You are on page 1of 7

บทที่ ๔

การวิเคราะห์การบรรเลง

ผูว้ จิ ยั ศึกษาวิจยั เรือ่ ง “ศึกษาวิธก


ี ารบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของ
นายเกษม
เขียวเพียร”โดยกาหนดการวิเคราะห์การบรรเลงเป็ นบทเพลงจา
นวน ๑ บทเพลง ดังนี้
๔.๑ บทเพลงBlue in green

โดยผูว้ จิ ยั ได้ทาการกาหนดหัวข้อวิธก
ี ารวิเคราะห์วธิ ก
ี ารบร
รเลงกีตาร์ไฟฟ้ าในแต่ละบทเพลงไว้ทง้ ั หมด ๗ หัวข้อ ดังนี้
(๑) โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน ้ สุด
(๒) โครงสร้างของบทเพลง
(๓) วิธก ี ารดาเนินคอร์ด
(๔) การสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน
(๕) การตกแต่งทานอง
(๖) การคีตปฏิภาณ
(๗) การวนหรือซา้ ของบทเพลง

๔.๑ บทเพลงBlue in green


๔.๑.๑ โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน ้ สุด
โครงสร้ า งของท่ อ นบทน าในบทเพ ลงBlue in green
ผู้ วิจ ยั ได้ น า ๔ ห้ อ งสุ ด ท้ า ยของเพลงมาสร้า งเป็ นท่ อ นบทน า
โดยบรรเลงอยูใ่ นกุนแจเสียง D ไมเนอร์ ด้วยอัตราความเร็ว q =
66 ในอัต ราจัง หวะ 4/4 ในโครงสร้างของท่อ นบทน า ห้อ งที่ ๑
ถึ ง ห้ อ ง ที่ ๔
โครงสร้างของคอร์ ด และวิธีก ารด าเนิ น คอร์ ด ในกุ น แจเสี ย งD
ไ ม เ น อ ร์ โ ด ย จ บ ใ น กุ น แ จ เ สี ย ง D ไ ม เ น อ ร์
โดยการด าเนิ น คอร์ ด คื อ ล าดับ ที่ ii ไปหาคอร์ ด ล าดับ ที่ V
และจบที่ i
ใ น ท่ อ น สิ้ น สุ ด ข อ ง บ ท เ พ ล ง Blue in green
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ น า ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง ใ น 4
ห้ อ งสุ ด ท้ า ยมาท าเป็ นท่ อ นสิ้ น สุ ด และวนซ้ า ทั้ง หมด ๒ รอบ
โ ด ย ใ น ร อ บ ที่ ๒
ของการวนซ้ า การดาเนิ น คอร์ ด อยู่ในบรรไดเสี ย ง D ไมเนอร์
โ ด ย จ บ ใ น บ ร ร ไ ด เ สี ย ง D ไ ม เ น อ ร์
โดยการด าเนิ น คอร์ ด คื อ ล าดับ ที่ ii ไปหาคอร์ ด ล าดับ ที่ V
และจบที่ I จานวนทัง้ หมด ๘ ห้อง บรรเลงด้วยความเร็ว q = 66
ในอัตราจังหวะ 4/4

๔.๒.๒ โครงสร้างของบทเพลง
บ ท เพ ลง Blue in green มี จ าน วน ทั้ง ห ม ด ๑ ๐ ห้ อ ง
แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด ๓ ห้ อ ง
อ ยู่ ใ น คี ย์ D ไ ม เ น อ ร์
ลักษณะของเพลงและการดาเนินคอร์ดอยู่ในรูปแบบ ๑๐ บาร์
ผู้วิจ ยั บรรเลงด้ ว ยอัต ราความเร็ ว q = 66 ในอัต ราจัง หวะ 4/4
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๑
(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๑ โครงสร้างเพลงต้นฉบับ)
๔.๒.๓ วิธก ี ารดาเนินคอร์ด
บ ท เ พ ล ง อ ยู่ กุ น แ จ เ สี ย ง D ไ ม เ น อ ร์
ซึ่ ง มี ก ารด าเนิ น คอร์ ด อยู่ ใ นไดอาโทนิ ก ของคี ย์ D ไมเนอร์
โดยเริม ่ ตัง้ แต่ห้องที่ ๑ ถึงห้องที่ ๓ เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ
VI –V- i ซึ่ ง เป็ น ค อ ร์ ด ใ น ไ ด อ า โ ท นิ ก ข อ ง D ไ ม เน อ ร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๒

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๒ คอร์ดห้องที่ ๑-๓ )


ห้องที่ ๓ ถึงห้องที่ ๔ มีการดาเนินคอร์ดแบบ ii - TTsub
for V - i ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโทนิกของบรรไดเสียง C
ไมเนอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๓

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๓ คอร์ดห้องที่ ๓-๔ )


ห้องที่ ๔ ถึงห้องที่ ๕ มีการดาเนินคอร์ดแบบ ii - V - I
ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโทนิก ของบรรไดเสียง Bb เมเจอร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๔

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๔ คอร์ดห้องที่ ๔-๕ )

ห้องที่ ๕ ถึงห้อ งที่ ๗ เป็ นการดาเนิ น คอร์ ด แบบ VI –V- i


ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโท-
นิค D เมโลดิกไมเนอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๕

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๕คอร์ดห้องที่ ๕-๗ )


ห้องที่ ๘ ถึงห้องที่ ๑๐ เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ V/iv –iv-
i ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอา-โทนิกของคีย์ D ไมเนอร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๖

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๖คอร์ดห้องที่ ๘-๑๐ )

และท่อนสิน ้ สุดคือ ๓ ห้อง เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ VI –


V- i ซึ่ ง เป็ น ค อ ร์ ด ใ น ไ ด -อ า โ ท นิ ก ข อ ง คี ย์ D ไ ม เน อ ร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๗

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๗ ท่อนสิน


้ สุดคือ ๓ ห้อง)
๔.๒.๔ การสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน
ใ น บ ท เ พ ล ง Blue in
greenผูว้ จิ ยั ได้ทาการสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน
ขึ้ น ม า จ า ก ค อ ร์ ด BbMajor7 ซึ่ ง เ ป็ น ค อ ร์ ด VI
ได้ เปลี่ย นเป็ นคอร์ ด Gminor6 ในห้ อ งแรก และในห้ อ งที่ 2
จากเดิ ม คื อ คอร์ ด A7 ซึ่ ง เป็ นคอร์ ด V ได้ เ ปลี่ ย นเป็ นคอร์ ด
A7Alt แ ล ะ ห้ อ ง ถั ด ไ ป คื อ ห้ อ ง ที่ 3 จ า ก เดิ ม คื อ ค อ ร์ ด
Dminor7,Db7 ไ ด้ เ ป ลี่ ย น เ ป็ น Dminor11,Db7
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๘

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๘ คอร์ดห้องที่ ๑ - ๓ )

๔.๒.๕ การตกแต่งทานอง
ผูว้ จิ ยั ไม่ได้ทาการตกแต่งทานองใหม่

๔.๒.๖ การคีตปฏิภาณ
ใ น ก า ร คี ต ป ฏิ ภ า ณ ข อ ง กี ต า ร์ ไ ฟ ฟ้ า
โดยผูว้ จิ ยั นาบันไดเสียงโหมดแต่ละโหมดมาบรรเลงให้เข้ากับค
อร์ดโทนดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๙
(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๙)
๔.๒.๗ การวนหรือซา้ ของบทเพลง(TURNAROUND)
ในการวนซ้ าของบทเพลงนี้ เป็ นการใช้ค อร์ ด v คือ Am7
ส่ ง ไ ป ยั ง ค อ ร์ ด I คื อ Dminor7 ที่ อ ยู่ ใ น คี ย์ Dไ ม เน อ ร์
และเป็ นเคเดนซ์ปิดแบบสมบูรณ์ ดงั ภาพตัวอย่างที่ ๔.๑

(ภาพตัวอย่างที่ ๔.๔.๑๐)

You might also like