You are on page 1of 11

โครงงานไทยสั งคมศก ึ ษา

้ ระโยชน์จากสงิ่ แวดลอ
การใชป ้ มในการสร้างสรรค์
วัฒนธรรมในประเทศไทย

“รถอีเเตน
๋ ”

จัดทาํ โดย

นางสาวนนทชา พันธุ เ์ พ็ง


นางสาวแพรวา อัศวรังสี
นาสาวเพ็ญพิชชา อาํ ไพฉลวย
นางสาวชิสา ลาภผาติกุล

เสนอ
อาจารย ์ อัจฉรา เกง่ บัญชา

ึ ษาชั นม
ประกอบการเรี ยนวิชาไทยสั งคมศก ึ ษาปี ที่5/8
้ ั ธยมศก
โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อโครงงาน โครงงานไทยสั งคมศก ้ ระโยชน์จากสิง่ แวดลอ
ึ ษา การใชป ้ มในการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม ในประเทศไทย “ รถอีเเตน
๋ ”
ชื่อนักเรี ยน นางสาวนนทชา พันธุ เ์ พ็ง, นางสาวแพรวา อัศวรังสี, นาสาวเพ็ญพิชชา อาํ ไพ
ฉลวย, นางสาวชิสา ลาภผาติกุล
ระดับชั น้ ึ ษาปี ที่ ๕/๘
มัธยมศก
ชื่อครู ท่ีปรึ กษา นาง อัจฉรา เกง่ บัญชา
ปี พ.ศ. ๒๕๖๑

บทคัดยอ่

โครงงานชิ้นนี้ เป็ นการศก


ึ ษาคน
้ ควา้ โดยนักเรี ยนชั นม ึ ษาปี ที่ ๕
้ ั ธยมศก
โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดลเรื่ องรถอีเเตน
๋ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศก
ึ ษาเกี่ยว
๋ ให้มากขึ้น
กับประโยชน์ของอีเเตน

วิธีการดาํ เนิ นงาน มีการวางแผนให้แตล่ ะคนทาํ หน้าที่ตามที่จัดไวเ้ พื่อทาํ ให้งานเสร็จ


ไวและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น โดยการหาขอ ้ มาจากอินเตอร์เน็ ตและหนังสือ
้ มูลนัน
ภูมิศาสตร์

ผลการดาํ เนิ นงาน


จากการคน
้ ควา้ หาขอ ้
้ มูลทังจากในอิ นเทอร์เน็ ตและหนังสือเกี่ยวกับ รถอีเเตน
๋ ผล
ปรากฏวา่ รถอีเเตน ้ ถูกนํามาใชใ้ นชีวต
๋ นัน ิ ประจาํ วันของคนชาวบา้ นในหลายรู ปแบบ รถเกษตร
, รถเกษตรกรรม, รถเกษตรกร, รถขนถา่ ยการเกษตร, รถไทยแลนดเ์ ป็ นตน
้ เป็ นรถใชง้ าน
้ ั งดัดเเปลงใชง้ านไดแ
เกษตรกรรมของไทยมีอีกทังย ้ ตกตา่ งกันไปตามกรณี
กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่ องรถอีเเตน
๋ นี้
โครงงานเรื่ องรถอสามารถสาํ เร็จลุลว่ งไปไดด ์ ่ี
้ ว้ ยความกรุ ณาจากอาจารยอ์ ั จฉรา เกง่ บัญชา อาจารยท
ปรึ กษาโครงงานที่ไดใ้ ห้คาํ เสนอเเนะ เเนวคิด ตลอดจนเเกไ้ ขขอ
้ บกพร่องตา่ งๆมาโดยตลอดจนโครงงานนี้
เสร็จสมบูรณ์คณะผูจ้ ั ดทาํ ซาบซึ้งในความกรุ ณาของทา่ น และขอขอบพระคุณเป็ นอยา่ งสูงมา ณ โอกาสนี้

คณะผูจ้ ั ดทาํ
นางสาว เเพรวา อัศวรังสี
นางสาว นนทชา พันธุ เ์ พ็ง
นางสาว เพ็ญพิชชา อาํ ไพฉลวย
นางสาว ชิสา ลาภผาติกุล
สารบัญ

เรื่ อง

บทคัดยอ่ 2

กิตติกรรมประกาศ 3

สารบัญ 4

บทที่ 1 ที่มาเเละความสาํ คัญของโครงงาน 5

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ
้ ง 6-8

บทที่3 อุปกรณ์เเละวิธีการศก
ึ ษา 9

บทที่ 4 ผลการศก
ึ ษาเเละอภิปรายผลการศก
ึ ษา 10

บทที่5 สรุ ปผลการศก


ึ ษา 11

บรรณานุ กรม 12
บทที่ 1
ที่มาเเละความสาํ คัญของโครงงาน

ที่มาและความสาํ คัญของโครงงาน

ชื่อรถอีแตน ้ ีกหลายชื่อ เชน


์ ่ีเป็ นเครื่ องสูบเดียว หรื อเรี ยกกันไดอ
๋ จริ งๆ มาจากเสียงของเครื่ องยนตท ่
รถเกษตรกร , รถเกษตรกรรม , รถลูกทุง่ , รถขนถา่ ยการเกษตร เป็ นตน

้ คือในเขตพื้นที่อาํ เภวิเชียรบุรีเป็ นพื้นที่เกษตรกรรมเพาะปลูก ชาวนาประสบ
๋ นัน
เหตุผลของการสร้างรถอีแตน
๋ เพื่อที่จะขับผา่ นวัชพืชและยังสามารถลดจาํ นวนวัชพืช
ปัญหาวัชพืชเป็ นจาํ นวนมากจึงสร้างรถอีเเตน
๋ ที่เคยถูกใชโ้ ดยกลุม
จนในปัจจุบันนี้ รถอีแตน ้ ตาเมื่อใน
้ งทุง่ นาที่เราเคยเห็นจนคุน
่ เกษตรกรในทอ
้ ีการพัฒนาไปในรู ปแบบตา่ ง ๆ มากมาย เพื่อให้ตอบสนองตามความตอ
อดีต ตอนนี้ ไดม ้ งการของผูใ้ ชง้ าน

วัตถุประสงค์

1. รถที่ใชใ้ นการทาํ เกษตรกรรมของประเทศไทย โดยเฉพาะการทาํ นา รถอีแตน


๋ สร้างขึ้นมาโดยภูมิ
ปัญญาของคนไทย
2. ใชป
้ ระโยชน์ไดห
้ ลายอยา่ ง เชน ้ ั ่ นไฟ ใชเ้ ป็ นรถบรรทุกเป็ นตน
่ ไถนา วิดนํา้ เขา้ นา ใชป ้
3. ให้คนในทอ ่ ตระหนักถึงคุณคา่ แกน
้ งถิน ่ สาระและความสาํ คัญของภูมิปัญญาทอ ่
้ งถิน

ขอบเขตของโครงงาน
1.ขอบเขตองกลุม
่ ประชากร/กลุม
่ เป้าหมาย
-เกษตรกรรม
2. ขอบเขตเนื้ อหา
- คน
้ ควา้ ขอ
้ มูลจากหนังสือภูมิศาสตร์และอินเตอร์เน็ ต
บทที่2

เอกสารที่เกี่ยวขอ
้ ง

ประโยชน์ของรถอีแตน

1. สามารถดัดแปลงใชป
้ ระโยชน์ไดห
้ ลายอยา่ ง เชน ้ ั ่ นไฟ ใชเ้ ป็ นรถบรรทุก
่ ไถนา วิดนํา้ เขา้ นา ใชป
เป็ นตน

ลักษณะของรถอีแตน

้ ั งคับการขับเคลื่อน
ประกอบดว้ ยตัวเครื่ องยนต์ โครงและฐานเครื่ องยนต์ ดา้ มหล็กยื่นออกมาเพื่อใชบ
เจา้ รถอีแตน ้ สองลา้ เป็ นซี่เหล็กเพื่อใชต
๋ มีลอ ้ ะกุยดิน กันรื่ น และเมื่อนําไปใชบ
้ นทอ ้ ยางเพื่อ
้ งถนน จะมีลอ
สวมคลุมลอ
้ เหล็กอีกที ถา้ ใชบ
้ รรทุกของจะมีกระบะตอ่ พว่ งอีกที สว่ นพว่ งของอีกแตน
๋ จะใชส
้ ลักในการตอ่
พว่ ง สิง่ ที่ขาดไมไ่ ดค
้ ือสายพาน สายพานมีประโยชน์มากเหมือนเป็ นตัวชว่ ยในการประยุกตร์ ถอีแตน
๋ ให้ใช้
งานไดห
้ ลายๆอยา่ ง
ประเทศไทยมีการสง่ รถอีแตน
๋ ไปขายยังตา่ งประเทศ คือประเทศลาว โดยประเทศลาวเรี ยกวา่ รถไทยแลนด์
การนํารถอีเเตน
๋ มาใชใ้ นหลากหลายรู ปเเบบ

1.​อีแตน ์ ํา้ สาํ หรับงานเกษตรกรรม หรื อรดนํา้ ตน


๋ รถแทงกน ้ ไม้

๋ ขนขยะ ใชง้ านในการขนถา่ ยสิง่ ปฏิกูล สามารถยกกระบะทา้ ยเทได้


2. ​อีแตน

๋ บรรทุก โดยนําไปขนถา่ ยวัตถุดิบ สินคา้ ที่ผลิตเสร็จในโรงงาน


3.​อีแตน
บทที่ 3
ึ ษาคน
วิธีการศก ้ ควา้

ึ ษาคน
วิธีการศก ้ ควา้
้ เรื่ องที่จะทาํ
1. หาหัวขอ
2. วางแผนงานและแบง่ หน้าที่
3. คน
้ ควา้ ขอ
้ มูลจากอินเตอเน็ ตและหนังสือภูมิศาสตร์ตา่ งๆ
้ มูลที่หาได้
4. สรุ ปขอ
5. นําไปใสใ่ น powerpoint

6. ตรวจสอบงานทังหมด
7. รายงานโครงงาน
บทที่4
ึ ษา เเละอภิปรายผลการศก
ผลการศก ึ ษา

จากโครงงานเรื่ องรถอีแตน
๋ ที่ผูจ้ ั ดทาํ ไดห
้ าขอ ้ บวา่ โครงงานนี้ ไดใ้ ห้เราไดร้ ั บรู้ ขอ
้ มูลมาไดพ ้ มูลเกี่ยวกับ
รถอีเเตน
๋ อยา่ งมาก เชน
่ ความเป็ นมาและความสาํ คัญของรถแตน
๋ ประเภทของรถอีแตน
๋ เชน
่ อีเเตน
๋ รถแทงค์
นํา้ ขนขยะ และบรรทุกของตา่ งๆ เป็ นตน
้ เรายังไดร้ ู้ ถึงคุณคา่ และประโยชน์อีกดว้ ยเพราะรถอีเเตน ้ ทาํ ได้
๋ นัน
่ การปั่นไฟ วิดนํา้ เขา้ นา และไถน
หลายอยา่ งมาก เชน ่ า เป็ นตน

บทที่ ​5
ึ ษา
สรุ ปผลการศก

ึ ษา
สรุ ปผลการศก
เป็ นรถที่ใชใ้ นการทาํ เกษตรกรรมของประเทศไทย โดยเฉพาะการทาํ นา รถอีแตน
๋ สร้างขึ้นมาโดย
ภูมิปัญญาของคนไทยโดยใชอ
้ ะไหลร่ ถใหมห
่ รื ออะไหลร่ ถมือสองมา ประกอบกัน พบวา่ การใชง้ านเป็ น
วัฒนธรรมทอ
้ งถิน ้ าเพื่อประโยชน์ใชส
่ ที่ถูกสืบทอดกันมารุ่นตอ่ รุ่น ชาวบา้ นมักจะใชม ิ ประจาํ วัน ทัง้
้ อยในชีวต
ในการคน
้ สง่ และในการประกอบอาชีพของชาวบา้ น

ประโยชน์ท่ีไดจ้ ากโครงงาน
ประโยชน์ท่ีไดร้ ั บหลังจากศก ้ ควา้ เกี่ยวกับรถอีเเตน
ึ ษาคน ๋ คือ สมาชิกในกลุม
่ มีความรับผิดชอบตอ่
การทาํ งานไดร้ ั บรู้ ถึงความสาํ คัญและความเป็ นมาของรถอีเเตน

ขอ
้ เสนอแนะ
่ ควรที่จะจัดการเวลาในการทาํ งานให้เร็วกวา่ นี้ รวมทังการแบ
สมาชิกในกลุม ้ ง่ หน้าที่ท่ีชัดเจนเพื่อให้
ลดเวลาในการทาํ งาน
เอกสารอา้ งอิง

http://www.siamnanapan.co.th/knowledge/etan-history/

http://thairice-farm.blogspot.com/2011/03/blog-post_27.html

http://www.siamnanapan.co.th/knowledge/etan-history/

http://thairice-farm.blogspot.com/2011/03/blog-post_27.html

https://www.thairath.co.th/tags/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E
0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%8B%E0%B8%99

https://www.baanmaha.com/community/threads/12718-%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B
8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1
%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%
B8%AD%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%8B%E0%B8%99

You might also like