บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์

X X
102

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 3 ไมเนอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ลง() แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง ลง()

2.

ทิศทาง ขึ้น()

3.

ทิศทาง ขึ้น()
4.

ทิศทาง ลง()
103

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
104

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค แผนการสอนที่ 4


1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คูเ่ ป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. โน้ตตัวขาว ( ) เป็ นสัญญลักษณ์แทนอัตราจังหวะของโน้ตสากล
3. รูปแบบมีหลายลักษณะเกิดจากการสร้างสรรค์โดยการนาองค์ประกอบโครงสร้างของ
รูปแบบมาเป็ นตัวกาหนด

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ได้
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ได้
4. นักเรียนสามารถตบจังหวะตามเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ได้
5. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคในเพลง Twinkle, Twinkle, Little
Star ได้
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ

เนื้ อหา

ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star มี
โน้ตขัน้ คูแ่ บบเมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน ดังบัตรภาพ
105

บัตรภาพโน้ตขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่แบบเมโลดิก


(Melodic Interval)

Harmonic Interval Melodic Interval


ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
Harmonic Interval Melodic Interval
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star มีโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค เกิดขึน้ หลายตาแหน่ ง
ด้วยกัน ซึง่ โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ห่างกัน 7 ครึง่ เสียง (3.5 เสียง) ได้แก่ โด-ซอล ดังคียเ์ ปียโน

X X
106

เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star


เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star เป็ นเพลงพืน้ บ้านชาวอังกฤษทีม่ ชี ่อื เสียง ซึง่ ถูกจัด
ไว้เป็ นเพลงวนพืน้ บ้านลาดับที่ 7666 เป็ นทีน่ ิยมนามาร้องกันทัง้ เด็กและผูใ้ หญ่ แต่งโดย Jane
Taylor (1783 - 1824) นักเขียนชาวอังกฤษ โดยมีเนื้อร้องและทานองดังนี้

Twinkle, Twinkle, Little Star


เนื้อร้อง Jane Taylor
C = do
ทำนอง Traditional
คู่ 5 เพอร์เฟค
d

คู่ 5 เพอร์เฟค

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star พบว่ามีขนั ้ คู่ 5 เพอร์
เฟคทิศทางขึน้ (โด-ซอล) และมี ปแบบเป็ นเทร์นารี (Ternary Form) คือ รูปแบบทีป่ ระกอบด้วย
3 ส่วนใหญ่ ๆ โดยมีสว่ นกลางทีแ่ ตกต่างไปจากส่วนต้นและส่วนท้าย คือ ABA
107

สบญญาณมือ
เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด,
เร, มี, ฟา, ซอล และลา) ดังต่อไปนี้

ลา

ซอล

ฟา

มี

เร

โด

ลบกษณดของรูีแนน (Form)
ปแบบเทร์นารี (Ternary Form) คือ รูปแบบทีป่ ระกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ ๆ โดยมี
ส่วนกลางทีแ่ ตกต่างไปจากส่วนต้นและส่วนท้าย คือ ABA อ ABA’

สบญลบกษณ์ของจบงหวด
โคดายยังได้กาหนดเสียงใช้ในการเรียกสัญลักษณ์ ต่างๆ ไว้ เพื่อให้ผเู้ รียนใช้พูดแทน
การตบมือได้ดว้ ย ในเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ได้นาเอาสัญลักษณ์ของจังหวะมาใช้ใน
รูปแบบจังหวะ C ดังต่อไปนี้

ทา - ทา ทู – อู
108

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูถามนักเรียนว่าเคยฟงั เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาใน
เรื่องเนื้อเพลงและระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูอธิบายความหมายของเนื้อเพลงพร้อมทัง้ เล่าประวัตแิ ละผูแ้ ต่งเพลง Twinkle,
Twinkle, Little Star ให้นักเรียนฟงั
2.3 ครูถามนักเรียนว่าในเนื้อเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star มีท่อนใดทีเ่ หมือนกัน
หรือไม่ และ นักเรียนยกมือขวาในเนื้อเพลงท่อนแรก และยกมือซ้ายในท่อนทีต่ า่ งออกไป
2.4 แ ร่วมอภิปรายและสรุปเรื่องรูปแบบเพลง Twinkle, Twinkle, Little
Star ว่าเป็ น ปแบบเทร์นารี (Ternary Form) คือ ABA
2.5 ครูรอ้ งโน้ตในเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนา
ในเรือ่ งระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.6 นักเรียนร้องโน้ตเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star (โด, เร, มี, ฟา, ซอลและลา)
ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.7 บ ปแบบจังหวะ C Twinkle, Twinkle, Little Star ให้
นักเรียนตบมือตาม
2.8 บ ปแบบจังหวะ C และให้นักเรียนอ่านออกเสียง ทา-ทา-ทู-อู
2.9 ครูนาแผนภูมเิ พลง Twinkle, Twinkle, Little Star ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียน
บอกว่าช่วงใดทีม่ รี ปู แบบจังหวะเหมือนกับ ปแบบจังหวะ C
2.10 นักเรียนตบมือตามจังหวะทานองเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ทัง้ เพลง
แล้วครูกบั นักเรียนสนทนากันถึงลักษณะ ความหมายและค่าของโน้ตตัวขาว ( ) อ่านว่า ทู-อ มี
อัตราจังหวะ 2 จังหวะ
2.11 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตโด และซอลห่างกันเท่าใด
2.12 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค (โด-ซอล) ซึง่ ห่างกัน 7 ครึง่ เสียง
(3.5 เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.13 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคในแผนภูมเิ พลง Twinkle, Twinkle, Little
Star
2.14 ครูกดโน้ตโด-ซอล บนเปี ยโนให้นกั เรียนฟงั ทัง้ แบบฮาร์โมนิก (Harmonic Interval)
และแบบเมโลดิก (Melodic Interval) ให้นักเรียนสังเกตความแตกต่างของขัน้ คู่ทงั ้ 2 แบบจาก
การฟงั แล้วอภิปราย
109

2.15 ครูอธิบายเรื่องโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบฮาร์โมนิก (Harmonic


Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval) พร้อมทัง้
แสดงบัตรภาพ
2.16 ครูและนักเรียนร่วมกันร้องขัน้ คูแ่ บบฮาร์โมนิก (Harmonic Interval) โดยสลับกัน
ร้องทัง้ โน้ตโดและซอล ซึง่ ครูคอยแนะนานักเรียนในเรือ่ งระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.17 องขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval) ซึง่ ครูคอยแนะนานักเรียนใน
เรื่องระดับเสียงให้ถูกต้อง
2.18 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star

3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 5 เพอร์เฟค

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง Twinkle, Twinkle, Little Star
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. บัตรภาพขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
4. แบบฮาร์โมนิก (Harmonic Interval) และขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
5. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 5 เพอร์เฟค
6. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
7. เปี ยโน
8. กระดาษ
9. ดินสอ

1. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
3. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 5 เพอร์เฟค
5. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
110

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
111

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค (โด-ซอล) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 4 ครึง่ เสียง ข. 5 ครึง่ เสียง
ค. 6 ครึง่ เสียง ง. 7 ครึง่ เสียง

2. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นคู
ั ้ ่ 5 เพอร์เฟคกีต่ าแหน่ง

ก. 1 ตาแหน่ง ข. 2 ตาแหน่ง
ค. 3 ตาแหน่ง ง. 4 ตาแหน่ง

3. จงทาเครือ่ งหมาย X บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค


ก. โด-มี ข. เร-ลา
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
112

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง
2.

ทิศทาง
3.

ทิศทาง
4.

ทิศทาง
113

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ง. 7 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค (โด-ซอล) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 4 ครึง่ เสียง ข. 5 ครึง่ เสียง
ค. 6 ครึง่ เสียง ง. 7 ครึง่ เสียง

2. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นคู
ั ้ ่ 5 เพอร์เฟคกีต่ าแหน่ง
5th Perfect

5th Perfect 5th Perfect

ก. 1 ตาแหน่ง ข. 2 ตาแหน่ง
ค. 3 ตาแหน่ ง ง. 4 ตาแหน่ง

3. จงทาเครือ่ งหมาย X เพิม่ บ ป ( ) เพือ่ ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค

X X
หรือ

X X

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค


ก. โด-มี ข. เร-ลา
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
114

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง ขึ้น()

2.

ทิศทาง ลง()

3.

ทิศทาง ขึ้น()

4.

ทิศทาง ลง()
115

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
116

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 5


3 ไมเนอร์ และ 5 เพอร์เฟค
1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
โน้ตขัน้ คู่เป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึ่งเป็ นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลง Lightly Row ได้
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของเพลง Lightly Row ได้
4. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟคใน
เพลง Lightly Row ได้
5. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์
และ 5 เพอร์เฟค ได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 2 ข้อ
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์
และ 5 เพอร์เฟค ได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 2 ข้อ

เนื้ อหา
ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง Lightly Row มีโน้ตขัน้ คูแ่ บบเมโล
ดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
117

ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน


และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลง Lightly Row มีโน้ตขัน้ คู่ 2nd Major, 3rd Major, 3rd minor และ5th Perfect
เกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน ซึง่ โน้ตขัน้ คู่ 2nd Major, 3rd Major, 3rd minor และ5th Perfect ห่าง
กัน 2, 4, 3 และ 7 ครึง่ เสียง (1, 2, 1.5 และ 3.5 เสียง) ตามลาดับ ดังคียเ์ ปียโน

X X X X X
2 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์
3 เมเจอร์
5 เพอร์เฟค
118

เพลง Lightly Row


เพลง Lightly Row เป็ นเพลงพืน้ บ้านชาวเยอรมันทีม่ ชี ่อื เสียงแต่งโดย โดย Tyrone
DeMeaneoar มีเนื้อร้องและทานองดังนี้

Lightly Row
เนื้อร้อง-ทำนอง Tyrone DeMeaneoar
C = do
s
คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์

คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์

คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 2 เมเจอร์

คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 3 ไมเนอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลง Lightly Row พบว่ามีขนั ้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์


3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟค
119

สบญญาณมือ
เพลง Lightly Row มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด, เร, มี, ฟา และ
ซอล) ดังต่อไปนี้

ซอล

ฟา

มี

เร

โด

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูถามนักเรียนว่าเคยฟงั เพลง Lightly Row หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลง Lightly Row ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องเนื้อเพลง
และระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูอธิบายความหมายของเนื้อเพลงพร้อมทัง้ เล่าประวัตแิ ละผูแ้ ต่งเพลง Lightly Row
ให้นักเรียนฟงั
2.3 ครูรอ้ งโน้ตในเพลง Lightly Row ให้นักเรียนร้องตามโดยคอยแนะนาในเรื่องระดับ
เสียงให้ถกู ต้อง
2.4 นักเรียนร้องโน้ตเพลง Lightly Row (โด, เร, มี, ฟาและซอล) ตามสัญญาณมือทีค่ รู
ทา
2.5 ครูทบทวนเรื่องขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟคทีน่ ักเรียนเคย
เรียนมาแล้ว โดยใช้วธิ กี ารถามตอบ
120

2.6 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟคใน


แผนภูมเิ พลง Lightly Row
2.7 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลง Lightly Row
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5
เพอร์เฟค
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5
เพอร์เฟค
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์
3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟค

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง Lightly Row
2. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟค
3. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟค
4. เปี ยโน
5. กระดาษ
6. ดินสอ

1. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
2. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ 5 เพอร์เฟค
3. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ
5 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์และ
5 เพอร์เฟค

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
121

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ แลด 5 เพอร์เฟค
คาสบง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ และ 5 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง() (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
1.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

2.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

3.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

4.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง


122

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ แลด 5 เพอร์เฟค
คาสบง่ จงเขียนโน้ตตัวบนของขัน้ คู่และบอกชนิดของขันคู ้ ว่ ่าเป็นฮาร์โมนิก (Harmonic Interval)
้ แ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval) (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
หรือขันคู

1.

ขัน้ คู่

2.

ขัน้ คู่

3.

ขัน้ คู่

4.

ขัน้ คู่
123

คาสบง่ จงเขียนตัวโน้ตและชือ่ โน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )


5.

C ___ ___ ___ ___ ___

6.

E ___ ___ ___ ___ ___


124

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ แลด 5 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ชนิดขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ทิศทาง ลง ()
แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ และ 5 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1.

ชนิดขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ทิศทาง ลง ()

2.
ชนิดขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ทิศทาง ลง ()

3.
ชนิดขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ทิศทาง ลง ()

4.

ชนิดขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ทิศทาง ขึ้น()


125

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ แลด 5 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ฮาร์โมนิ ก (Harmonic Interval)
แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ตตัวบนของขัน้ คู่และบอกชนิดของขันคู ้ ว่ ่าเป็นฮาร์โมนิก (Harmonic Interval)
้ แ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval) (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
หรือขันคู

1.

ขัน้ คู่ ฮาร์โมนิ ก (Harmonic Interval)

2.

ขัน้ คู่ เมโลดิ ก (Melodic Interval)

3.

ขัน้ คู่ ฮาร์โมนิ ก (Harmonic Interval)

4.

ขัน้ คู่ เมโลดิ ก (Melodic Interval)


126

หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น E แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง


คาสบง่ จงเขียนตัวโน้ตและชื่อโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

5.

C E D C G E

6.

E G C D C E
127

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 ไมเนอร์ และ 5 เพอร์เฟค
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
3 ไมเนอร์ และ 5 เพอร์เฟค และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
128

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 6


1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คูเ่ ป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. เครือ่ งหมายกาหนดจังหวะ หมายถึง เลข 2 ตัวทีเ่ ขียนซ้อนกันในลักษณะ หรือ
บันทึกไว้ตอนต้นของบทเพลง หลังกุญแจประจาหลัก เพือ่ บ่งบอกว่าบทเพลงนัน้ เป็ น
บทเพลงในจังหวะใด
3. เครือ่ งหมายกาหนดจังหวะ หมายถึง ในหนึ่งห้องเพลงจะมี 3 และให้โนต
ตัวดา ( ) เป็ นเกณฑ์ตวั ละ 1 จังหวะ

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลง Lavender Blue ได้
3. นักเรียนสามารถตบจังหวะ ตามเพลง Lavender Blue ได้
4. นักเรียนสามารถก้าวเดินตามจังหวะ ในรูปแบบ ก้าว-ชิด-ยืด ได้
5. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ในเพลง Lavender Blue ได้
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
129

เนื้ อหา

ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง Lavender Blue มีโน้ตขัน้ คูแ่ บบ
เมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลง Lavender Blue มีโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ เกิดขึน้ หลายตาแหน่ งด้วยกัน ซึง่ โน้ตขัน้
คู่ 6 เมเจอร์ ห่างกัน 9 ครึง่ เสียง (4.5 เสียง) ได้แก่ โด-ลา ดังคียเ์ ปียโน

X X
130

เพลง Lavender Blue


เพลง Lavender Blue เป็ นเพลงพื้นบ้านชาวอังกฤษทีม่ ชี ่อื เสียง ซึ่งถูกแต่งไว้ตงั ้ แต่ปี
คริสต์ศกั ราชที่ 17 และถูกจัดไว้เป็ นเพลงวนพืน้ บ้านลาดับที่ 3483 โดยมีเนื้อร้องและทานองดังนี้

C = do
คู่ 6 เมเจอร์
d

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลง Lavender Blue พบว่ามีขนั ้ คู่ 6 เมเจอร์ (โด- ) และ
อยูใ่ นอัตราจังหวะ
131

สบญญาณมือ
เพลง Lavender Blue มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด, เร, มี, ฟา,
ซอล และลา) ดังต่อไปนี้

ลา

ซอล

ฟา

มี

เร

โด

เครื่องหมายกาหนดจบงหวด
เครื่องหมายกาหนดจังหวะ เป็ นเครื่องหมายทีก่ าหนดว่ามีอตั ราจังหวะกีจ่ งั หวะในหนึ่ง
ห้องเพลงและใช้โน้ตตัวใดเป็ นเกณฑ์ตวั ละ 1 จังหวะ
เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ก า ห น ด จั ง ห ว ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ตั ว เ ล ข 2 อ
บ อ อบ แจป
- เลขตัวบน หมายถึง จานวนจังหวะในหนึ่งห้องเพลง
- เลขตัวล่าง หมายถึง เลขประจาตัวโน้ตทีใ่ ช้เป็ นเกณฑ์ตวั ละหนึ่งจังหวะ
เครื่อ งหมายก าหนดจัง หวะ หมายถึง ในหนึ่ ง ห้อ งเพลงมี 3
แ ป 1
132

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูรอ้ งเพลง Lavender Blue ให้นักเรียนฟงั แล้วถามนักเรียนว่าเคยฟงั หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลง Lavender Blue ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องเนื้อเพลง
และระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูอธิบายความหมายของเนื้อเพลงพร้อมทัง้ เล่าประวัตเิ พลง Lavender Blue ให้
นักเรียนฟงั
2.3 อ Lavender Blue ครูเคาะจังหวะตบในอัตราจังหวะ นักเรียน
ฟงั และสังเกตการเคาะของครูว่ามีจงั หวะเป็ นอย่างไร (หนัก-เบา-เบา)
2.4 ตบในอัตราจังหวะ ในขณะทีค่ รูรอ้ งเพลง Lavender Blue
2.5 ครูเดินตามจังหวะ (ก้าว-ชิด-ยืด) เพือ่ เป็ นตัวอย่างให้กบั นักเรียนทาตาม
2.6 นักเรียนเดินตามจังหวะ (ก้าว-ชิด-ยืด) พร้อมไปกับครูรอ้ งเพลง
2.7 ครูสรุปและอธิบายเรื่องเครือ่ งหมายกาหนดจังหวะในเพลง Lavender Blue
2.8 ครูรอ้ งโน้ตในเพลง Lavender Blue ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องระดับ
เสียงให้ถกู ต้อง
2.9 นักเรียนร้องโน้ตเพลง Lavender Blue (โด, เร, มี, ฟา, ซอลและลา) ตามสัญญาณ
มือทีค่ รูทา
2.10 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตโด และลาห่างกันเท่าใด
2.11 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขันคู ้ ่ 6 เมเจอร์ (โด-ลา) ซึง่ ห่างกัน 9 ครึง่ เสียง
(4.5 เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.12 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ในแผนภูมเิ พลง Lavender Blue
2.13 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลง Lavender Blue
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 6 เมเจอร์
133

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง Lavender Blue
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 6 เมเจอร์
4. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
5. เปี ยโน
6. กระดาษ
7. ดินสอ


1. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
3. สังเกตการก้าวเดินของนักเรียน
4. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
5. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 6 เมเจอร์
6. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
134

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 6 เมเจอร์
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ (โด-ลา) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 7 ครึง่ เสียง ข. 8 ครึง่ เสียง
ค. 9 ครึง่ เสียง ง. 10 ครึง่ เสียง

2. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นคู
ั ้ ่ 6 เมเจอร์กต่ี าแหน่ง

ก. 1 ตาแหน่ง ข. 2 ตาแหน่ง
ค. 3 ตาแหน่ง ง. 4 ตาแหน่ง

3. อัตราจังหวะ หมายถึงข้อใด
ก. เลขตัวบนคือ 3 หมายถึง จานวนจังหวะในหนึ่งห้องเพลง
ข. เลขตัวล่างคือ 4 เลขประจาตัวโน้ตตัวขาว ( ) ซึง่ ใช้เป็ นเกณฑ์
ตัวละหนึ่งจังหวะ
ค. เลขตัวล่างคือ 4 เลขประจาตัวโน้ตตัวดา ( ) ซึง่ ใช้เป็นเกณฑ์
ตัวละหนึ่งจังหวะ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง

4. จังหวะตบในอัตราจังหวะ มีลกั ษณะเช่นใด


ก. หนัก- บ -หนัก ข. หนัก-หนัก-หนัก
ค. เบา-หนัก-หนัก ง. หนัก-เบา-เบา
135

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 6 เมเจอร์
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง

2.

ทิศทาง

3.

ทิศทาง

4.

ทิศทาง
136

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 6
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ค. 9 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ (โด-ลา) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 7 ครึง่ เสียง ข. 8 ครึง่ เสียง
ค. 9 ครึง่ เสียง ง. 10 ครึง่ เสียง

2. จากบทเพลงต่อไปนี้มขี นั ้ คู่ 6 เมเจอร์กต่ี าแหน่ง


คู่ 6 เมเจอร์ คู่ 6 เมเจอร์

คู่ 6 เมเจอร์ คู่ 6 เมเจอร์

ก. 1 ตาแหน่ง ข. 2 ตาแหน่ง
ค. 3 ตาแหน่ง ง. 4 ตาแหน่ ง

3. อัตราจังหวะ หมายถึงข้อใด
ก. เลขตัวบนคือ 3 หมายถึง จานวนจังหวะในหนึ่งห้องเพลง
ข. เลขตัวล่างคือ 4 เลขประจาตัวโน้ตตัวดา ( ) ซึง่ ใช้เป็นเกณฑ์ตวั
ละหนึ่งจังหวะ
ค. เลขตัวล่างคือ 4 เลขประจาตัวโน้ตตัวดา ( ) ซึง่ ใช้เป็นเกณฑ์ตวั
ละหนึ่งจังหวะ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง

4. จังหวะตบในอัตราจังหวะ มีลกั ษณะเช่นใด


ก. หนัก- บ -หนัก ข. หนัก-หนัก-หนัก
ค. เบา-หนัก-หนัก ง. หนัก-เบา-เบา
137

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 6
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ขึ้น () แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง ขึ้น ()

2.

ทิศทาง ขึ้น ()

3.

ทิศทาง ลง ()

4.

ทิศทาง ลง ()
138

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การเคลื่อนไหวร่างกาย
1. การก้าวเดินในอัตราจังหวะ  
เคลื่อนไหวร่ายกายใน เคลื่อนไหวร่ายกายใน
จังหวะ ได้ถูกต้อง จังหวะ ไม่ถกู ต้อง
เหมาะสมตามลักษณะ ตามลักษณะความ
ความหนัก-เบา-เบา หนัก-เบา-เบา ของ
ของอัตราจังหวะ อัตราจังหวะ
139

การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
140

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค แผนการสอนที่ 7


1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คูเ่ ป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. เครือ่ งหมายกาหนดจังหวะ หมายถึง เลข 2 ตัวทีเ่ ขียนซ้อนกันในลักษณะ หรือ
บันทึกไว้ตอนต้นของบทเพลง หลังกุญแจประจาหลัก เพือ่ บ่งบอกว่าบทเพลงนัน้ เป็ น
บทเพลงในจังหวะใด
3. เครือ่ งหมายกาหนดจังหวะ หมายถึง ในหนึ่งห้องเพลงจะมี 4
แ ( ) เป็ นเกณฑ์ตวั ละ 1 จังหวะ

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลง Over The Rainbow ได้
3. นักเรียนสามารถตบจังหวะ ตามเพลง Over The Rainbow ได้
4. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคในเพลง Over The Rainbow ได้
5. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ

เนื้ อหา

ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง Over The Rainbow มีโน้ตขัน้ คู่
แบบเมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
141

ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตั วล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลง Over The Rainbow มีโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค เกิดขึน้ หลายตาแหน่ งด้วยกัน ซึง่
โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ห่างกัน 12 ครึง่ เสียง (6 เสียง) ได้แก่ โด-โด’ ดังคียเ์ ปียโน

X X
142

เพลง Over the Rainbow


เพลง Over the Rainbow เป็ นเพลงทีม่ ที านองไพเราะ และเป็ นเพลงประกอบภาพยนต์
เรื่อง Wizard of Ozz ประพันธ์โดย Harold Arlen และ E.Y. Harburg โดยตัวละครเอกทีช่ ่อื โดโร
ทีรอ้ งขณะคิดถึงบ้าน มีเนื้อร้องและทานองดังนี้

C = do
เนื้อร้อง E.Y. Harburg
d
คู่ 8 เพอร์เฟค ทำนอง Harold Arlen

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลง Over the Rainbow พบว่ามีขนั ้ คู่ 8 เพอร์เฟค


(โด-โด’) และอยูใ่ นอัตราจังหวะ
143

สบญญาณมือ
เพลง Over the Rainbow มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด, เร, มี, ฟา,
ซอล, ลา, ทีและโด’) ดังต่อไปนี้

โด’

ที

ลา

ซอล

ฟา

มี

เร

โด

เครื่องหมายกาหนดจบงหวด
เครื่องหมายกาหนดจังหวะ เป็ นเครื่องหมายทีก่ าหนดว่ามีอตั ราจังหวะกีจ่ งั หวะในหนึ่ง
ห้องเพลงและใช้โน้ตตัวใดเป็ นเกณฑ์ตวั ละ 1 จังหวะ
เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ก า ห น ด จั ง ห ว ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ตั ว เ ล ข 2 อ
บ อ อบ แจป จา
- เลขตัวบน หมายถึง จานวนจังหวะในหนึ่งห้องเพลง
- เลขตัวล่าง หมายถึง เลขประจาตัวโน้ตทีใ่ ช้เป็ นเกณฑ์ตวั ละหนึ่งจังหวะ
เ ค รื่ อ ง ห มา ย ก า ห น ด จั ง ห ว ะ ห ม า ย ถึ ง ใ น ห นึ่ ง ห้ อ ง เ พ ล ง มี 4
แ ป 1
144

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูรอ้ งเพลง Over The Rainbow ให้นักเรียนฟงั แล้วถามนักเรียนว่าเคยฟงั หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลง Over the Rainbow ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาในเรื่องเนื้อ
เพลงและระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 อ Over the Rainbow ครูเคาะจังหวะตบในอัตราจังหวะ
นักเรียนฟงั และสังเกตการเคาะของครูว่ามีจงั หวะเป็ นอย่างไร (หนัก-เบา-หนัก-เบา)
2.3 ตบในอัตราจังหวะ ในขณะที่ครูร้องเพลง Over the
Rainbow
2.4 ครูสรุปและอธิบายเรื่องเครือ่ งหมายกาหนดจังหวะในเพลง Over the Rainbow
2.5 นักเรียนร้องโน้ตเพลง Over the Rainbow (โด, เร, มี, ฟา, ซอล, ลา, ที และโด’)
ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.6 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตโด และโด’ ห่างกันเท่าใด
2.7 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค (โด-โด’) ซึง่ ห่างกัน 12 ครึง่ เสียง
(6 เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
2.8 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคในแผนภูมเิ พลง Over the Rainbow
2.9 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลง Over the Rainbow
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
3.3 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 8 เพอร์เฟค

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง 8 เพอร์เฟค
2. กระดานรูปคียเ์ ปียโน
3. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 8 เพอร์เฟค
4. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
5. เปี ยโน
6. กระดาษ
7. ดินสอ
145

1. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
3. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 8 เพอร์เฟค
5. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
146

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค (โด-โด’) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 6 ครึง่ เสียง ข. 12 ครึง่ เสียง
ค. 4 ครึง่ เสียง ง. 8 ครึง่ เสียง

ให้นักเรียนดูบทเพลงแล้วตอบคาถามข้อ 2-3

2. ขัน้ คูท่ ม่ี เี ครือ่ งหมาย เป็ นขัน้ คูใ่ ด


ก. คู่ 8 เพอร์เฟค ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 5 เพอร์เฟค ง. คู่ 6 เมเจอร์

3. ขัน้ คูท่ ม่ี เี ครือ่ งหมาย เป็ นขันคู


้ ใ่ ด
ก. คู่ 8 เพอร์เฟค ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 5 เพอร์เฟค ง. คู่ 6 เมเจอร์

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


ก. โด-ลา ข. เร-โด
ค. โด-โด ง. เร-ที
147

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง

2.

ทิศทาง

3.

ทิศทาง

4.

ทิศทาง
148

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ข. 12 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค (โด-โด’) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 6 ครึง่ เสียง ข. 12 ครึง่ เสียง
ค. 4 ครึง่ เสียง ง. 8 ครึง่ เสียง

ให้นักเรียนดูบทเพลงแล้วตอบคาถามข้อ 2-3

2. ขัน้ คูท่ ม่ี เี ครือ่ งหมาย เป็ นขัน้ คูใ่ ด


ก. คู่ 8 เพอร์เฟค ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 5 เพอร์เฟค ง. คู่ 6 เมเจอร์

3. ขัน้ คูท่ ม่ี เี ครื่องหมาย เป็ นขัน้ คูใ่ ด


ก. คู่ 8 เพอร์เฟค ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 5 เพอร์เฟค ง. คู่ 6 เมเจอร์

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


ก. โด-ลา ข. เร-โด
ค. โด-โด’ ง. เร-ที
149

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ขึ้น () แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ขึ้น()

1.

ทิศทาง ขึ้น ()

2.

ทิศทาง ขึ้น ()

3.

ทิศทาง ขึ้น ()

4.

ทิศทาง ขึ้น ()


150

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
151

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทบกษดตามแนวคิ ดโคดาย

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค แผนการสอนที่ 8


และทดสอบหลังเรียน
1 คน / 1คาน / 40 นาที
ชื่อผูเ้ รียน วบน..............................เวลา...............
........................................................

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คูเ่ ป็ นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็ นพืน้ ฐานใน
แนวทานองและแนวประสาน
2. โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) เป็ นสัญญลักษณ์แทนอัตราจังหวะของโน้ตสากล
3. รูปแบบมีหลายลักษณะเกิดจากการสร้างสรรค์โดยการนาองค์ประกอบโครงสร้างของ
รูปแบบมาเป็ นตัวกาหนด
4. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่

จุดีรดสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค ได้
2. นักเรียนสามารถร้องเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ได้
3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ได้
4. นักเรียนสามารถตบจังหวะตามเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ได้
5. นักเรียนสามารถวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคในเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John)
ได้
6. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
7. นักเรียนสามารถทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง
อย่างน้อย 2 ข้อ
8. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง
9. นักเรียนสามารถทาแบบทดสอบหลังเรียนได้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 15 ข้อ
10. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
11. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน
152

เนื้ อหา

ขบน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองที่
บ่งบอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึ่งโน้ ตขัน้ คู่ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกัน เรียกว่า ขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก
(Harmonic Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คูแ่ บบเมโลดิก (Melodic Interval)
นอกจากนี้โน้ตขัน้ คู่ยงั เป็ นพืน้ ฐานของเสียงประสานในเพลง แน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) มี
โน้ตขัน้ คูแ่ บบเมโลดิกเกิดขึน้ หลายตาแหน่งด้วยกัน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นัน้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยทีโ่ น้ตตัวบน
และโน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

ในเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) มีโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคเกิดขึน้ หลายตาแหน่ ง


ด้วยกัน ซึง่ โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคห่างกัน 5 ครึง่ เสียง (2.5 เสียง) ได้แก่ โด-ฟา ดังคียเ์ ปียโน

X X
153

เพลงแน่ ดฟบงฟ้ าลบน่ (Brother John)


เพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) เป็ นเพลงทีน่ าทานองมาจากเพลง Brother John
โดยนามาใส่คาร้องภาษาไทยดังนี้

เพลงแน่ ดฟบงฟ้ าลบน่ (Brother John)


C = do
เนื้อร้อง ไม่ทรำบชือ่ ผูแ้ ต่ง
d ทำนอง Brother John

คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 4 เพอร์เฟค

จากการวิเคราะห์ขนั ้ คู่ทม่ี ใี นเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) พบว่ามีขนั ้ คู่ 4 เพอร์
เฟค ทิศทางขึน้ และลง (โด-ฟา)
154

สบญญาณมือ
เพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) มีการใช้สญ
ั ญาณมือควบคูไ่ ปกับการอ่านโน้ต (โด,
ฟา, ซอล, ลา, ที, โด’ และเร’) ดังต่อไปนี้

เร’

โด’

ที

ลา

ซอล

ฟา

โด

สบญลบกษณ์ของจบงหวด
โคดายยังได้กาหนดเสียงใช้ในการเรียกสัญลักษณ์ ต่างๆ ไว้ เพื่อให้ผเู้ รียนใช้พูดแทน
การตบมือได้ดว้ ย ในเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ได้นาเอาสัญลักษณ์ของจังหวะมาใช้ใน
รูปแบบจังหวะ D ดังต่อไปนี้

ที - ที - ที - - ทา - ทา
155

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้า
โน้ตตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ากว่าแต่ถา้ โน้ตซ้าอยู่
ทีร่ ะดับเสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) มีทศิ ทางของ
ทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค: โด-ฟา) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1.1 ครูรอ้ งเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้นักเรียนฟงั แล้วถามนักเรียนว่าเคยฟงั
หรือไม่
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูรอ้ งเนื้อเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนาใน
เรื่องเนื้อเพลงและระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.2 ครูเล่าประวัตแิ ละผูแ้ ต่งเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้นักเรียนฟงั
2.3 ครูรอ้ งโน้ตในเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้นักเรียนร้องตามโดยครูแนะนา
ในเรือ่ งระดับเสียงให้ถกู ต้อง
2.4 นักเรียนร้องโน้ตเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) (โด, ฟา, ซอล, ลา, ที, โด’
และเร’) ตามสัญญาณมือทีค่ รูทา
2.5 บ ปแบบจังหวะ D แน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้
นักเรียนตบมือตาม
2.6 บ ปแบบจังหวะ D และให้นักเรียนอ่านออกเสียง ที-ที-ที- – ทา - ทา
2.7 ครูนาแผนภูมเิ พลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนบอก
ว่าช่วงใดทีม่ รี ปู แบบจังหวะเหมือนกับรูปแบบจังหวะ D
2.8 นักเรียนตบมือตามจังหวะทานองเพลงหนูมาลีทงั ้ เพลง แล้วครูกบั นักเรียนสนทนา
กันถึงลักษณะ ความหมายและค่าของโน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ ( ) อ่านว่า ที มีอตั ราจังหวะ 1/2
จังหวะ หรือโน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชัน้ 2 ( ) มีอตั ราจังหวะ 1 จังหวะ
2.9 ครูถามนักเรียนว่าโน้ตโด-ฟา ห่างกันเท่าใด
2.10 ครูสรุปและอธิบายเรื่องโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (โด-ฟา) ซึ่งห่างกัน 5 ครึง่ เสียง
(2.5 เสียง) โดยใช้คยี เ์ ปี ยโน
156

2.11 นักเรียนวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคในแผนภูมเิ พลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother


John)
2.12 ครูกดโน้ตห้องที่ 7 และ 8 ในเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) บนเปี ยโนให้
นักเรียนฟงั ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางการขึน้ ลงของเสียง แล้วอภิปราย
2.13 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลงแน่ ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John) ดัง
แผนภาพทิศทางการขึน้ ลง
2.14 นักเรียนปฏิบตั เิ ปียโนเพลงแน่ะฟงั ฟ้าลัน่ (Brother John)
3. ขัน้ สรุป
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
3.1 นักเรียนทาแบบฝึกหัดการฟงั เรื่องโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
3.2 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขันคู ้ ่ 4 เพอร์เฟค
3.3 นักเรียนทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
3.4 นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน

การสอน
1. แผนภูมเิ พลง 4 เพอร์เฟค
2. กระดานรูปคียเ์ ปี ยโน
3. แผนภาพทิศทางการขึน้ ลง 4 เพอร์เฟค
4. แบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 4 เพอร์เฟค
5. แบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
6. เปี ยโน
7. กระดาษ
8. ดินสอ
9. แบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
10. แบบทดสอบการฟงั หลังเรียน

1. สังเกตการตบจังหวะของนักเรียน
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียน
3. สังเกตการวิเคราะห์โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดความรูเ้ รือ่ งโน้ตขันคู
้ ่ 4 เพอร์เฟค
5. การทาแบบฝึกหัดการฟงั เรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
6. การทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
7. การทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน
157

หมายเหตุ
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
158

แนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 4 เพอร์เฟคแลดทดสอนหลบงเรียน
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (โด-ฟา) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 3 ครึง่ เสียง
ค. 5 ครึง่ เสียง ง. 7 ครึง่ เสียง

2. กลุ่มโน้ตต่อไปนี้ มีอตั ราจังหวะ


ก. 1/2 จังหวะ ข. 1 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 3 จังหวะ

3. จงทาเครื่องหมาย X บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค


ก. โด-มี ข. เร-ซอล
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
159

แนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 4 เพอร์เฟคแลดทดสอนหลบงเรียน
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ลง ()

1.

ทิศทาง

2.

ทิศทาง

3.

ทิศทาง

4.

ทิศทาง
160

เฉลยแนนฝึ กหบดความรู้
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 4 เพอร์เฟคแลดทดสอนหลบงเรียน
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ค. 5 ครึง่ เสียง แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว
1. โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (โด-ฟา) ห่างกันกีค่ รึง่ เสียง
ก. 1 ครึง่ เสียง ข. 3 ครึง่ เสียง
ค. 5 ครึง่ เสียง ง. 7 ครึง่ เสียง

2. กลุ่มโน้ตต่อไปนี้ มีอตั ราจังหวะ


ก. 1/2 จังหวะ ข. 1 จังหวะ
ค. 2 จังหวะ ง. 3 จังหวะ

3. จงทาเครื่องหมาย X บ ป ( ) ให้เป็ นโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค

X X

4. โน้ตคูใ่ ดต่อไปนี้เป็นขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค


ก. โด-มี ข. เร-ซอล
ค. มี-ฟา ง. มี-ซอล
161

เฉลยแนนฝึ กหบดการฟบง
เรื่องโน้ ตขบน้ คู่ 4 เพอร์เฟคแลดทดสอนหลบงเรียน
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น ขึ้น () แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
คาสบง่ จงเขียนโน้ต และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง () เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
(ตัวอย่าง)

ทิศทาง ลง ()

1.

ทิศทาง ขึ้น ()

2.

ทิศทาง ขึ้น ()

3.

ทิศทาง ลง ()

4.

ทิศทาง ขึ้น ()


162

แนนีรดเมิ นผลการเรียนรู้
แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคและทดสอบหลังเรียน
การีรดเมิ น
พฤติ กรรม หมายเหตุ
ผ่าน ไม่ผ่าน
การตนจบงหวด
1. ความถูกต้องของการออก  
เสียงแทนสัญลักษณ์ของจังหวะ ออกเสียงได้ถูกต้อง ออกเสียงได้ไม่
และตรงตามจังหวะ ถูกต้อง และไม่ตรง
ตามจังหวะ
2. ความถูกต้องการตบจังหวะ  
ตบมือได้ถกู ต้อง และ ตบมือไม่ถกู ต้อง
ตรงตามจังหวะทัง้ เพลง และไม่ตรงตาม
จังหวะ
การร้อง
1. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องโน้ตระบบ ซอล-ฟา ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล- ร้อ งโน้ ต ระบบ ซอล-
ฟา ได้ต รงตามระดับ ฟา ไม่ต รงตามระดับ
เ สี ย ง แ ล ะ จั ง ห ว ะ ที่ เสี ย ง หรื อ จั ง ห ว ะ ที่
ถูกต้องทัง้ หมด ถูกต้อง
2. ความถูกต้อง ไพเราะในการ  
ร้องเพลง ร้องเพลงได้ถูกต้องทัง้ ร้องเพลงไม่ถูกต้องทัง้
จังหวะ ทานอง การ จัง หวะ ท านอง การ
หายใจและลักษณะ หายใจและลั ก ษณะ
ของการออกเสียง ของการออกเสียงหรือ
ด้านใดด้านหนึ่ง
การวิ เคราดห์โน้ ตขบน้ คู่
1. ความถูกต้องการวิเคราะห์  
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคและทดสอบ วิ เ คราะห์ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง วิ เ คราะห์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง
หลังเรียน และครบถ้วน หรือไม่ครบถ้วน
163

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ทดสอบก่อนเรียน แผนการสอนที่ 1


และแนะนาเรือ่ งขัน้ คู่ก่อนเริม่ เรียน
1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
โน้ตขัน้ คู่เป็ นโน้ต 2 เสียงที่เกิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึ่งเป็ นพื้นฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูก้ ่อนเรียน
2. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


164

กิ จกรรม
1. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูก้ ่อนเรียน
2. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน
3. ครูเฉลยแบบทดสอบความรูแ้ ละการฟงั ก่อนเรียน
4. ครูแนะนาเรือ่ งขัน้ คู่ก่อนเรียน โดยครูเป็ นผูอ้ ธิบายให้ความรู้

การสอน
1. แบบทดสอบความรูก้ ่อนเรียน
2. แบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน
3. เปียโน
4. กระดาษ
5. ดินสอ

1. การทาแบบทดสอบความรูก้ ่อนเรียน
2. การทาแบบทดสอบการฟงั ก่อนเรียน

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
165

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 2


ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
2. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์และ
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


166

โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตช่อง (Space note) กับโน้ต
เส้น (Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์(d = A)

1 2

d r
A B
2 เมเจอร์
โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ตเส้น
(Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ (d = G)

2 3
1

d m
G B
3 เมเจอร์
โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ต
ช่อง (Space note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (d = G)

1 2
3 4
d s,
G D
4 เพอร์เฟค
167

เพลง Looby Loo

( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 12)

เพลง Bridal Chorus


( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 14)

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้าโน้ต
ตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ ากว่าแต่ถ้าโน้ตซ้าอยู่ทร่ี ะดับ
เสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลง Looby Loo มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์:
ซอล-ที) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

เพลง Looby Loo

  
3 3 3
เมเจอร์ เมเจอร์ เมเจอร์
168

ในเพลง Bridal Chorus มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค: ฟา-ที) ขึน้ เกิดขึน้
ดังต่อไปนี้

เพลง Bridal Chorus

 
4 4
เพอร์เฟค เพอร์เฟค

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์โดยใช้แผนภาพโน้ต
ขัน้ คู่ 2เมเจอร์ และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ตามลาดับ
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 นักเรียนฟงั เพลง Looby Loo (CD Ear Without Fear Vol.2 track 12)
2.2 ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางขึน้ ลงของเสียงขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ในเพลง Looby Loo
2.3 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลง Looby Loo ดังแผนภาพทิศทางการขึน้
ลงของเพลง Looby Loo
2.4 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ (CD Ear
Without Fear Vol.2 track 13)
2.5 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคโดยใช้แผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
2.6 นักเรียนฟงั เพลง Bridal Chorus (CD Ear Without Fear Vol.2 track 14)
2.7 ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางขึน้ ลงของเสียงขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคในเพลง Bridal Chorus
2.8 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลง Bridal Chorus ดังแผนภาพทิศทางการ
ขึน้ ลงของเพลง Looby Loo
2.9 นั ก เรียนฟ งั และท าแบบฝึ ก หัดจ าแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์แ ละ
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (CD Ear Without Fear Vol.2 track 15)
169

3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
การสอน
1. เพลง Looby Loo
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 12)
2. เพลง Bridal Chorus
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 14)
3. แผนภูมเิ พลง Looby Loo
4. แผนภูมเิ พลง Bridal Chorus
5. แบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 13)
6. แบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 15)
7. CD Ear Without Fear Vol.2
8. เครือ่ งเล่น CD
9. เปียโน
10. กระดาษ
11. ดินสอ

1. การทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์


2. การทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.............................................................................................................................
170

แบบฝึ กหัดจาแนกเสียง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ หรือ 3 เมเจอร์)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 13)

1. (ตัวอย่าง)

 2 เมเจอร์

2.

3.

4.

5.
171

เฉลยแบบฝึ กหัดจาแนกเสียง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น  2 เมเจอร์
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ หรือ 3 เมเจอร์)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 13)

1. (ตัวอย่าง)

 2 เมเจอร์

2.

 2 เมเจอร์

3.

 3 เมเจอร์

4.

 2 เมเจอร์

5.

 3 เมเจอร์
172

แบบฝึ กหัดจาแนกเสียง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ หรือ 4 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 15)

1. (ตัวอย่าง)

 2 เมเจอร์

2.

3.

4.
173

เฉลยแบบฝึ กหัดจาแนกเสียง
ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น  2 เมเจอร์
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ หรือ 4 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 15)

1. (ตัวอย่าง)

 2 เมเจอร์

2.

 2 เมเจอร์

3.

 4 เพอร์เฟค

4.

 3 เมเจอร์
174

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 3


ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
2. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และ
ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


175

โน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตช่อง (Space note) กับโน้ต
เส้น (Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ (d = A)

1 2

d r
A B
2 เมเจอร์
โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ตเส้น
(Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์(d = G)

2 3
1

d m
G B
3 เมเจอร์
โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ต
ช่อง (Space note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค (d = G)

1 2
3 4
d s,
G D
4 เพอร์เฟค
176

เพลง Looby Loo

( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 12)

เพลง Bridal Chorus


( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 14)

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้าโน้ต
ตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ ากว่าแต่ถ้าโน้ตซ้า อยู่ทร่ี ะดับ
เสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลง Looby Loo มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 3 เมเจอร์:
ซอล-ที) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

เพลง Looby Loo

  
3 3 3
เมเจอร์ เมเจอร์ เมเจอร์
177

ในเพลง Bridal Chorus มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค: ฟา-ที) ขึน้ เกิดขึน้
ดังต่อไปนี้
เพลง Bridal Chorus

 
4 4

เพอร์เฟค เพอร์เฟค
กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูทบทวนเรื่องขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟคโดยให้นักเรียนฟงั
เพลง Looby Loo (CD Ear Without Fear Vol.2 track 12) และ Bridal Chorus (CD Ear Without
Fear Vol.2 track 14)
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 16 (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 16)
2.2 นักเรียนร้องแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์
เฟค โดยครูแนะนาระดับเสียงให้ถูกต้อง
2.3 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 17 – 22 (CD Ear Without
Fear Vol.2 track 17 - 22)
3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์
และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
178

การสอน
1. เพลง Looby Loo
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 12)
2. เพลง Bridal Chorus
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 14)
3. แผนภูมเิ พลง Looby Loo
4. แผนภูมเิ พลง Bridal Chorus
5. แบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 16
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 16)
6. แบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
7. แบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 17 - 22
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 17 - 22)
8. CD Ear Without Fear Vol.2
9. เครือ่ งเล่น CD
10. เปียโน
11. กระดาษ
12. ดินสอ

1. การทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 16
2. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียนแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์
ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
3. การทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 17 - 22

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
179

แบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 16


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 16)

1._______ 2._______ 3._______

4._______ 5._______ 6._______


180

เฉลยแบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 16

หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น D


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 16)

1. D 2. B 3. E

1. C 5. F 6. A
181

แบบฝึ กหัด Sight-Singing


ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ และขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค
คาสัง่ ร้องโน้ตต่อไปนี้ 2 รอบ (โดยรอบที่ 1 ร้อง Tonic sol-fa และรอบที่ 2 )
1.

d m d s, d

G B G D G

2.
m r r d r

B A A G A

3.

r d s, d m

A G D G B

4.

s, s, d r d

D D G A G

5.

m r d d s,

B A G G D

6.

d s, d r d

G D G A G
182

แบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 17 – 22


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 17 - 22)
1.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

2.
m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____

3.

r ____ ____ ____ ____ ____

A ____ ____ ____ ____ ____

4.

s, ____ ____ ____ ____ ____

D ____ ____ ____ ____ ____

5.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

6.

m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____


183

เฉลยแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 17 – 22


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น m
คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 17 - 22)
1.

m r d s, d

B A G D G
2.

r d m m r

A G B B A
3.

d r d s, d

G A G D G
4.
d r m d d

G A B G G

5.

m r r d r

B A A G A
6.

d r d s, s,

G A G D D
184

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ แผนการสอนที่ 4


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
2. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


185

โน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ตเส้น
(Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ (d = G)

1 2 3
d l,
G E
3 ไมเนอร์

เพลง Rain, Rain Go Away

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้าโน้ต
ตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ ากว่าแต่ถ้าโน้ตซ้าอยู่ทร่ี ะดับ
เสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลง Rain, Rain Go Away มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่
3 ไมเนอร์: มี-ซอล) ทัง้ ขึน้ และลงเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

     
3 3 3 3 3 3
ไมเนอร์ ไมเนอร์ ไมเนอร์ ไมเนอร์ ไมเนอร์ ไมเนอร์
186

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์โดยใช้แผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 นักเรียนฟงั เพลง Rain, Rain Go Away (CD Ear Without Fear Vol.2 track 23)
2.2 ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางขึน้ ลงของเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ในเพลง Rain, Rain Go Away
2.3 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลง Rain, Rain Go Away ดังแผนภาพทิศ
ทางการขึน้ ลงของเพลง Rain, Rain Go Away
2.4 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 24)
2.10 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 25 (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 25)
2.11 นักเรียนร้องแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ โดยครูแนะนาระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.12 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ตตามที่ได้ยนิ track 26 – 31 (CD Ear
Without Fear Vol.2 track 26 - 31)
3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์

การสอน
1. เพลง Rain, Rain Go Away
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 23)
2. แผนภูมเิ พลง Rain, Rain Go Away
3. แบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 24)
4. แบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 25
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 25)
5. แบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
6. แบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 26 - 31
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 26 - 31)
7. CD Ear Without Fear Vol.2
187

8. เครือ่ งเล่น CD
9. เปียโน
10. กระดาษ
11. ดินสอ

1. การทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


2. การทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 25
3. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียนแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
4. การทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 26 - 31

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
188

แบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์, 3 ไมเนอร์ หรือ 4 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 24)

5. (ตัวอย่าง)

 3 ไมเนอร์

6.

7.

8.
189

เฉลยแบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น  3 ไมเนอร์
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์, 3 ไมเนอร์ หรือ 4 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 24)

1. (ตัวอย่าง)

 3 ไมเนอร์

2.
 4 เพอร์เฟค

3.
 2 เมเจอร์

4.
 3 ไมเนอร์
190

แบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 25


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 25)

1._______ 2._______ 3._______

4._______ 5._______ 6._______


191

เฉลยแบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 25

หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น D


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 25)

2. D 2. F 3. C

2. A 5. E 6. B
192

แบบฝึ กหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์


คาสัง่ ร้องโน้ตต่อไปนี้ 2 รอบ (โดยรอบที่ 1 ร้อง Tonic sol-fa และรอบที่ 2 )
1.

d m r d l, s, d

G B A G E D G

2.
m d l, l, d r m

B G E E G A B

3.

r s, d m m r m

G D G B B A B

4.

l, d s, l, d m r

E G D E G B A

5.

s, d l, s, d m l,

D G E D G B E

6.

s, r m d l, s, d

D A B G E D G
193

แบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 26 – 31


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 26 - 31)
1.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

2.

s, ____ ____ ____ ____ ____

D ____ ____ ____ ____ ____

3.

l, ____ ____ ____ ____ ____

E ____ ____ ____ ____ ____

4.
m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____

5.

r ____ ____ ____ ____ ____

A ____ ____ ____ ____ ____

6.

l, ____ ____ ____ ____ ____

E ____ ____ ____ ____ ____


194

เฉลยแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ ได้ยิน track 26 – 31


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น d
คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 26 - 31)
1.
d l, d m r s, d

G E G B A D G

2.

s, l, s, l, d m r

D E D E G B A
3.

l, s, d l, m r d

E D G E B A G
4.
m r m l, d r d

B A B E G A G

5.

r m d s, l, m d

A B G D E B G
6.

l, d m r l, d m

E G B A E G B
195

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค แผนการสอนที่ 5


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
2. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


196

โน้ตขัน้ 5 เพอร์เฟค คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ต
เส้น (Line note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค (d = G)

4 5
1 2 3 4 5
1 2 3
d s d s
G D G D

5 เพอร์เฟค 5 เพอร์เฟค

เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star

( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 32)

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้าโน้ต
ตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ ากว่าแต่ถ้าโน้ตซ้าอยู่ทร่ี ะดับ
เสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star มีทศิ ทางของทานอง (โน้ต
ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค: ซอล-เร’) ขึน้ เกิดขึน้ ดังต่อไปนี้


5
เพอร์เฟค
197

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค โดยใช้แผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 นักเรียนฟงั เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star (CD Ear Without Fear Vol.2 track
32)
2.2 ให้นักเรียนสังเกตทิศทางขึน้ ลงของเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ในเพลง Twinkle, Twinkle,
Little Star
2.3 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star ดัง
แผนภาพทิศทางการขึน้ ลงของเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star
2.4 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 33)
2.10 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 34 (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 34)
2.11 นักเรียนร้องแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค โดยครูแนะนาระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.12 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ตตามที่ได้ยนิ track 35 – 40 (CD Ear
Without Fear Vol.2 track 35 - 40)
3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค

การสอน
1. เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 32)
2. แผนภูมเิ พลง Twinkle, Twinkle, Little Star
3. แบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 33)
4. แบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 34
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 34)
5. แบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
198

6. แบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 35 - 40


(CD Ear Without Fear Vol.2 track 35 - 40)
7. CD Ear Without Fear Vol.2
8. เครือ่ งเล่น CD
9. กระดาษ
10. ดินสอ

1. การทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค


2. การทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 34
3. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียนแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 35 - 40

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
199

แบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค


คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 4 เพอร์เฟคหรือ 5 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 33)

(ตัวอย่าง)

 4 เพอร์เฟค

1.

2.

3.

4.

5.
200

เฉลยแบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น  4 เพอร์เฟค
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (2 เมเจอร์ 3 เมเจอร์ 3 4 เพอร์เฟคหรือ 5 เพอร์เฟค)
และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 33)

(ตัวอย่าง)

 4 เพอร์เฟค

1.
 5 เพอร์เฟค

2.
 3 เมเจอร์

3.
 3 ไมเนอร์

4.
 5 เพอร์เฟค

5.
 3 เมเจอร์
201

แบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 34


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 34)

1._______ 2._______ 3._______

4._______ 5._______ 6._______


202

เฉลยแบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 34


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น D
คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 34)

3. D 2. C 3. E

3. B 5. F 6. A
203

แบบฝึ กหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 5th Perfect


คาสัง่ ร้องโน้ตต่อไปนี้ 2 รอบ (โดยรอบที่ 1 ร้อง Tonic sol-fa และรอบที่ 2 )
1.

m r d s, d s

B A G D G D

2.
s d r m s d r

D G A B D G A

3.

l, d s m r d

E G D B A G

4.

r d s, l, d m s

A G D E G B D

5.

s m d l, s, d

D B G E D G

6.

d s d s m d l,

G D G D B G E
204

แบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 35 – 40


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 35 - 40)
1.

s, ____ ____ ____ ____ ____

D ____ ____ ____ ____ ____

2.

r ____ ____ ____ ____ ____

A ____ ____ ____ ____ ____

3.

m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____

4.
d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

5.

l, ____ ____ ____ ____ ____

E ____ ____ ____ ____ ____

6.

m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____


205

เฉลยแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 35 – 40


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น s,
คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 35 - 40)
1.
s, l, d r d s m

D E G A G D B

2.

r m s d l, s, d

A B D G E D G
3.

m s m r d l, r

B D B A G E A
4.
d r s, l, s, d s

G A D E D G D

5.

l, s, d s m r m

E D G D B A B
6.

m s d d l, s, r

B D G G E D A
206

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค แผนการสอนที่ 6


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. ระบบโดเคลื่อนทีเ่ ป็นระบบร้องโน้ตตัวแรกของบันไดเสียงหรือกุญแจเสียงด้วยโดเสมอไป
2. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
3. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายเรือ่ งระบบโดเคลื่อนทีไ่ ด้อย่างถูกต้อง
3. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟคได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา

ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


207

โน้ตขัน้ 8 เพอร์เฟคหรือ Octave คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line


note) กับโน้ตช่อง (Space note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค

(do = G)
78 8
2 3 4 5 6 4 567
1 1 2 3
d d’ d d’
G G G G

8 เพอร์เฟค 8 เพอร์เฟค
(do = C)
4 5 6 78
78 1 2 3
2 3 4 5 6
1
d d’ d d’
C C C C

8 เพอร์เฟค 8 เพอร์เฟค
(do = F)
78 6 78
2 3 4 5 6 4 5
1 1 2 3
d d’ d d’
F F
F F
8 เพอร์เฟค 8 เพอร์เฟค

ระบบโดเคลื่อนที่ (Movable do)


โทนิคซอล-ฟา (Tonic Sol-fa) เป็ นการใช้ระบบการเรียกชื่อตัวโน้ต ซึง่ มาจากภาษาละติน
ได้แก่ โด เร มี ฟา โซ ลา ที (do re mi fa sol la ti) ในการร้องและอ่าน โดยใช้โดเป็ นเสียงหลักหรือ
โทนิคในบันไดเสียงเมเจอร์ และลาเป็ นเสียงหลักหรือโทนิคในบันไดเสียงไมเนอร์ เรียกว่าการร้อง
แบบโดเคลื่อนที่ (Movable do)
208

ตัวอย่างของขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค อนที่ (Moveable do) โดยในตัวอย่างที่ 1


do = G และตัวอย่างที่ 2 do = C
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 51)
ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2

d s d s
G D C G
5 5
เพอร์เฟค เพอร์เฟค

ตัวอย่างของขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ อนที่ (Moveable do) โดยในตัวอย่างที่ 3


do = C และตัวอย่างที่ 4 do = G
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 52)
ตัวอย่างที่ 3 ตัวอย่างที่ 4

d l, d l,
C A G E
3 3
ไมเนอร์ ไมเนอร์
209

ตัวอย่างเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star อนที่ (Moveable do) โดยใน


ตัวอย่างที่ 5 do = F และตัวอย่างที่ 6 do = C
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 53)
ตัวอย่างที่ 5

d d s s l l s

F C D C

ตัวอย่างที่ 6

d d s s l l s

C G A G

เพลง Over the Rainbow

(CD Ear Without Fear Vol.2 track 54)


ตัวอย่างที่ 7 do = G

ตัวอย่างที่ 8 do = C
210

ทิ ศทางของทานอง
การดาเนินทานองจากโน้ตตัวหนึ่งไปยังโน้ตตัวถัดไป มีอยู่ 3 ทิศทาง คือ ทิศทางขึน้ ถ้าโน้ต
ตัวหลังมีระดับเสียงสูงกว่า หรือทิศทางลงถ้าโน้ตตัวหลังมีระดับเสียงต่ ากว่าแต่ถ้าโน้ตซ้าอยู่ทร่ี ะดับ
เสียงเดิม ก็เรียกว่า ทิศทางคงที่ ในเพลง Over the Rainbow มีทศิ ทางของทานอง (โน้ตขัน้ คู่
8 เพอร์เฟค: ซอล-ซอล’ และ โด-โด’) ขึน้ เกิดขึน้ ดังต่อไปนี้

 
8 8
เพอร์เฟค เพอร์เฟค

 
8 8
เพอร์เฟค เพอร์เฟค
กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูอธิบายเรือ่ งระบบโดเคลื่อนที่ (Moveable do) โดยให้นกั เรียนฟงั ดังต่อไปนี้
ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค อนที่ (Moveable do) โดยในตัวอย่างที่ 1 do = G
และตัวอย่างที่ 2 do = C (CD Ear Without Fear Vol.2 track 51)
ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ อนที่ (Moveable do) โดยในตัวอย่างที่ 3 do = C
และตัวอย่างที่ 4 do = G (CD Ear Without Fear Vol.2 track 52)
เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star อนที่ (Moveable do) โดยใน
ตัวอย่างที่ 5 do = F และตัวอย่างที่ 6 do = C (CD Ear Without Fear Vol.2 track 53)
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 ครูสรุปเรือ่ งระบบโดเคลื่อนที่ (Moveable do) ให้นกั เรียนฟงั พร้อมทัง้ แสดง
แผนภาพขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 1 แ 2
แผนภาพขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 3 แ 4
211

แผนภาพ Twinkle, Twinkle, Little Star อนที่ (Moveable do)


ตัวอย่างที่ 5 แ 6
2.2 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค โดยใช้แผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
2.3 นักเรียนฟงั เพลง Over the Rainbow (CD Ear Without Fear Vol.2 track 54)
2.4 ให้นกั เรียนสังเกตทิศทางขึน้ ลงของเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค ในเพลง Over the Rainbow
2.5 ครูอธิบายทิศทางการขึน้ ลงของเสียงจากเพลง Over the Rainbow ดังแผนภาพทิศ
ทางการขึน้ ลงของเพลง Over the Rainbow
2.6 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 55)
2.7 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 56 (CD Ear Without Fear
Vol.2 track 56)
2.8 นักเรียนร้องแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค โดยครูแนะนาระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.9 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 57 – 62 (CD Ear Without
Fear Vol.2 track 57 - 62)
2.10 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดบูรณาการ track 63 – 66 (CD Ear Without Fear Vol.2
track 63 - 66)
3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค และระบบโด
เคลื่อนที่ (Moveable do)

การสอน
1. ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 1 และ 2
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 51)
2. ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 3 และ 4
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 52)
3. เพลง Twinkle, Twinkle, Little Star อนที่ (Moveable do)
ตัวอย่างที่ 5 และ 6 (CD Ear Without Fear Vol.2 track 53)
4. แผนภาพขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 1 และ 2
5. แผนภาพขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ อนที่ (Moveable do) ตัวอย่างที่ 3 และ 4
212

6. แผนภาพเพลง Twinkle, Twinkle, Little Star อนที่ (Moveable do)


ตัวอย่างที่ 5 และ 6
7. เพลง Over the Rainbow
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 54)
8. แผนภูมเิ พลง Over the Rainbow
9. แบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 55)
10. แบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 56
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 56)
11. แบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
12. แบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 57 - 62
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 57 - 62)
13. แบบฝึกหัดบูรณาการ track 63 - 66
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 63 - 66)
14. CD Ear Without Fear Vol.2
15. เครือ่ งเล่น CD
16. เปียโน
17. กระดาษ
18. ดินสอ

1. การทาแบบฝึกหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


2. การทาแบบฝึกหัดเรียงลาดับทานอง track 56
3. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียนแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
4. การทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 57 – 62
5. การทาแบบฝึกหัดบูรณาการ track 63 - 66
213

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
214

แบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ 4 เพอร์เฟค
หรือ 8 เพอร์เฟค) และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 55)

1.

2.

3.

4.

5.

6.
215

เฉลยแบบฝึ กหัดจาแนกเสียงขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น  8 เพอร์เฟค
คาสัง่ จงเขียนโน้ต บอกชนิดขัน้ คู่ (ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ 4 เพอร์เฟค
หรือ 8 เพอร์เฟค) และบอกทิศทางของทานองว่าขึน้ () หรือลง ()
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 55)

1.

 8 เพอร์เฟค

2.

 8 เพอร์เฟค

3.

 4 เพอร์เฟค

4.

 2 เมเจอร์

5.

 5 เพอร์เฟค

6.

 8 เพอร์เฟค
216

แบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 56


คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 56)

1._______ 2._______ 3._______

4._______ 5._______ 6._______


217

เฉลยแบบฝึ กหัดเรียงลาดับทานอง track 56


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น E
คาสัง่ จงเรียงลาดับทานองต่อไปนี้ ว่าทานองใดเล่นก่อนและหลัง
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 56)

4. E 2. C 3. D

4. A 5. B 6. F
218

แบบฝึ กหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค


คาสัง่ ร้องโน้ตต่อไปนี้ 2 รอบ (โดยรอบที่ 1 ร้อง Tonic sol-fa และรอบที่ 2 )
1.

s, l, t, d m s m

D E F# G B D B

2.

d’ s m r t, d d’

G D B A F# G G

3.

l, d m r l, s, d

E G B A E D G

4.

d t, d r m s d

C B C D E G C

5.

s, d l, s, d m l,

D G E D G B E

6.

r d t, d m d s

D C B C E C G
219

แบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 57 – 62


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 57 - 62)
1.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

2.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

3.

m ____ ____ ____ ____ ____

E ____ ____ ____ ____ ____

4.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

5.

s, ____ ____ ____ ____ ____

C ____ ____ ____ ____ ____

6.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____


220

เฉลยแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 57 – 62


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น d
คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 57 – 62)
1.

d t, l, d r m d

G F# E G A B G
2.

s m r d d’ s m

G E D C C G E
3.

m r d l, s, d d’

E D C A G C C
4.

d t, d s, l, r d

G F# G D E A G
5.

s, d r m l, d d’

C F G A D F F
6.

d d’ s m d t, d

G G D B G F# G
221

แบบฝึ กหัดบูรณาการ track 63 – 66


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 63 – 66)
(ตัวอย่าง)

1.

2.

3.
222

เฉลยแบบฝึ กหัดบูรณาการ track 63 – 66


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 63 – 66)

1.

2.

3.
223

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 7


1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
1. โน้ตขัน้ คู่เป็นโน้ต 2 เสียงทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึง่ เป็นพืน้ ฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน
2. ทิศทางของทานองอาจจะเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น ขึน้ ลง หรืออยูก่ บั ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถฟงั ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ได้
2. นักเรียนสามารถอภิปรายลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ได้อย่างถูกต้อง

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


224

โน้ตขัน้ 6 เมเจอร์ คือระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว ซึง่ เป็ นโน้ตเส้น (Line note) กับโน้ตช่อง
(Space note) ดังแผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์

(d = G) (d = C) (d = F)

4 5 6 4 56 4 5 6
1 2 3 123 1 2 3
d l d l d l
G E C F F D

6 เมเจอร์ 6 เมเจอร์ 6 เมเจอร์

กิ จกรรม
1. การนาเข้าสู่บทเรียน
1.1 ครูอธิบายเรือ่ งโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์โดยใช้แผนภาพโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
2. การเรียนเนื้อหาสาระ
2.1 นักเรียนร้องแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ โดยครูแนะนาระดับเสียงให้
ถูกต้อง
2.2 นักเรียนฟงั และทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 84 – 89 (CD Ear Without
Fear Vol.2 track 84 - 89)
2.3 นักเรียนทาแบบฝึกหัดบูรณาการ track 90 – 93 (CD Ear Without Fear Vol.2 track
90 - 93)
3. ขัน้ สรุป
3.1 ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและสรุปลักษณะของโน้ตขัน้ คู่ 6 เมเจอร์

การสอน
1. แบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์
2. แบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 84 – 89
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 84 – 89)
3. นักเรียนทาแบบฝึกหัดบูรณาการ track 90 – 93
(CD Ear Without Fear Vol.2 track 90 - 93)
225

4. CD Ear Without Fear Vol.2


5. เครือ่ งเล่น CD
6. เปียโน
7. กระดาษ
8. ดินสอ

1. สังเกตการร้องโน้ตของนักเรียนแบบฝึกหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์


2. การทาแบบฝึกหัดบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ track 84 – 89
3. การทาแบบฝึกหัดบูรณาการ track 90 – 93

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
226

แบบฝึ กหัด Sight-Singing ขัน้ คู่ 6 เมเจอร์


คาสัง่ ร้องโน้ตต่อไปนี้ 2 รอบ (โดยรอบที่ 1 ร้อง Tonic sol-fa และรอบที่ 2 )
1.

d s l s f r d

G D E D C A G

2.

m d r s, l, d d

E C D G A C C

3.

d l s f r d m

F D C B E D G

4.

m s f l s m d

E G F A G E C

5.

d l, s, d t, r d

F D C F E G F

6.

d l s f s t, d

G E D C D F# G
227

แบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 84 – 89


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 84 - 89)
1.

d ____ ____ ____ ____ ____

C ____ ____ ____ ____ ____

2.

m ____ ____ ____ ____ ____

A ____ ____ ____ ____ ____

3.

m ____ ____ ____ ____ ____

B ____ ____ ____ ____ ____

4.

s ____ ____ ____ ____ ____

C ____ ____ ____ ____ ____

5.

d ____ ____ ____ ____ ____

G ____ ____ ____ ____ ____

6.

d ____ ____ ____ ____ ____

C ____ ____ ____ ____ ____


228

เฉลยแบบฝึ กหัดบันทึกโน้ ตตามที่ได้ยิน track 84 – 89


หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น d
คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 Track 84 – 89)
1.

d l d r m s d

C A C D E G C
2.

m f s m r d r

A B C A G F G
3.

m d s, d r m f

B G D G A B C
4.

s l s f m d s,

C D C B A F C
5.

d l, d m f r d

G E G B C A G
6.

d s l f m r d

C G A F E D C
229

แบบฝึ กหัดบูรณาการ track 90 – 93


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 90 – 93)
(ตัวอย่าง)

1.

2.

3.
230

เฉลยแบบฝึ กหัดบูรณาการ track 90 – 93


คาสัง่ จงบันทึกโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ เขียนชื่อโน้ต (ฟงั 2 ครัง้ )
( CD Ear Without Fear Vol.2 track 90 – 93)

1.

2.

3.
231

แผนกิ จกรรมการเรียนรู้ด้านโสตทักษะ Ear Without Fear Volume 2

แผนการสอนเรื่อง ทบทวน ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ แผนการสอนที่ 8


ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 4 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์
ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
และขัน้ คู่ 6 เมเจอร์ ทดสอบหลังเรียน
1 คน / 1 / 40
ชื่อผูเ้ รียน........................................................ วัน..............................เวลา...............

แนวคิ ด
โน้ตขัน้ คู่เป็ นโน้ต 2 เสียงที่เกิดขึน้ พร้อมกันหรือเกิดขึน้ ทีละเสียงซึ่งเป็ นพื้นฐานในแนว
ทานองและแนวประสาน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
2. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน

เนื้ อหา
ขัน้ คู่
ขัน้ คู่ (Interval) คือ ระยะห่างระหว่างโน้ต 2 ตัว เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างโน้ตทัง้ สองทีบ่ ่ง
บอกทัง้ ระยะและลักษณะเสียงซึง่ โน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ พร้อมกันเรียกว่าขัน้ คู่แบบฮาร์โมนิก (Harmonic
Interval) และโน้ตขัน้ คู่ทเ่ี กิดขึน้ ทีละตัวเรียกว่าขัน้ คู่แบบเมโลดิก (Melodic Interval) นอกจากนี้โน้ต
ขัน้ คู่ยงั เป็นพืน้ ฐานของเสียงประสาน
ชนิดขัน้ คู่ม ี 5 ชนิด คือ เมเจอร์ (Major) ไมเนอร์ (Minor) เพอร์เฟค (Perfect) ดิมนิ ิชท์
(Diminished) และออกเมนเทด (Augmented) ซึง่ ใช้ตวั ย่อ M, m, P, d และ A ตามลาดับ การใช้
ตัวเลขแบ่งชนิดของขัน้ คู่นนั ้ ให้นับระยะห่างระหว่างโน้ตตัวบนและโน้ตตัวล่างโดยที่โน้ตตัวบนและ
โน้ตตัวล่างจะต้องถูกนับด้วย เช่น

คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8


232

กิ จกรรม
1. ครูทบทวนขัน้ คู่ทไ่ี ด้เรียนมาทัง้ หมด ได้แก่ ขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 3 เมเจอร์ ขัน้ คู่ 4 เพอร์
เฟค ขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ขัน้ คู่ 8 เพอร์เฟค
2. นักเรียนทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
3. นักเรียนทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน

การสอน
1. แบบทดสอบหลังเรียน
2. เปียโน
3. กระดาษ
4. ดินสอ

1. การทาแบบทดสอบความรูห้ ลังเรียน
2. การทาแบบทดสอบการฟงั หลังเรียน

หมายเหตุ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
233

ภาคผนวก ค
1. แบบทดสอบทักษะด้านการฟงั ก่อนและหลังการทดลอง
2. แบบทดสอบด้านความรูก้ ่อนและหลังการทดลอง
3. แบบวัดเจตคติ
4. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
234

แบบทดสอบทักษะด้านการฟังก่อนและหลังการทดลอง
_______________________________________________________________________
คาชี้แจง
1. แบบวัดทักษะการฟงั ใช้วดั ก่อนและหลังการทดลอง
2. แบบวัดทักษะการฟงั แบ่งออกเป็น 3 ตอน
ตอนที่ 1 เขียนโน้ตตัวบนของขัน้ คู่ และบอกชนิดของขัน้ คู่ 10 ข้อ
ตอนที่ 2 จงเขียนโน้ต และบอกชนิดของขัน้ คู่
พร้อมทัง้ บอกทิศทางว่าขึน้ () หรือลง() 5 ข้อ
ตอนที่ 3 จงเขียนตัวโน้ตและชื่อโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ 5 ข้อ
รวม 20 ข้อ
3. ใน 1 ข้อมี 1 คะแนน รวมทัง้ หมด 20 คะแนน
235

ตอนที่ 1 เขียนโน้ตตัวบนของขัน้ คู่ และบอกชนิดของขัน้ คู่ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์,


คู่ 3 ไมเนอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค)
(เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1. 2. 3. 4. 5.

6. 7. 8. 9. 10.

ตอนที่ 2 จงเขียนโน้ต และบอกชนิดของขัน้ คู่ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 3 ไมเนอร์,
คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค)
พร้อมทัง้ บอกทิศทางว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

2.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

3.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง


236

4.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

5.

ชนิดขัน้ คู่ ทิศทาง

ตอนที่ 3 จงเขียนตัวโน้ตและชื่อโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ พร้อมทัง้ บอกชนิดของขัน้ คู่ (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1. 2. 3. 4. 5.

C ___ ___ ___ ___ ___


237

เฉลยแบบทดสอบด้านความรู้ก่อนและหลังการทดลอง
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็ นตัวหนาและเอียง เช่น คู่ 3 เมเจอร์ แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
ตอนที่ 1 เขียนโน้ตตัวบนของขัน้ คู่ และบอกชนิดของขัน้ คู่ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 3 ไม
เนอร์,
คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค) (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1. 2. 3. 4. 5.

คู่ 3 เมเจอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 8 เพอร์เฟค คู่ 3 เมเจอร์

6. 7. 8. 9. 10.

คู่ 4 เพอร์เฟค คู่ 6 เมเจอร์ คู่ 5 เพอร์เฟค คู่ 2 เมเจอร์ คู่ 6 เมเจอร์

ตอนที่ 2 จงเขียนโน้ต และบอกชนิดของขัน้ คู่ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 3 ไมเนอร์,
คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค)
พร้อมทัง้ บอกทิศทางว่าขึน้ () หรือลง () (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )
1.

ชนิดขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ทิศทาง ขึ้น ()

2.

ชนิดขัน้ คู่ 2 เมเจอร์ ทิศทาง ขึ้น ()


238

3.

ชนิดขัน้ คู่ 5 เพอร์เฟค ทิศทาง ลง ()

4.

ชนิดขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ทิศทาง ลง ()

5.

ชนิดขัน้ คู่ 3 ไมเนอร์ ทิศทาง ลง ()

ตอนที่ 3 จงเขียนตัวโน้ตและชื่อโน้ตตามทีไ่ ด้ยนิ (เล่นให้ฟงั 2 ครัง้ )

1. 2. 3. 4. 5.

C D F C’ C A
239

แบบทดสอบด้านความรู้ก่อนและหลังการทดลอง
_______________________________________________________________________
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบด้านความรูใ้ ช้ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง
2. แบบวัดด้านความรูแ้ บ่งออกเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ให้นกั เรียนเขียนคาตอบคาถามทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว 16 ข้อ
ตอนที่ 2 ให้นกั เรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว 4 ข้อ
รวม 20 ข้อ
3. ใน 1 ข้อมี 1 คะแนน รวมทัง้ หมด 20 คะแนน
240

ตอนที่ 1 ให้นกั เรียนเขียนคาตอบคาถามทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว


1. ให้นกั เรียนบอกขัน้ คู่ต่อไปนี้ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 3 ไมเนอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค,
คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค) (ความเข้าใจ)

1.1 1.2 1.3 1.4

1.5 1.6 1.7. 1.8

2. ให้นกั เรียนเขียนโน้ตตัวบนสาหรับขัน้ คู่ต่อไปนี้ (ความเข้าใจ)

2.1 คู่ 5 เพอร์เฟค 2.2 คู่ 3 ไมเนอร์ 2.3 คู่ 2 เมเจอร์ 2.4 คู่ 8 เพอร์เฟค

2.5 คู่ 3 ไมเนอร์ 2.6 คู่ 3 เมเจอร์ 2.7 คู่ 6 เมเจอร์ 2.8 คู่ 4
241

ตอนที่ 2 ให้นกั เรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว


ให้นกั เรียนดูบทเพลงแล้วตอบคาถามข้อ 1-3
 

1. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด (ความเข้าใจ)


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค

2. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด (ความเข้าใจ)


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค

3. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด (ความเข้าใจ)


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค
242

4.

ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย มีขนั ้ คู่ใดบ้างตามลาดับ (ความเข้าใจ)


ก. คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 3 เมเจอร์ ข. คู่ 2เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 3 ไมเนอร์
ค. คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 3 เมเจอร์ ง. คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค
243

เฉลยแบบทดสอบด้านความรู้ก่อนและหลังการทดลอง
หมายเหตุ ข้อทีม่ อี กั ษรเป็นตัวหนาและเอียง เช่น ก. 3 เมเจอร์ แสดงถึงคาตอบทีถ่ ูกต้อง
ตอนที่ 1 ให้นกั เรียนเขียนคาตอบคาถามทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว
1. ให้นกั เรียนบอกขัน้ คู่ต่อไปนี้ (คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 3 ไมเนอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค,
คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 6 เมเจอร์, คู่ 8 เพอร์เฟค)

1.1 คู่ 3 เมเจอร์ 1.2 คู่ 5 เพอร์เฟค 1.3 คู่ 3 ไมเนอร์ 1.4 คู่ 2 เมเจอร์

1.5 คู่ 3 เมเจอร์ 1.6 คู่ 3 ไมเนอร์ 1.7 คู่ 4 เพอร์เฟค 1.8 คู่ 6 เมเจอร์

2. ให้นกั เรียนเขียนโน้ตตัวบนสาหรับขัน้ คู่ต่อไปนี้

2.1 คู่ 5 เพอร์เฟค 2.2 คู่ 3 ไมเนอร์ 2.3 คู่ 2 เมเจอร์ 2.4 คู่ 8 เพอร์เฟค

2.5 คู่ 3 ไมเนอร์ 2.6 คู่ 3 เมเจอร์ 2.7 คู่ 6 เมเจอร์ 2.8 คู่ 4
244

ตอนที่ 2 ให้นกั เรียนวงกลมล้อมรอบข้อทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดียว


ให้นกั เรียนดูบทเพลงแล้วตอบคาถามข้อ 1-3
 

1. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค

2. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค

3. ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย  เป็ นขัน้ คู่ใด


ก. คู่ 2 เมเจอร์ ข. คู่ 3 เมเจอร์
ค. คู่ 4 เพอร์เฟค ง. คู่ 5 เพอร์เฟค
245

4.

ขัน้ คู่ทม่ี เี ครือ่ งหมาย มีขนั ้ คู่ใดบ้างตามลาดับ


ก. คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 5 เพอร์เฟค, คู่ 3 เมเจอร์ ข. คู่ 2เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 3 ไมเนอร์
ค. คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค, คู่ 3 เมเจอร์ ง. คู่ 3 เมเจอร์, คู่ 2 เมเจอร์, คู่ 4 เพอร์เฟค
246

แบบวัดเจตคติ
_______________________________________________________________________
คาชี้แจง
1. แบบวัดเจตคติใช้วดั ก่อนและหลังการทดลอง
2. แบบวัดเจตคติแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
2.1 องค์ประกอบด้านปญั ญา 2 ข้อ
2.2 องค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ 7 ข้อ
2.3 องค์ประกอบด้านพฤติกรรม 4 ข้อ
รวม 13 ข้อ
3. ใน 1 ข้อ มี 3 คะแนน รวมทัง้ หมด 39 คะแนนโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน
แบ่งเป็น 2 ส่วน
3.1 เห็นด้วย แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับมาก 3 คะแนน
ระดับปานกลาง 2 คะแนน
ระดับน้อย 1 คะแนน
3.2 ไม่เห็นด้วย 0 คะแนน
247

แบบวัดเจตคติ
ชื่อ........................................................ วัน...........................เวลา...................แผนที…
่ ….

ให้นักเรียนทาเครื่องหมายลง  ในช่องว่างให้ตรงกับระดับความคิ ดเห็นเพียงข้อเดียว


ข้อ ข้อความ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
มาก ปาน น้ อย
กลาง
ส่วนที่ 1 องค์ประกอบด้านปัญญา
1 การร้องเป็ นการช่วยพัฒนาทักษะด้านการฟงั
2 ทักษะด้านการฟงั ช่วยพัฒนาทักษะทางดนตรีดา้ นอื่น
ส่วนที่ 2 องค์ประกอบด้านอารมณ์ความรู้สึก
1 นักเรียนมีความสุขเมือ่ ต้องเรียนโสตทักษะ
2 นักเรียนต้องการให้เวลาผ่านไปช้า ๆ ในชัวโมงเรี่ ยน
โสตทักษะ
3 นักเรียนชอบเรียนโสตทักษะเพราะครูสอนสนุก
4 นักเรียนชอบพูดคุยเรือ่ งดนตรีกบั ครูผสู้ อน
5 นักเรียนสนใจและตัง้ ใจในการเรียนโสตทักษะ
มากกว่าวิชาอื่น
6 เมือ่ ใกล้ถงึ เวลาเรียนโสตทักษะ นักเรียนมีใจจดจ่อ
และกระตือรือร้นทีจ่ ะเรียน
7 นักเรียนชอบเพลงและแบบฝึกหัดทีค่ รูสอน
ส่วนที่ 3 องค์ประกอบด้านพฤติ กรรม
1 นักเรียนมักจะหาความรูเ้ พิม่ เติมในบทเพลงทีเ่ รียน
2 นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ รียนเสมอ
3 ถ้าหาคาตอบทีค่ รูถามไม่ได้นกั เรียนจะตัง้ ใจและ
พยายามค้นคาตอบมากขึน้
4 นักเรียนพยายามฝึกร้องเมือ่ รูส้ กึ ว่าเพลงหรือ
แบบฝึกหัดนัน้ ยาก
248

แบบสังเกตพฤติ กรรมการเรียน
_______________________________________________________________________
คาชี้แจง
1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนใช้ระหว่างการทดลองเพื่อช่วยในการวัดเจตคติ
2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
2.1 ด้านปญั ญา 3 ข้อ
2.2 ด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ 3 ข้อ
2.3 ด้านความรับผิดชอบ 3 ข้อ
รวม 9 ข้อ
3. ใน 1 ข้อ มี 3 คะแนน รวมทัง้ หมด 27 คะแนน
249

แบบสังเกตพฤติ กรรมการเรียน
ชื่อ......................................................... วัน...........................เวลา...................แผนที.่ ......

ให้ใส่เครื่องหมาย  ลงใน  ที่ตรงกับพฤติ กรรมการเรียนของนักเรียนเพียงช่องเดียว

ข้อ พฤติ กรรมการเรียน 3 2 1


ด้านปัญญา
1 ความเข้าใจเนื้อหา  เข้าใจเนื้อหาที่  เข้าใจเนื้อหาที่  ไม่เข้าใจเนื้อหาที่
สอน สามารถ สอน ไม่สามารถ สอน ไม่สามารถ
เชื่อมโยงกับความรู้ เชื่อมโยงกับความรู้ เชื่อมโยงกับความรู้
เดิมได้ เดิมได้ เดิมได้
2 การตอบคาถาม  สามารถตอบ  สามารถตอบ  ไม่สามารถตอบ
คาถามได้ถูกต้องตรง คาถามได้ถูกต้องตรง คาถามได้ถูกต้องตรง
ตามเนื้อหา และ ตามเนื้อหา แต่ไม่ ตามเนื้อหา และไม่
สามารถประยุกต์ใช้ สามารถประยุกต์ใช้ สามารถประยุกต์ใช้
ความรูท้ เ่ี รียนมาได้ ความรูท้ เ่ี รียนมาได้ ความรูท้ เ่ี รียนมาได้
3 ความสามารถในการ  แยกแยะขัน้ คู่ได้  แยกแยะขัน้ คู่ได้  แยกแยะขัน้ คู่ได้
ฟงั ถูกต้องและบันทึกโน้ต ถูกต้อง 50% และ ถูกต้อง 50% หรือ
ได้ สามารถบันทึกโน้ตได้ น้อยกว่า และไม่
สามารถบันทึกโน้ตได้
ด้านอารมณ์
1 ความรู้สึก  สีหน้ายิม้ แย้มเกิน  สีหน้ายิม้ แย้มเกิน  สีหน้ายิม้ แย้มเกิน
มีความสุขในการเรียน 15 นาที และมี 10-15 นาที และมี 5-10 นาที และไม่ม ี
ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบกับครู ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบกับครู ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบกับครู
เล็กน้อย
2 ความรูส้ กึ ต่อบทเพลง  สีหน้าแจ่มใสเมือ่  สีหน้าแจ่มใส  สีหน้าเคร่งเครียด
ได้รอ้ งเพลงมีความ เล็กน้อย ไม่ค่อยมันใจ
่ เมือ่ ต้องร้องเพลงและ
มันใจในการร้
่ อง ทีจ่ ะร้องเพลง ไม่มนใจที
ั ่ จ่ ะร้องเพลง
3 ความรูส้ กึ ต่อครู  สีหน้าแจ่มใสเมือ่  สีหน้าแจ่มใส  สีหน้าคร่งเครียด
สนทนากับครูและมี เล็กน้อยเมือ่ สนทนา มีการโต้ตอบกับครู
การโต้ตอบกับครู กับครูและมีการ เล็กน้อยหรือไม่มกี าร
อย่างเต็มใจ โต้ตอบกับครูบางครัง้ โต้ตอบเลย
250

ข้อ พฤติ กรรมการเรียน 3 2 1


ด้านความรับผิดชอบ
1 ด้านการเรียน  มีสมาธิขณะ  มีสมาธิขณะเรียน  ไม่มสี ามาธิขณะ
เรียน และตัง้ ใจ ชัวขณะและมี
่ อาการ เรียน และไม่ตงั ้ ใจ
เหม่อลอยขณะเรียน
ในบางครัง้
2 การให้ความร่วมมือใน  ร่วมทากิจกรรม  ร่วมทากิจกรรม  ร่วมทากิจกรรม
กิจกรรม อย่างความเต็มที่ อย่างเต็มที่ 20-30 อย่างเต็มที่ 10-15
ตลอดการเรียน
3 การแก้ไขปญั หา  พยายามแก้ไข  พยายามแก้ไข  ไม่พยายามแก้ไข
ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ขณะ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ขณะ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ขณะ
เรียน และซักถาม เรียนในบางครัง้ และ เรียน และไม่ซกั ถาม
ผูส้ อนเมือ่ เกิดปญั หา ซักถามผูส้ อนเมือ่ เกิด ผูส้ อนเมือ่ เกิดปญั หา
ทุกครัง้ ปญั หาในบางครัง้
251

ประวัติผเู้ ขียนวิ ทยานิ พนธ์

น.ส. นิศาชล บังคม เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2526 สาเร็จการศึกษาปริญญา


วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในพ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2552 ได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท
ในสาขาวิชาดนตรีศกึ ษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย

You might also like