You are on page 1of 6

บทที่ ๕

สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ผู้ วิ จั ย ด า เ นิ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย เ รื่ อ ง
“ศึ ก ษ า วิ ธี ก า ร บ ร ร เล ง กี ต้ า ร์ ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง น า ย เก ษ ม -
เขียวเพียร”โดยสรุปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ ดังนี้
๕.๑ สรุปผลของการวิจยั
๕.๒ อภิปรายผล
๕.๓ ข้อเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผลของการวิจยั

บทเพลงที่ได้ทาการบรรเลงในรูป แบบและเทคนิ ค ของผู้วิจยั นี้


ผู้วิจ ยั ได้ใช้ ค วามรู ้แ ละเทคนิ ค ที่ เรี ย นมาใส่ เข้าไปในบทเพลง
โดยผูว้ จิ ยั ทาการสรูปผลตามขอบเขตการวิจยั ดังนี้
๕.๑.๑ โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน
้ สุด
ใ น โ ค ร ง ส ร้ า ง ท่ อ น บ ท น า ข อ ง บ ท เ พ ล ง นั้ น
ผูว้ จิ ยั และสมาชิกได้ทาการบรรเลงท่อนบทนาขอบทเพลง Blue
in green ข อ ง ไ ม ล์ ส
เ ด วิ ส โ ด ย ก่ อ น เ ข้ า สู่ ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ท า ก า ร เ ก ริ่ น น า เ ป็ น ห ลั ก คื อ
เป็ นการบรรเลงเดี่ ย วกี ต้ า ร์ ไ ฟฟ้ าขึ้ น มาก่ อ น โดยการน า 4
ห้ อ ง สุ ด ท้ า ย ม า เ ก ริ่ น น า
เ พื่ อ เ ข้ า สู่ ท า น อ ง ห ลั ก พ ร้ อ ม กั บ ส ม า ชิ ก ใ น ว ง
ใ น โ ค ร ง ส ร้ า ง ท่ อ น สิ้ น สุ ด ข อ ง บ ท เ พ ล ง นั้ น
ผูว้ จิ ยั และสมาชิกได้ทาการบรรเลงท่อนบทนาร่วมกันของบทเพล
ง ไ ด้ แ ก่ บ ท เ พ ล ง บ ลู ส์ อิ น ก รี ย น ข อ ง ไ ม ล์ ส
เด วิ ส โด ยส่ ว น ให ญ่ เป็ น ก ารวน ซ้ า ข อ งท่ อ น สิ้ น สุ ด นั้ น ๆ
โ ด ย ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ท า ก า ร น า ชุ ด ค อ ร์ ด
ห รื อ ชุ ด ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง ม า ว น ห รื อ ซ้ า
ท า ใ ห้ ผู้ ฟั ง รู ้ สึ ก ว่ า บ ท เ พ ล ง นั้ น ก า ลั ง จ บ
และในท่อนสิน ้ สุดส่วนใหญ่เป็ นเคเดนซ์ ปิดแบบสมบูรณ์ แต่ผวู้ จิ ั
ยได้ทาการเปลีย่ นเทนชั่นของคอร์ดต่างไปจากต้นฉบับ
จากการสร้างสรรค์ทอ ่ นบทนาและท่อนสิน ้ สุดของบทเพลง
ผูว้ จิ ยั เห็นว่าการสร้างท่อนบทนาก่อนทีจ่ ะเข้าทานองหลักของบท
เพลงนัน ้ ทาให้บทเพลงมีความน่ าสนใจและน่ าติดตามมากยิง่ ขึน ้
ผู้ ฟ ั ง รู ้สึ ก อยากติ ด ตามบทเพลงว่ า จะออกมาในรู ป แบบไหน
ซึ่ ง ก า ร ส ร้ า ง ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง ท่ อ น บ ท น า นั้ น
ท า ใ ห้ บ ท เ พ ล ง มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ไ ป จ า ก ต้ น ฉ บั บ
ส่ ว น ใ น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ท่ อ น สิ้ น สุ ด ข อ ง บ ท เพ ล ง นั้ น
ท า ใ ห้ บ ท เ พ ล ง มี ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ ม า ก ขึ้ น
ซึง่ ผูว้ จิ ยั มีความพึง่ พอใจในการบรรเลงท่อนบทนาและท่อนสิน ้ สุ
ดของบทเพลงในทุกบทเพลง
๕.๑.๒ โครงสร้างของบทเพลง
บ ท เพ ลงBlue in green มี จ าน วน ทั้ง ห ม ด ๑ ๐ ห้ อ ง
แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด ๓ ห้ อ ง
อ ยู่ ใ น คี ย์ D ไ ม เ น อ ร์
ลักษณะของเพลงและการดาเนินคอร์ดอยู่ในรูปแบบ ๑๐ ห้อง
ผู้วิจ ยั บรรเลงด้ ว ยอัต ราความเร็ ว q = 66 ในอัต ราจัง หวะ 4/4
ซึ่ ง ก า ร จ ด จ า โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ก า ร บ ร ร เล ง บ ท เพ ล ง นั้ น
อั น ดั บ แ ร ก ต้ อ ง มี ก า ร ฟั ง เ พ ล ง ก่ อ น
เพือ
่ ทาให้ทราบถึงวิธก
ี ารบรรเลงบทเพลงในแต่ละตอนของบทเพ
ลง

๕.๑.๓ วิธีการดาเนินคอร์ด
บ ท เ พ ล ง อ ยู่ จุ น แ จ เ สี ย ง D ไ ม เ น อ ร์
ซึ่ ง มี การด าเนิ น คอร์ ด อยู่ ใ น ไดอาโทนิ ก ของD ไม -เน อร์
โดยเริม ่ ตัง้ แต่ห้องที่ ๑ ถึงห้องที่ ๓ เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ
VI –V- i ซึ่ งเป็ น ค อ ร์ ด ใน ได อ าโท นิ ก ข อ งคี ย์ D ไ ม เน อ ร์
และห้องที่ ๓ ถึงห้องที่ ๔ มีการดาเนินคอร์ดแบบ ii - TTsub
for V - i ซึ่งเป็ นคอร์ ด ในไดอาโทนิ ก ของคีย์ คีย์ C ไมเนอร์
และ ห้อ งที่ ๔ ถึง ห้อ งที่ ๕ มี ก ารด าเนิ น คอร์ ด แบบ ii - V - I
ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโทนิก ของคีย์ คีย์ Bb เมเจอร์
และห้องที่ ๕ ถึงห้องที่ ๗ เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ VI –
V- i ซึ่ ง เ ป็ น ค อ ร์ ด ใ น ไ ด อ า โ ท นิ ก ข อ ง คี ย์ D
เ ม โ ล ดิ ก ไ ม เ น อ ร์ แ ล ะ ห้ อ ง ที่ ๘ ถึ ง ห้ อ ง ที่ ๑ ๐
เป็ นการด าเนิ น คอร์ ด แบบ V/iv –iv-i ซึ่ ง เป็ นคอร์ ด ในไดอา-
โท นิ ก ข อ ง คี ย์ D ไ ม เน อ ร์ แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด คื อ ๓ ห้ อ ง
เป็ น ก ารด าเนิ น ค อ ร์ ด แ บ บ VI –V- i ซึ่ งเป็ น ค อ ร์ ด ใน ได -
อาโทนิกของคีย์ D ไมเนอร์

๕.๑.๔ สร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน
ใ น บ ท เ พ ล ง Blue in
greenผูว้ จิ ยั ได้ทาการสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน
ขึ้ น ม า จ า ก ค อ ร์ ด BbMajor7 ซึ่ ง เ ป็ น ค อ ร์ ด VI
ได้ เปลี่ย นเป็ นคอร์ ด Gminor6 ในห้ อ งแรก และในห้ อ งที่ 2
จากเดิ ม คื อ คอร์ ด A7 ซึ่ ง เป็ นคอร์ ด V ได้ เ ปลี่ ย นเป็ นคอร์ ด
A7Alt แ ล ะ ห้ อ ง ถั ด ไ ป คื อ ห้ อ ง ที่ 3 จ า ก เดิ ม คื อ ค อ ร์ ด
Dminor7,G7 ไ ด้ เ ป ลี่ ย น เ ป็ น Dminor11,Db7
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๘
่ .๑ คอร์ดห้องที่ ๑-๓ )
(ภาพตัวอย่างที๕

๔.๒.๕ การตกแต่งทานอง
ผูว้ จิ ยั ไม่ได้ทาการตกแต่งทานองใหม่

๕.๑.๖ การคีตปฏิภาณ
โดยผูว้ จิ ยั ได้มีการศึกษาค้นคว้าเทคนิควิธก
ี ารคีตปฏิภาณใ
นบทเพลงต่ า งๆ เทคนิ ค ที่ ผู้ วิ จ ยั น าประยุ ก ต์ ใ ช้ ส่ ว นใหญ่ คื อ
ผูว้ จิ ยั นาบันไดเสียงโมดแต่ละโมดมาบรรเลงให้เข้ากับคอร์ดโท
น แ ล ะ โ น้ ต เข บ็ ต ห นึ่ ง ชั้ น ส า ม พ ย า ง ค์ เข บ็ ต ส อ ง ชั้ น
ในการสร้างทานอง และมีการ
บันไดเสียงโมด (Mode)
ในการสร้างทานองของการคีตปฏิภาณ
โดยนามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมตามบทเพลงทีบ ่ รรเลง
๕.๑.๗ การวนหรือซ้าของบทเพลง
ในการวนซ้ าของบทเพลงนี้ เป็ นการใช้ค อร์ ด v คือ Am7
ส่ ง ไ ป ยั ง ค อ ร์ ด I คื อ Dminor7 ที่ อ ยู่ ใ น คี ย์ Dไ ม เน อ ร์
และเป็ นเคเดนซ์ปิดแบบสมบูรณ์ ดงั ภาพตัวอย่างที่ ๕.๒

(ภาพตัวอย่างที๕
่ .๒ )
๕.๒ อภิปรายผล
จากการทีผ่ วู้ จิ ยั ได้ทาการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของผูว้ จิ ั
ย ใ น บ ท เพ ล ง ที่ ไ ด้ ท า ก า ร เลื อ ก ไ ว้ ใ น ค อ น เสิ ร์ ต
บ า ง แ ส น ซั ม อ อ ฟ มิ ว สิ ค ๒ ๕ ๖ ๑
ผู้ วิ จ ยั มี ค วามพึ่ ง พอใจในการบรรเลงในทุ ก บทเพลง
ส่ ว น ข อ ง ก าร ฝึ ก ซ้ อ ม อ า จ พ บ ปั ญ ห า บ้ า ง เล็ ก น้ อ ย
โดยผูว้ จิ ยั ได้ทาการฝึ กซ้อมกับตนเองและสมาชิกในวงอย่
า ง ส ม่ า เ ส ม อ เ มื่ อ เ จ อ ปั ญ ห า ผู้ วิ จั ย ท า ก า ร คิ ด
วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า นั้ น ร่ ว ม กั บ ส ม า ชิ ก ใ น ว ง
แล้วแก้ไขพร้อมกับสมาชิกในวงตอนฝึ กซ้อม

๕.๓ ข้อเสนอแนะ
๕.๓.๑
ผูว้ จิ ยั ควรเตรียมความพร้อมก่อนการแสดงให้มากขึน ้ กว่าเดิมทัง้
การฝึ กซ้อม และการทาสมาธิกอ ้ แสดง
่ นขึน
๕.๓.๒ สถานทีใ่ นการจัดคอนเสิร์ต บางแสนซัมออฟมิวสิค
๒๕๖๑ มีความเหมาะสมในการ
แสดงเป็ นอย่างมาก
๕.๓.๓
ตารางเวลาในการจัดแสดงมีความชัดเจนและเข้าใจค่อนข้างง่าย
ทาให้สะดวกมากในการเตรียมความพร้อม
๕.๓.๔
มีการจัดเตรียมเครือ
่ งมือและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการแสดงได้อย่างเ
หมาะสม

You might also like