You are on page 1of 10

พูด

บท1ทีม
่ า

ดนตรีแจ๊สมีตน ้ กาเนิดราวทศวรรษ 1920 โดยวงดนดรีวงแรกที่


นาสาเนียงแจ๊สมาสูผ ่ ฟู้ งั หมูม่ ากคือ ดิ ออริจน
ิ ลั ดิกซีแลนด์ แจ๊ส
แบนด์ (The Original Dixieland Jazz Band: ODJB)
ทาให้ ODJB เป็ นทีก ่ ล่าวขวัญกันอย่างมาก พร้อมกับให้กาเนิดคาว่า
"แจ๊ส" ตามชือ ่ วงดนตรี
รากลึกของแจ๊สนัน ้ มีมาจากเพลงบลูส์
(Blues)คนผิวดาทีเ่ ล่นเพลงบลูส์เหล่านี้เรียนรูด ้ นตรีจากการฟังเป็ นพื้นฐ
าน จึงเล่นดนตรีแบบถูกบ้างผิดบ้าง และมี
การขยายความด้วยความพึงพอใจของตัวเองเป็ นหลัก
ซึง่ กลายเป็ นทีม
่ าของ (Improvisation) คือ
การแต่งทานองเพลงขึน ้ มาใหม่ สดๆ โดยไม่ได้เตรียมตัวมาล่วงหน้า

๑.๒ วัตถุประสงค์
๑.๒.๑ เพือ
่ ศึกษาวิธีการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของ นายเกษม
เขียวเพียร
๑.๒.๒ เพือ่ จัดแสดงคอนเสิร์ต บางแสนซัมออฟมิวสิค ของ
นายเกษม เขียวเพียร
๑.๓ ประโยชน์ทค
ี่ าดว่าจะได้รบั
๑.๓.๑
ศึกษาผลงานทางด้านดนตรีและนาความรูท ้ างด้านดนตรีไปใช้อย่างมีคุ
ณค่า
๑.๓.๒ ผูว้ จิ ยั มีความรูท้ างด้านวัฒนธรรมดนตรีมากขึน ้
๑.๓.๓
ผูว้ จิ ยั มีความรูใ้ นการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าในดนตรีแจ๊สมากขึน้
๑.๓.๔
ผูว้ จิ ยั สามารถอธิบายวิธีการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของตนเองได้
๑.๓.๕ ผูว้ จิ ยั มีความรูท ้
้ างด้านรูปแบบวงดนตรีแจ๊สมากขึน
๑.๓.๖
ผูว้ จิ ยั มีความรูใ้ นการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าในดนตรีแจ๊สมากขึน ้

๑.๔ ขอบเขตการวิจยั
ผูว้ จิ ยั กาหนดขอบเขตในการศึกษาวิจยั เรือ
่ ง
“วิธีการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของ นายเกษม เขียว-เพียร” ในคอนเสิร์ต
บางแสนซัมออฟมิวสิค ดังต่อไปนี้
๑.๔.๑ โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน ้ สุด (Introduction
and Ending)
๑.๔.๒ โครงสร้างของบทเพลง (Song Form)
๑.๔.๓ วิธีการดาเนินคอร์ด (Chords Progression)
๑.๔.๔ การสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสาน (Re-
Harmonization)
๑.๔.๕ การตกแต่งทานอง (Embellishment Melody)
๑.๔.๖ การคีตปฏิภาณ (Improvisation)
๑.๔.๗ การวนหรือซ้าของบทเพลง (Turnaround)
บทที่ ๒
ลักษณะแนวเพลงในดนตรีแจ๊ส ยกตัวอย่าง 3
๒.๑.ดนตรีสแตนดาร์ดแจ๊ส (Standard Jazz)
๒.๑.๓ ดนตรีฟิวชั่นแจ๊ส (Fusion Jazz)
๒.๑.๒ ดนตรีลาตินแจ๊ส (Latin Jazz)
๒.๒ ขอบเขตการวิจยั ทีใ่ ช้ในการบรรเลง
๒.๒.๑ โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน
้ สุด(Introduction
and Ending)
๒.๒.๒ โครงสร้างของบทเพลง(Song form)
๒.๔.๓ การดาเนินคอร์ด (Progression Chords)
๒.๒.๔ การตกแต่งทานอง
๒.๔.๕ การปรับแต่งโน้ตในบทเพลง (Re-Harmonization)
๒.๔.๖ การคีตปฏิภาณ (Improvisation)
๒.๔.๗ การย้อนกลับ (Turnaround) Turn – Around
๒.๓ เทคนิคทีน
่ ามาใช้ในการบรรเลง

๒.๓ เทคนิคทีน
่ ามาใช้ในการบรรเลง
๒.๓.๑ Stepwise
๒.๓.๒ 212121
๒.๓.๓ สไลด์ (Slide)
๒.๓.๔ Hammer On
๒.๓.๕ Pull Off
๒.๓.๖ การดีดข้ามสาย (String Skipping)
๒.๓.๗ การไล่โน้ตตามขัน ้ และข้ามขัน้ (Skip and Step)
๒.๓.๘ การดันสาย (Blending)
้ -ลง (Alternate Picking)
๒.๓.๙ การใช้ปิ๊คดีดสลับขึน
๒.๓.๑๐ 2 note per string
๒.๓.๑๑ 3 note per string
๒.๓.๑๒ Hybrid Picking
๒.๓.๑๓ Chromatic Approach
๒.๓.๑๔ Above & Below
ความเป็ นมาของบทเพลงทีใ่ ช้ในการแสดง
เพ ล ง Standard Jazz ที่ ไ ด้ ถู ก น า ม า บ ร ร เล ง อ ยู่ ป ร ะ จ า
คงต้ อ งยกให้ ก บ ั Blue in Green นั่นเอง Blue In Green คื อ เพลง
บัลลาดทีอ่ ยูใ่ นอัลบัม
้ ชุด Kind of Blue ของ Miles Davis
อั ล บั้ ม นี้ อ อ ก ว า ง ข า ย ใ น ปี 1959
ห า ก แ ก ะ ไ ล น์ โ ซ โ ล่ ใ น เ พ ล ง ข อ ง นั ก ด น ต รี แ ต่ ล ะ ค น นั้ น
จะเห็ น ถึ ง การน าสเกลมากมายมาใช้ เช่ น Dorian , mixolydian ,
augmented ,
melodicminorแ ล ะอี ก ม าก ม าย ใน ส่ ว น ข อ งเม โล ดี เพ ลงนั้ น
ห า ก วิ เ ค ร า ะ ห์ ดี ๆ แ ล้ ว ห ล า ย ๆ โ น๊ ต นั่ น คื อ Tension
ทีถ
่ ูกวางไว้บนคอร์ดมี ทัง้ ตัว 9 , #9 , b9 , #11 เป็ นต้น
Blue In Green มี ศิลปิ นมากมายน าไปเล่น อาทิเช่น Chet Baker ,
Pat Martino , และอีกมากมาย

๒.๕ ศิลปิ นทีเ่ กีย่ วข้อง


Miles Davis นั ก ท รั ม เ ป ต นั ก แ ต่ ง เ พ ล ง
แ ล ะ หั ว ห น้ า ว ง ด น ต รี แ จ๊ ส ช า ว อ เ ม ริ กั น
ทีไ่ ด้ชือ
่ ว่าเป็ นนักดนตรีทีม ่ ุดคนหนึ่งในศตวร
่ ีอิทธิพลต่อวงการดนตรีทีส
รษที่ 20 เป็ นผู้ ที่ พ ัฒ นาการเล่ น ดนตรี แ จ๊ ส แนวทางใหม่ ห ลายแนว
โดยเป็ นแถวหน้าในการทดลองดนตรีแนวคูลแจ๊ส ฮาร์ดบ็อพ ฟรีแจ๊สแล
ะฟิ วชันแจ๊ส มีนก ั ดนตรีแจ๊สคนสาคัญหลายคนได้รว่ มงานกับวงดนตรีข
องเขา เช่น จอห์น โคลเทรน เฮอร์บี แฮนค็อก บิล อีแวนส์ ชิค โคเรีย
ไมล์ส เดวิส
ได้รบ ั การบรรจุชือ ่ ไว้ในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล เมือ ่ ปี ค.ศ.
2006 ผลงานทีม ่ เสียงและมียอดขายสูงสุด คือชุด Kind of
่ ีชือ
Blue ในปี ค.ศ. 1959

บทที่ ๓
วิธีดาเนินการวิจยั
๓.๑ แนวคิดในการจัดแสดง
คอนเสิร์ ต รีไ ซทอล ๒ (Concert Recital II) ของนิ สิต ชั้น ปี ที่ ๔
คณะดนตรีและการแสดงภายใต้ชือ ่ การจัดแสดง บางแสนซัมออฟมิวสิค
เพือ
่ ให้นิสต
ิ ได้แสดงออกถึงทักษะและความสามารถทางด้านดนตรีโดยเ
ฉ พ า ะ
มีอาจารย์ผูส ้ อนเป็ นผู้ประเมินความสามารถในการแสดงแบบวงดนตรี
จัดแสดงทีม ่ หาวิทยาลัยบูรพาขึน ้ ทุกปี
๓.๒ ขัน
้ ตอนและกระบวนการในการแสดงผลงาน
๓.๒.๑ ขัน
้ ตอนการเตรียมงาน
๓.๒.๑.๑ เลือกเพลงทีจ่ ะใช้แสดงทัง้ หมด ๕
เพลงและเสนอแก่อาจารย์ทป ี่ รึกษา
๓.๒.๑.๒ เลือกแขกรับเชิญทีจ่ ะมาร่วมแสดง
๓.๒.๑.๓ วางแผนและกาหนดวันซ้อมภายในวง
และกับแขกรับเชิญ
๓.๒.๑.๔ ค้นคว้าหาข้อมูลเกีย่ วกับเพลงทีเ่ ล่น
และทบทวนความรูท ้ ีเ่ รียนมา
๓.๒.๒ ขัน
้ ตอนการซ้อมและกาหนดรูปแบบการแสดง
๓.๒.๒.๑ วางแผนการซ้อม
ผูว้ จิ ยั ได้ทาการฟังเพลงทีไ่ ด้เลือกมา
และซ้อมกับตนเองก่อนทีจ่ ะไปซ้อมรวมกับวง
โดยการซ้อมการแสดงนัน ้ ผูว้ จิ ยั ได้จดั ลาดับเพลงในการซ้อมไว้คอ

(๑) บทเพลง บลูส์อน ิ กรีน

๓.๓ วิธีทใี่ ช้ในการศึกษา


๓.๓.๑ ศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ศึ ก ษ า บ ท เพ ล ง จ า ก แ ห ล่ ง ค้ น ค ว้ า ต่ า ง ๆ
ทั้ ง จ า ก อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ น
แ ล ะ ค้ น ค ว้ า เ พิ่ ม เ ติ ม จ า ก บ ท ค ว า ม ต่ า ง ๆ
เพือ่ นามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการแสดง
๓ .๓ .๒
ศึกษาจากการเปรียบเทียบลักษณะการบรรเลงจากแหล่งต่างๆ
ผู้วิจ ยั ได้ ศึก ษาลัก ษณะการบรรเลงจากสื่อ ออนไลน์ ยู ทู ป
(Youtube) ด้ าน โค ร งส ร้ า งข อ งเพ ล งแ ล ะก าร คี ต ป ฏิ ภ าณ
รวมถึงด้านวิธีเล่นแบบต่างๆ แล้วนามาประยุกต์ใช้ในบทเพลง
๓.๔ เครือ
่ งมือและวิธก
ี ารรวบรวมข้อมูล
๓.๔.๑ เครือ
่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
(๑) กีตาร์ไฟฟ้ า
(๒) เมโทรนอม
(๓) คอมพิวเตอร์
(๔) สมุดจดบันทึก
(๕) กล้องบันทึกวีดโี อ
๓.๔.๒ การรวบรวมข้อมูล
ผูว้ จิ ยั ได้คน
้ คว้ารวบรวมข้อมูลเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
จากห้องสมุดและเว็บไซต์ตา่ งๆ
๓.๕ การวิเคราะห์ขอ
้ มูล
ผู้ วิ จั ย น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ป ร ะ เ ด็ น ที่ ตั้ ง ไ ว้
โดยวิเคราะห์ตามขอบเขตทีก ่ าหนดใน
การศึกษาครัง้ นี้ซงึ่ มีประเด็นในการศึกษาดังนี้
๓.๕.๑ ศึกษาการคีตปฏิภาณ
๓.๕.๒ เทคนิคการบรรเลง
๓.๕.๓ การฝึ กซ้อมการบรรเลง
๓.๖ การนาเสนอข้อมูล
๓ .๖ .๑ ผ ล ง า น ก า ร แ ส ด ง “Senior Recital”
ในงานบางแสนซัมออฟมิวสิค ๒๕๖๒ จัดแสดงที่
ม ห า วิ ท ย า ลั ย บู ร พ า ใ น ชื่ อ ว ง ผ . อ . แ จ๊ ส แ บ น
โดยมีความยาวประมาณ ๔๕ นาที
๓.๖.๒ รูปเล่มรายงานวิทยานิพนธ์ทส ี่ มบูรณ์

บทที่ ๔
การวิเคราะห์การบรรเลง
๔.๑ บทเพลงBlue in green เปิ ดสไล
๔.๑.๑ โครงสร้างของท่อนบทนาและท่อนสิน ้ สุด
โครงสร้ า งของท่ อ นบทน าในบทเพ ลงBlue in green
ผูว้ จิ ยั ได้นา ๔ ห้องสุดท้ายของเพลงมาสร้างเป็ นท่อนบทนา
ใ น ท่ อ น สิ้ น สุ ด ข อ ง บ ท เ พ ล ง Blue in green
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ น า ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง ใ น 4
ห้ อ งสุ ด ท้ า ยมาท าเป็ นท่ อ นสิ้ น สุ ด และวนซ้ า ทั้ง หมด ๒ รอบ
โดยในรอบที๒ ่ ของการวนซา้
๔.๒.๒ โครงสร้างของบทเพลง เปิ ดสไล
บ ท เพ ลง Blue in green มี จ าน วน ทั้ง ห ม ด ๑ ๐ ห้ อ ง
แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด ๓ ห้ อ ง
อ ยู่ ใ น คี ย์ D ไ ม เ น อ ร์
ลักษณะของเพลงและการดาเนินคอร์ดอยู่ในรูปแบบ ๑๐ บาร์
ผู้วิจ ยั บรรเลงด้ ว ยอัต ราความเร็ ว q = 66 ในอัต ราจัง หวะ 4/4
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๑
๔.๒.๓ วิธก ี ารดาเนินคอร์ด เปิ ดสไล
บ ท เ พ ล ง อ ยู่ กุ น แ จ เ สี ย ง D ไ ม เ น อ ร์
ซึ่ ง มี ก ารด าเนิ น คอร์ ด อยู่ ใ นไดอาโทนิ ก ของคี ย์ D ไมเนอร์
โดยเริม ่ ตัง้ แต่ห้องที่ ๑ ถึงห้องที่ ๓ เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ
VI –V- i ซึ่ ง เป็ น ค อ ร์ ด ใ น ไ ด อ า โ ท นิ ก ข อ ง D ไ ม เน อ ร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๒
เปิ ดสไลห้องที่ ๓ ถึงห้องที่ ๔ มีการดาเนินคอร์ดแบบ
ii - TTsub for V - i
ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโทนิกของบรรไดเสียง C ไมเนอร์
ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๓
เปิ ดสไลห้องที่ ๔ ถึงห้องที่ ๕ มีการดาเนินคอร์ดแบบ
ii - V - I ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโทนิก ของบรรไดเสียง Bb
เมเจอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๔
เ ปิ ด ส ไ ล ห้ อ ง ที่ ๕ ถึ ง ห้ อ ง ที่ ๗
เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ VI –V- i ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอาโท-นิค
D เมโลดิกไมเนอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๕

เปิ ดสไลห้องที่ ๘ ถึงห้องที่ ๑๐


เป็ นการดาเนินคอร์ดแบบ V/iv –iv-i ซึง่ เป็ นคอร์ดในไดอา-
โทนิกของคีย์ D ไมเนอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๖
เ ปิ ด ส ไ ล แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด คื อ ๓ ห้ อ ง
เป็ น ก ารด าเนิ น ค อ ร์ ด แ บ บ VI –V- i ซึ่ งเป็ น ค อ ร์ ด ใน ได -
อาโทนิกของคีย์ D ไมเนอร์ ดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๗
๔.๒.๔
การสร้างคอร์ดใหม่ในการสร้างเสียงประสานเปิ ดสไล
๔.๒.๖ การคีตปฏิภาณเปิ ดสไล
ใ น ก า ร คี ต ป ฏิ ภ า ณ ข อ ง กี ต า ร์ ไ ฟ ฟ้ า
โดยผูว้ จิ ยั นาบันไดเสียงโหมดแต่ละโหมดมาบรรเลงให้เข้ากับค
อร์ดโทนดังภาพตัวอย่างที่ ๔.๙
เปิ ดสไล๔.๒.๗
การวนหรือซา้ ของบทเพลง(TURNAROUND)
ในการวนซ้ าของบทเพลงนี้ เป็ นการใช้ค อร์ ด v คือ Am7
ส่ ง ไ ป ยั ง ค อ ร์ ด I คื อ Dminor7 ที่ อ ยู่ ใ น คี ย์ Dไ ม เน อ ร์
และเป็ นเคเดนซ์ปิดแบบสมบูรณ์ ดงั ภาพตัวอย่างที่ ๔.๑

บทที่ ๕
สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
๕ .๑ .๑ โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ท่ อ น บ ท น า แ ล ะ ท่ อ น สิ้ น สุ ด
ใ น โ ค ร ง ส ร้ า ง ท่ อ น บ ท น า ข อ ง บ ท เ พ ล ง นั้ น
ผูว้ จิ ยั และสมาชิกได้ทาการบรรเลงท่อนบทนาขอบทเพลง Blue
in green ข อ ง ไ ม ล์ ส
เ ด วิ ส โ ด ย ก่ อ น เ ข้ า สู่ ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง
ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ท า ก า ร เ ก ริ่ น น า เ ป็ น ห ลั ก คื อ
เป็ นการบรรเลงเดี่ ย วกี ต้ า ร์ ไ ฟฟ้ าขึ้ น มาก่ อ น โดยการน า 4
ห้ อ ง สุ ด ท้ า ย ม า เ ก ริ่ น น า
เ พื่ อ เ ข้ า สู่ ท า น อ ง ห ลั ก พ ร้ อ ม กั บ ส ม า ชิ ก ใ น ว ง
ใ น โ ค ร ง ส ร้ า ง ท่ อ น สิ้ น สุ ด ข อ ง บ ท เ พ ล ง นั้ น
ผูว้ จิ ยั และสมาชิกได้ทาการบรรเลงท่อนบทนาร่วมกันของบทเพล
ง ไ ด้ แ ก่ บ ท เ พ ล ง บ ลู ส์ อิ น ก รี ย น ข อ ง ไ ม ล์ ส
เด วิ ส โด ยส่ ว น ให ญ่ เป็ น ก ารวน ซ้ า ข อ งท่ อ น สิ้ น สุ ด นั้ น ๆ
โ ด ย ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ท า ก า ร น า ชุ ด ค อ ร์ ด
ห รื อ ชุ ด ท า น อ ง ห ลั ก ข อ ง บ ท เ พ ล ง ม า ว น ห รื อ ซ้ า
ทาให้ผฟ ู้ งั รูส้ ก
ึ ว่าบทเพลงนัน
้ กาลังจบ
๕.๒ อภิปรายผล
จากการทีผ่ วู้ จิ ยั ได้ทาการบรรเลงกีตาร์ไฟฟ้ าของผูว้ จิ ั
ย ใ น บ ท เพ ล ง ที่ ไ ด้ ท า ก า ร เลื อ ก ไ ว้ ใ น ค อ น เสิ ร์ ต
บ า ง แ ส น ซั ม อ อ ฟ มิ ว สิ ค ๒ ๕ ๖ ๑
ผู้ วิ จ ยั มี ค วามพึ่ ง พอใจในการบรรเลงในทุ ก บทเพลง
ส่ ว น ข อ ง ก าร ฝึ ก ซ้ อ ม อ า จ พ บ ปั ญ ห า บ้ า ง เล็ ก น้ อ ย
โดยผูว้ จิ ยั ได้ทาการฝึ กซ้อมกับตนเองและสมาชิกในวงอย่
า ง ส ม่ า เ ส ม อ เ มื่ อ เ จ อ ปั ญ ห า ผู้ วิ จั ย ท า ก า ร คิ ด
วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า นั้ น ร่ ว ม กั บ ส ม า ชิ ก ใ น ว ง
แล้วแก้ไขพร้อมกับสมาชิกในวงตอนฝึ กซ้อม

๕.๓ ข้อเสนอแนะ
๕.๓.๑
ผูว้ จิ ยั ควรเตรียมความพร้อมก่อนการแสดงให้มากขึน ้ กว่าเดิมทัง้
การฝึ กซ้อม และการทาสมาธิกอ ้ แสดง
่ นขึน
๕.๓.๒ สถานทีใ่ นการจัดคอนเสิร์ต บางแสนซัมออฟมิวสิค
๒๕๖๑ มีความเหมาะสมในการ
แสดงเป็ นอย่างมาก
๕.๓.๓
ตารางเวลาในการจัดแสดงมีความชัดเจนและเข้าใจค่อนข้างง่าย
ทาให้สะดวกมากในการเตรียมความพร้อม
๕.๓.๔
มีการจัดเตรียมเครือ ่ งมือและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการแสดงได้อย่างเ
หมาะสม

You might also like