You are on page 1of 14

การใช้ภาษาในการโต้แย้ง

โดย นอต,วิ้นซ์, นีท,มีค,แมตตี้


1
โครงสร้าง
➤ พิจารณาโดยอาศัยกระบวนการใช่
เหตุผลซึ่งประกอบด้วยข้อสรุปและ
เหตุผล
➤ แบ่งเป็น ๒ ทรรศนะ
ตัวอย่างทรรศนะที่ 1

เหตุผล - นักเรียนมัธยมปลายของโรงเรียนหนึ่ง ส่วนใหญ่ต้องการออกไปประกอบ


อาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
ข้อสรุป - โรงเรียนจึงควรเปิดรายวิชาเลือก วิชาพื้นฐานอาชีพให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
ตัวอย่างทรรศนะที่ 2

เหตุผล - เรายังไม่เคยได้สำรวจอย่างเป็นทางการเลยแม้แต่ครั้งเดียว เมื่อสำเร็จการ


ศึกษา นักเรียนมัธยมปลายของเรา มุ่งหมายที่จะทำอะไรต่อไป มันเป็นการคาดคะเน
เอาเองตามความรู้สึกส่วนตัวเท่านั้น
ข้อสรุป - เราอาจะประสบความล้มเหลวก็ได้ ถ้าเราจะเปิดวิชาพื้นฐานอาชีพให้มาก
ยิ่งขึ้นกว่าที่ได้เคยเปิดมาแล้ว

ไม่!
หัวข้อและเนื้อหา
➤ หัวข้อและเนื้อหาที่นำมาโต้แย้งมีได้
อย่างไร้ขอบเขต
➤ ต้องกำหนดขอบเขตให้ชัดเจนว่า
เราจะโต้แย้งกันในหัวข้อใด และมี
ประเด็นอะไรนำมาพิจารณาบ้าง
เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน
➤ เนื้อหาในการโต้แย้งนั้นจะต้องสอด
คล้องกับหัวข้อ
กระบวนการ
➤ 1. การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง
➤ 2. การนิยามคำหรือกลุ่มคำสำคัญ
ที่อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง
➤ 3. การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับ
สนุนทรรศนะของตน
➤ 4. การชี้ให้เห็นจุดอ่อนและความ
ผิดพลาดของทรรศนะของฝ่ายตรง
กันข้าม
การตั้งประเด็น
➤ 1.การโต้แย้งเกี่ยวกับนโยบายหรือ
ข้อเสนอเพื่อให้เปลี่ยนแปลงสภาพ
เดิม
➤ 2.การโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
➤ 3.การโต้แย้งเกี่ยวกับคุณค่า
นิยามคำและกลุ่มคำ
➤ การกำหนดความหมายของคำและ
กลุ่มคำนั้นให้รัดกุมและแจ่มชัด
ลงไปว่า ผู้นิยามประสงค์ที่จะให้
ขอบเขตความหายของคำและกลุ่ม
คำนั้นๆครอบคลุมหรือบ่งชี้ถึงอะไร
บ้าง
➤ ตัวอย่าง
➤ ทัศนศึกษา คือ การพาไปสถาน
ที่นึงเพื่อไปศึกษาเกี่ยวกับสถาน
ที่นั้นๆ
ค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนของตนเอง

➤ ทรรศนะจะต้องมีข้อมูลสนับสนุนที่
แน่น
➤ มาจากแหล่งต่างๆ
➤ ต้องเรียบเรียงข้อสนับสนุนให้
ได้ใจความและชัดเจน
➤ ต้องเป็นควสมจริงเสมอ
➤ ตัวอย่าง
➤ การจัดทริปห้อง 1106
➤ ผู้เสนอทริปต้อง หาข้อมูลเกี่ยวกับ ที่ผัก
สถานที่เที่ยว การใช้จ่าย และความ
ปลอดภัย
การชี้จุดอ่อนของอีกฝ่าย
➤ นิยามคำสำคัญ
➤ การให้ความหมายวกวน
➤ มีความหมายที่ซับซ้อนกว่าคำที่ให้มา
➤ บิดเบือนความหมายของคำ

➤ ปริมาณความถูกต้องของข้อมูล
➤ น้อยเกิน = ไม่น่าเชื่อถือ

➤ สมมุติฐานและการอนุมาน
การวินิจฉัยเพื่อตัดสินข้อโต้แย้ง

➤ พิจารณาเฉพาะเนื้อหาที่แต่ละฝ่าย
โต้แย้ง เป็นกลาง (เหมือนศาล)
➤ พิจารณาโดยใช้ความรู้ประสบกา
รณ์ตนเองด้วย อย่างเช่นพรรคการ
เมือง

ข้อสังเกต
- พิจารณาได้กว้างขึ้น
- ทิ้งระยะนานได้
- ไม่เหมือนการโต้เถียง ไม่ใช้อา
รมณ์
ข้อควรระวัง

➤ หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์

➤ มีมารยาทในการใช้ภาษา

➤ เลือกประเด็นโต้แย้งให้สร้างสรรค์
ตัวอย่าง
➤ การโต้วาที
➤ การอภิปราย หรือแสดงความคิด
เห็น เพื่อโน้มน้าวใจผู้ฝัง และเอา
ชนะฝ่ายตรงข้าม
➤ ขั้นตอน
➤ ประธานหรือผู้ดำเนินการโต้วาทีจะ
กล่าวเปิดการโต้วาที

➤ หัวหน้าฝ่ายเสนอ แล้วจึงสลับไปเป็น
หัวหน้าฝ่ายค้าน

➤ ผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอคนที่1 ผู้สนับ
สนุนฝ่ายค้านคนที่1

➤ ผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอคนที่2 ผู้สนับ
สนุนฝ่ายค้านคนที่2
THANK YOU
ขอบคุณครับ

You might also like