You are on page 1of 13

บ้านเรือนไทยภาคกลาง

นำเสนอโดย
นาย ศิริวัฒน์ ใจชอบชื่น
นางสาว กนกลดา จันทสิโร
นางสาว ตติยา ศุภศินเจริญ
นาย พิสิษฐ์ ูวัตพุทธวิสัย
ภาคกลาง
ที่มาและความสำคัญ
หน้าจั่วเป็นศิลปะและภูมิปัญญาในการ
ออกแบบเรือนของคนไทยสมัยก่อน

การที่ยกเรือนขึ้นก็เพราะเรื่องนํ้าท่วม

รายละเอียดของเรือนขึ้นอยู่กับฐานะ
ของเจ้าของ

เรือนยังมีไว้ประดับยศ
ประโยชน์
การยกคานขึ้นมีประโยชน์อย่างยิ่ง

การทําให้ลมผ่านสะดวก

กันนํ้าท่วม

ป้องกันภัยจากสัตว์ร้าย

การทําหลังคาสูง

ช่วยถ่ายเทความร้อน

รู้สึกไม่อึดอัด
ลักษณะทั่วไป
อยู่บริเวรแม่นํ้า

เรือน ๑ ชั้น

ใต้ถุนยกสูง

แยกครัวไว้อีกที
ลักษณะเด่น
ใต้ถุนสูง

หลังคาจั่วทรงสูง

โครงสร้างไม้

ชานเรือนกว้าง

ทิศทางของเรือนตามเส้นสัญจร

การล้มเสา
ความเชื่อ
คนไทยมีความเชื่อด้าน โชคราง และฤกษ์
ยามทางไสยศาสตร์เป็นอย่างมาก

ฤกษ์ปลูกเรือน เดือน ๖ และ ๑๒

จํานวนขั้นและทิศทางของบันได

แต่งเสาเอกของบ้าน
ประเภท
เรือนหมู่

เรือนหลายหลังซึ่งปลูกอยู่ในที่เดียวกัน

จํานวนเรือนตามจํานวนลูกสาว
เรือนเดี่ยว

สําหรับครอบครัวเดียว

ลูกยังไม่ได้ออกเรือน
เรือนหมู่คหบดี

เรือนขนาดใหญ่มีเรือนคู่และเรือน
หลังเล็กหลังน้อยรวมเข้าด้วยกัน

แต่ละเรือนมีหน้าที่แตกต่างกันไป
เรือนแพ

อยู่ริมทางสัญจรทางนํ้า

สร้างแบบแพ

ระดับความสูงตามระดับนํ้าคลอง ปรับเอง
ได้
จบการนำเสนอ
ขอขอบพระคุณที่รับฟัง

You might also like