You are on page 1of 8

ในสังคมไทย เมือกล่ าวถึง กฐิน แล้ว


ส่วนใหญ่ก็จะกล่าวตามความคิดเห็นตามควา
มเข้าใจเดิมๆ ของตนเอง

ซึงอาจจะมีหลากหลายความคิดเห็น เช่น

อาจจะกล่าวว่า เป็ นเรืองของซองเงิ นบ้าง

เป็ นเรืองของกองว ัตถุทานขนาดใหญ่บา้ ง
หรือแม้กระทัง่

เป็ นบุญกุศลทีใครได้
กระทาแล้ว
จะไม่ไปเกิดในอบายภู มอ ี เลย เป็ นต้นนี่ คือ
ิ ก
่ ตรงตามพระธรรมทีพระผู
ความคิดเห็นทีไม่ ่ ม
้ ี

พระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ ซึงจะเห็
นได้วา

พระธรรม
้ งจะเข้าใจถู กต้อง
ต้องศึกษาเท่านันถึ

ตรงตามความเป็ นจริง แม้แต่ในเรืองของ กฐิน
ก็เช่นเดียวกันคาว่า กฐิน มี ๒ ความหมาย คือ

กฐินเป็ นชือไม้
สะดึง
ี่ วยในการเ
สาหร ับขึงผ้าให้ตงึ เป็ นอุปกรณ์ทช่
ย็บผ้า และ กฐินตามพระวินย
ั หมายถึงผ้า
่ นผ้าสาหร ับครองของพระภิกษุ
ซึงเป็
เป็ นผ้าผืนใดผืนหนึ่ง (ในบรรดา ๓ ผืน คือ
ผ้าสบง
่ เกียวโยงว่
ผ้าจีวรและผ้าสังฆาฏิ)ซึงก็ ่ ่
าผ้าทีจะ
้ องมีการขึงให้ตงึ สาหร ั
มาทาเป็ นผ้าครองนันต้

บเย็บ ผ้าผืนด ังกล่าวนัน
พระผู ม
้ พ
ี ระภาคเจ้าทรงอนุ ญาต
ี่ ่จาพรรษาครบ ๓ เดือน
แก่พระภิกษุ ทอยู

ซึงในอาวาสนั ้ ภก
นมี ิ ษุอยู ่จาพรรษา

อย่างน้อย ๕ รู ปขึนไป ้
ถ้าจานวนน้อยกว่านัน
ไม่เป็ นกฐิน
จะนิ มนต ์มาจากอาวาสอืนให้่ เต็มจานวนอย่าง
้ ไม่ได้ครงแรก
นี ก็ ้ั พระผู ม
้ พ ี ระภาคเจ้า
ทรงปรารภภิกษุ ชาวเมืองปาฐา ๓๐ รู ป
่ ความประสงค ์จะมาเข้าเฝ้าพระผู ม
ซึงมี ้ พ
ี ระภา
่ หารพระเชตวัน ตอนนัน
คเจ้าทีวิ ้
จวนเข้าสู ่ชว
่ งเข้าพรรษา
ไม่สามารถเดินทางให้ทน
ั วันเข้าพรรษาในพ
ระนครสาวัตถี ก็เลยอยู ่จาพรรษาตามพระวินย


ณ เมืองสาเกต เมือออกพรรษาแล้ ว
้ เดินทางต่อทันที
ท่านเหล่านันก็

ในช่วงนันฝนยั งไม่หมด
่ ด้วยน้ า เกิดความลาบาก
ทาให้จวี รเปี ยกชุม
พระผู ม
้ พ
ี ระภาคเจ้าทรงปรารภในเรืองนี ่ ้
จึงทรงอนุ ญาต ให้ภก ี่ ่จาพรรษาครบ ๓
ิ ษุ ทอยู
เดือนแล้ว ทาการกรานกฐิน

เพือเปลี ่
ยนผ้าในช่วงจีวรกาล
่ นเรืองวิ
ซึงเป็ ่ นย ั กรรมของพระภิกษุ
่ ยงถวายผ้าเท่านัน
ส่วนคฤหัสถ ์ มีหน้าทีเพี ้

ผ้าด ังกล่าวนันพระภิกษุ จะต้องได้มาด้วยความ
บริสุทธิ ์ ขอเขามาหรือเลียบเคียงมานันไม่
้ ได้

ถ้าหากพระภิกษุไปบอกคฤหัสถ ์ว่าวัดทีตนจ า
้ งไม่มผ
พรรษานันยั ี ูจ
้ องกฐินเลย
้ เป็ นกฐิน
แล้วคฤหัสถ ์นาไปถวาย อย่างนี ไม่
เพราะเกิดจากการออกปากขอ
่ บริสุทธิ ์
ย่อมเป็ นผ้าทีไม่

แต่ถา้ เป็ นความประสงค ์ของคฤหัสถ ์ทีจะเป็ นผู ้
้ ได้
ถวายโดยตรง อย่างนี ใช้
่ าหากคฤหัสถ ์ไม่รู ้จ ักธรรมเนี ยมในการถว
ซึงถ้
าย พระภิกษุ สามารถแนะนาแก่คฤหัสถ ์ได้

ในสมัยก่อนผ้าทีถวายเป็ ่ งไม่สาเร็จรู ป
นผ้าทียั
เป็ นผ้าขาวผืนหนึ่ง
่ ยงพอสาหร ับจะทาเป็ นผ้าผืนใดผืนหนึ่ งใ
ทีเพี
นบรรดา ๓ ผืน สาหร ับระยะเวลา หรือ
ขอบเขตในการถวายกฐินนัน ้ มีระยะเวลา ๑
้ั
เดือน คือ หลังออกพรรษาแล้ว ตงแต่
วนั แรม
่ อน ๑๑ ถึง วันขึน๑๕
๑ คาเดื ้ ่ เดือน ๑๒
คา
มาถึงตรงนี ้ ก็พอจะทราบแล้วว่า

กฐินเป็ นเรืองของผ้ ้
าเท่านัน

ไม่เกียวก ับเงินทองเลย เพราะเหตุวา
่ เงินทอง
ี่
เป็ นว ัตถุทพระภิ
กษุ ร ับไม่ได้ ถ้าร ับก็เป็ นอาบัต ิ
มีโทษ
ถ้าไม่ปลงอาบัตใิ ห้ถูกต้องตามพระธรรมวินย


เป็ นเครืองกั ้
นแห่ งการบรรลุมรรค ผล นิ พพาน
้ั คติภูม ิ และ
และกนสุ
คฤหัสถ ์ผู ถ ื่ า
้ วายเงินทองแก่พระภิกษุ ก็ชอว่
เป็ นผู ไ้ ม่ฉลาดในการเจริญกุศล เพราะเหตุวา ่
เป็ นการกระทาทีไม่ ่ ถูกต้องตามพระธรรมวินยั
เป็ นเหตุให้พระภิกษุตอ
้ งอาบัต ิ
ประการสาคญ ่
ั ทีควรพิ จารณาคือ กฐิน
ไม่วา
่ จะเป็ นยุคใด สมัยใด
ถ้าหากกระทาอย่างถู กต้องตรงตามพระวินย ั

ย่อมเหมือนก ันทังหมด ้
คือ ถู กต้องทังหมด
แต่ถา้ ไม่ตรงตามพระธรรมวินย
ั แล้วย่อมไม่ถูก
ต้อง
้ เป็ นคาในภาษาไทย
คาว่า ผ้าป่ า นัน
่ อเที
ซึงเมื ่ ยบเคียงสอบทานกับพระไตรปิ ฎกแล้
่ า ผ้าเปื ้ อนฝุ่ น
ว หมายถึง ผ้าบังสุกุล ซึงแปลว่
่ นผ้าทีไม่
ซึงเป็ ่ มเี จ้าของ

ทีพระภิ
กษุท่านแสวงหาด้วยการเก็บตามป่ าช้
า บ้าง ตามกองขยะ บ้าง
ตามสถานทีที่ บุ
่ คคลนาไปทิงแล้
้ ว บ้าง เป็ นต้น
เก็บรวบรวมมาทาเป็ นผ้าจีวรสาหร ับนุ่ งห่ม
ผ้าบังสุกุล จะไม่มผ
ี ูถ
้ วาย
แต่เป็ นการแสวงหาอย่างถู กต้องของพระภิกษุ
้ งเป็ นลักษณะของผ้าป่ าหรือผ้าบังสุกุล
นี จึ

แต่ถา้ เป็ นผ้าทีคฤหัสถ ์ถวายโดยตรงต่อท่าน
ผ้านัน้ เป็ นคฤหบดีจวี ร ไม่ใช่ผา้ บังสุกุล
่ งผ้
(ซึงทั ้ าบังสุกุล และ ผ้าคฤหบดีจวี ร

ก็เป็ นผ้าทีควรแก่ พระภิกษุ )การทอดผ้าป่ า
หรือ การถวายผ้าป่ า ไม่มใี นพระไตรปิ ฎก
ถ้าจะพิจารณาตามความเป็ นจริงในสังคมไทย
แล้ว ผ้าป่ า

มีความคลาดเคลือนจากพระธรรมวิ นย


ซึงจะเห็
นได้วา ่
่ ทีบอกว่
าถวายผ้าป่ า
ก็ไม่ใช่ผา้ ป่ าในพระธรรมวินย ั เพราะส่วนใหญ่

แล้วเป็ นเรืองของเงิ นทอง เงินทอง ไม่ใช่ผา้ ป่ า
่ าไปถวาย ก็ไม่ใช่ผา้ ป่ า
ผ้าทีน
่ จริง เป็ นผ้าบังสุกุล
เพราะผ้าป่ าทีแท้
คือผ้าเปื ้ อนฝุ่ นทีพระภิ
่ ่ าเป็
กษุแสวงหามาเพือท

นจีวรเท่านันเอง การศึกษาพระธรรม

เป็ นเรืองเบาสบาย ่
เมือเข้
าใจอย่างถู กต้องแล้ว
ไม่วา ่
่ บุคคลอืนจะว่
าอย่างไร ทาอย่างไร
มีความเห็นอย่างไร

ความเข้าใจของเราก็ไม่เปลียนเพราะถู ก คือ
ถู ก ผิด คือ ผิด ความจริงเป็ นอย่างไร
ก็ตอ ้ 22 ธ ันวาคม 2561
้ งเป็ นอย่างนัน
ว ันเสาร ์ที่ 22 ธ ันวาคม พ.ศ. 2561
http://k7591.wordpress.com
http://vot731.wordpress.com
http://2017th.wordpress.com

You might also like