You are on page 1of 3

ขอกําหนดในการออกแบบ

(DESIGN CRITERIA)
รายการคํานวณนี้อางตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และกฎกระทรวงที่ออกโดยอาศัยอํานาจตาม
พระราชบัญญัตินี้ ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เทศบัญญัติ เฉพาะที่ไมขัดกับกฎหมายที่สูงกวา เวนแตจะเปน
ขอกําหนด/ขอบัญญัติที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการควบคุมอาคารแลว สวนใดที่ยังไมมีกําหนดไวใน
กฎหมายขางตนจะอางตามมาตราฐานอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก พ.ศ. 2517 มาตรฐานอาคารไม มาตรฐานโครงสราง
เหล็ก ของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ

คอนกรีต ใชอัตราสวนผสมโดยประมาณ ซีเมนต : ทราย : หิน = 1:2:4 หรือที่ไดจาก Mixed design โดยอัตราสวนน้ํา
ตอซีเมนต (W/C Ratio) อยูระหวาง 0.65-0.70 เพื่อใหไดกําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีต
ตัวอยางขนาดเสนผานศูนยกลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. ที่มีอายุ 28 วัน (เมื่อใชปูนซีเมนตปอรตแลนตประเภท
ที่หนึ่ง) หรือที่มีอายุ 7 วัน (เมื่อใชปูนซีเมนตปอรตแลนตชนิดที่สาม) คากําลังอัดประลัย (Ultimate
Compressive strength), fc’ = 173 ksc เปนอยางต่ํา

หนวยแรงดัดที่ยอมให fc = 0.375fc’ = 64.8 ksc


หนวยแรงเฉือนแบบคาน vc1 = 0.29√fc’ = 3.78 ksc
หนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ vc2 = 0.53√fc’ = 6.91 ksc
หนวยแรงเฉือนจาดโมเมนตบิด vc3 = 1.32√fc’ = 17.2 ksc
หนวยแรงเฉือนรวม vc4 = 1.65√fc’ = 21.5 ksc
โมดูลัสยืดหยุน Ec = 15210√fc’ = 200056 ksc
เหล็กเสริมคอนกรีต
เหล็กเสนกลมผิวเรียบใช SR-24
กําลังที่จุดคราก (Yield strength) fy = 2400 ksc
หนวยแรงดัดที่ยอมให fs = 0.5fy = 1200 ksc
โมดูลัสยืดหยุน Es = 2040000 ksc

เหล็กขอออย SD-30
กําลังที่จุดคราก (Yield strength) fy = 3000 ksc
หนวยแรงดัดที่ยอมให fs = 0.5fy = 1500 ksc
โมดูลัสยืดหยุน Es = 2040000 ksc
เหล็กลูกตั้งและเหล็กปลอกใช SR-24 (RB 6 mm.&RB 9 mm.)
กําลังที่จุดคราก (Yield strength) fy = 2400 ksc
หนวยแรงดึงทแยงจากแรงเฉือน fs = 0.5fy = 1200 ksc
โมดูลัสยืดหยุน Es = 2040000 ksc

ระยะทาบเหล็ก เหล็กขอออย ระยะทาบตองมากกวาหรือเทากับ 40 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางเหล็ก


เหล็กผิวเรียบ ระยะทาบตองมากกวาหรือเทากับ 50 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางเหล็ก

การเชื่อมตอเหล็ก รอยเชื่อมตองมีกําลังประลัยมากกวาหรือเทากับ 1.2 เทาของกําลังประลัยของเหล็กทีจ่ ะ


เชื่อม
เหล็กรูปพรรณ เหล็กรูปพรรณทั่วไปใช Fy = 2400 ksc เมื่อมีความหนาสูงสุดไมเกิน 40 มม. และถาความ
หนาเกิน 40 มม.ใช Fy = 2200 ksc, เหล็กหลอใช Fy = 700 ksc
ลวดเชื่อมและการเชื่อม ในการเชื่อมเหล็กใหใชลวดเชื่อม E-70 ขนาดการเชื่อมและระยะตางๆ ให
เปนไปตามมาตรฐานอาคารเหล็ก

พารามิเตอรสัมพันธระหวางคอนกรีตกับเหล็กเสริม
อัตราสวนโมดูลสั ยืดหยุน n = Es/Ec = 10
ตําแหนงแกนสะเทิน k = 1/[1+fs/(n*fc)] = 0.354 (SR-24)
= 0.298 (SD-30)
ตัวคูณแขนโมเมนต j = 1-k/3 = 0.881 (SR-24)
= 0.901 (SD-30)
พารามิเตอรหนาตัดสมดุล R = 0.5*fc*k*j = 9.969 (SR-24)
= 8.561 (SD-30)
น้ําหนักบรรทุกจร
หลังคา = 50 กิโลกรัมตอตารางเมตร
พื้น = 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร
โรงรถ = 400 กิโลกรัมตอตารางเมตร
บันได = 300 กิโลกรัมตอตารางเมตร
ดาดฟา = 100 กิโลกรัมตอตารางเมตร
น้ําหนักบรรทุกคงที่
คอนกรีต = 2400 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
น้ํา = 1000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
ดิน = 1800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
หิน = 3000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
กําแพงอิฐมอญ = 180 กิโลกรัมตอตารางเมตร
กําแพงอิฐบล็อก = 120 กิโลกรัมตอตารางเมตร
ผนังอิฐมวลเบา = 90 กิโลกรัมตอตารางเมตร
หลังคา = 70 กิโลกรัมตอตารางเมตร
พื้นไมรวมตง = 30 กิโลกรัมตอตารางเมตร
พื้นหินออน = 300 กิโลกรัมตอตารางเมตร
พื้นกระเบื้อง = 100 กิโลกรัมตอตารางเมตร

You might also like