You are on page 1of 21

การใชภาษาแสดง

ทรรศนะ

ภาษาแสดง ทรรศนะเปนการใช
เหตุผลและ
การคิดทั้งในเชิงวิเคราะห
สังเคราะห ประเมินคา และแกปญหา
เพื่อแสดงใหถึงความเห็น

2
1.
โครงสรางของ
การแสดงทรรศนะ
โครงสรางของการแสดงทรรศนะ
ประกอบไปดวย 3 สวน
1. ที่มา คือ
เรื่องราวที่ทําใหเกิดทรรศนะนั้นๆหรือที่มาของ
ทรรศนะนั้นๆทําใหเขาใจวาทรรศนะมาอยางไร 4

2. ขอสนับสนุน คือ
เรื่องราวขอเท็จจริงและทรรศนะรวมทั้งมติของผูอื่น
เพื่อจะเอามาสนับสนุนทรรศนะของเรา
3.ขอสรุป คือ
สวนสําคัญที่สุดของทรรศนะที่จะเอาไปนําเสนอใหผูอาน
ยอมรับทรรศนะของเรา
2.
ความแตกตางใน
ทรรศนะของแตละ
บุคคล
ทรรศนะที่ตางกัน
▹ ประการ
■ คุณสมบัติตามธรรมชาติของ
มนุษย์ - คุณสมบัติทีติดตัว
มาแต่กาํ เนิด 6

■ อิทธิพลของสิ งแวดล้อม – สิ งที


อยูร่ อบตัว
ทรรศนะที่ตางกัน
ความรู ้ ประสบการณ์
■ คนความรู ้มาก/ประสบการณ์มาก
⬝ แสดงทรรศนะได้ลึกซึ งและกว้างขวางกว่า
■ ความรู ้หาได้ทุกที
■ ประสบการณ์ คือ การทําด้วยตนเอง 7
■ คนเดียวกันแต่คนละช ่วงอายุ
⬝ สะสมความรู ้ ประสบการณ์ เพิม จึงมีทรรศนะต่างกัน
ทรรศนะที่ตางกัน
ความเชือ
■ ความเชือต่างกันในเรื องของหลักสําคัญของชีวติ
⬝ ศาสนา เศรษฐกิจ หรื อลัทธิการเมือง
⬝ แนวคิด มองปัญหาแต่ละแบบต่างกัน
⬝ เช ่นความเชือเรื องสิ งศักดิสิ ทธิ
8
⬝ เชือ – สนับสนุนการทําพิธีกรรม
⬝ ไม่เชือ – เป็ นสิ งไม่จําเป็ น และตําหนิ
⬝ เชือ/ไม่เชือ – ประนีประนอม
■ ความเชือหลัก ๆ เกิดจากการอบรมจากครอบครัวและสิ งแวดล้อม
■ เปลียนได้ตามวัยและประสบการณ์
ทรรศนะที่ตางกัน
ค่านิยม
■ สิ งไหนมีคณุ ค่าและมีความสําคัญ
■ กําหนดพฤติกรรม
■ เกิดจากการปลูกฝัง เห็นตัวอย่างและพิจารณาด้วยตนเอง
■ เปลียนได้ตามวัย ประสบการณื และอิทธิพลอืน ๆ 9
3.
ประเภทของ
ทรรศนะ
ประเภทของทรรศนะ

มี ๓ ประเภทคือ
▹ ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง 11

▹ ทรรศนะเชิงคุณคา
▹ ทรรศนะเชิงนโยบาย
ประเภทของทรรศนะ

ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง
▹ สวนใหญจะเปนทรรศนะที่กลาวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นแลว แตยังเปนเรื่องที่คนใน
สังคม ถกเถียงกันอยูวา ความจริงที่ถูกตองเปนอยางไรแน การแสดง
12
ทรรศนะเชิงขอเท็จจริงจึงเปน เพียงการสันนิษฐานเทานั้น
■ กรณีทรัพยสินของโรงเรียนถูกขโมย

ทรรศนะเชิงคุณคา
▹ เปนทรรศนะที่ประเมินวา สิ่งใดดี สิ่งใดดอย สิ่งใดเปนประโยชน หรือเปน
โทษ สิ่งใดเหมาะสมหรือไมเหมาะสม
▹ ผูแสดงทรรศนะอาจใชการเปรียบเทียบหรือไมใชก็ได
■ ความเหมาะสมของงานบวชนาคตามภาวการณปจจุบัน
ประเภทของทรรศนะ

ทรรศนะเชิงนโยบาย
▹ เปนทรรศนะที่ชี้บงวาควรทําอะไร อยางไร ตอไปในอนาคต
▹ มีไดหลายระดับ ตั้งแตระดับบุคคล กลุมบุคคล องคการ สถาบัน ไปจนถึง
13
ระดับประเทศชาติ
▹ ตอง บอกใหชัดเจนวา สิ่งที่จะเสนอแนะนั้น มีขั้นตอนอยางไร มีเปาหมาย
อะไร เปนประโยชนอยางไร และหากมีอุปสรรคจะแกไขอยางไร อาจรวม
ไปถึงวิธีปฏิบัติวานาจะทําอยางไรดวย
■ การปลูกตนไมในโรงเรียน
4.
ลักษณะของภาษา
ที่ใชในการแสดง
ทรรศนะ
ลักษณะ
ใชลักษณะเหมือกับการใชภาษาทั่วไป คือ มีความหมายชัดเจน ถอยคํา
กระทัดรัด เนื้อหาไมวกวน และอื่นๆ แตมีจุดสําคัญที่ตองใชอีกคือ

15
▹ 1.ใชคํา หรือ กลุมคําในการแสดงวาเราเปนเจาของทรรศนะนั้นๆ
เชน ผมมีขอสรุปวา… , เราขอเสนอวา… , ที่ประชุมมีมติวา…
■ ผมคิดวา เราควรออกหางจากตึกใหมากที่สุด
■ พวกเรามีความเห็นรวมกันวา คุณควรจะทบทวนสิ่งที่คุณ
ทําไปอีกครั้งหนึ่ง
ลักษณะ
▹ 2.ใชคําหรือกลุมคําประเภทกริยามาชวยในการชี้ใหเห็นขอสรุป
ในการแสดงทรรศนะ เชน นา นาจะ ควรจะตอง
■ เรื่องนี้ นา สงตอไปใหกรรมการนักเรียนดําเนินการ
■ โรงเรียน ควรจะตอง คํานึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน 16
เปนอันดับแรก

▹ 3.ใชคําหรือกลุมคําอื่นๆในการสื่อความหมายจากทรรศนะ อาจ
เปนการคาดคะเน, แสดงความเชื่อ ฯลฯ ก็ได
■ นักเรียนของพวกเราจะชนะ อยางไมตองสงสัย(แสดง
ความเชื่อมั่น)
■ เปนไปไดยาก ที่เราจะไดรับโชคสองครั้งเชนนี้อีก(คาด
คะเน)
5.
ปจจัยที่สงเสริม
การแสดงทรรศนะ
ปจจัยที่สงเสริมการเเสดงทรรศนะ

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน
-ผูรับสาร -การพูด
-สิ่งเเวดลอม -ทาทาง 18

-เวลา -ความมั่นใจ
-สถานที่ -ความรูประสบการณ
-ทัศนคติ
-ความพรอม
6.
การประเมินคา
ทรรศนะ
การประเมินคาทรรศนะ

ไม่ควรยึดตัวบุคคล เพราะ คนไม่สามารถเสนอสิ งทีถูกได้ตลอด

ประเมินจาก
▹ ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์ 20
■ มอบประโยชน์แก่ ส่วนรวม ไม่ เป็ นโทษต่ อคนส่ วนใหญ่
■ สร้างสรรค์โดยการเสนอสิ งใหม่ ๆ ทีอาจทําประโยชน์ได้
▹ ความน่ าเชือถือและความสมเหตุสมผล
■ ข้อสนับสนุนหลักการมีนาหนั ้ ก น่ าเชือถือ
■ กรณี ตวั อย่ างทีนํามาอ้างเป็ นจริ งได้ทุกสถานการณ์
■ มีการอ้างอิงผู เ้ ชียวชาญทีน่ าเชือถือ
■ แนวเทียบทีนํามาใช้มีความสอดคล้องกัน
■ มีความเป็ นไปได้ทีจะเกิดขึนจริ ง
การประเมินคาทรรศนะ

▹ ความเหมาะสมกับผูร้ ับสารและกาลเทศะ
■ เหมาะสมกับสถานะผูฟ้ ัง
■ ถูกเวลา
■ ถูกสถานที 21

■ เช่น ถ้าเราไปเสนอทรรศนะด้านความมันคงของชาติ เราก็ควรเสนอให้กบั ผูท้ ี


รับผิดชอบทางด้านนันๆ เพือไม่ให้คนนอกนําข้อมูลไปใช้ในทางทีผิดได้
▹ การใช้ภาษา
■ แจ่ มแจ้ งชัดเจน
■ เหมาะสมมีกาลเทศะ

You might also like