You are on page 1of 29

โครงงาน

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

กลุมที่ 3 บัวลอย
บัวลอย
นาย กสิณ กสิณธร (ฟา)
นาย กาย นิเทศนพกุล (กาย)
นาย ธีโรทัย ปรางละออ (เจได)
นางสาว ชัญญา โกยสุขโข (กิ๊บ)
นางสาว ณัญชิมา จันทนเสวี (ลูกไม)
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเปนพระราชพิธีที่พระมหากษัตริยไดรับการเเตงตั้งดวยการถวาย
นํ้าอภิเษกเเละการสวมพระมหาพิชัยมงกุฎเเละอาจจะมีการนําเสนอเครื่องราชกกุธภัณฑตางๆ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของประเทศไทยเริ่มมาปรากฏ
หลักฐานเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรคือ ศิลาจารึกวัดศรีชุมของพญาลิไท แหงกรุงสุโขทัย และมีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตอเนื่องมาในทุกรัช
สมัยตอมา จากสมัยสุโขทัย มาถึง สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี แตไมมีรายละเอียดในการประกอบพิธีปรากฎมากนัก จนถึงสมัยปจจุบันคือสมัยรัตนโกสินทร

● พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเปนการผสมผสานธรรมเนียม ศาสนาฮินดู เเละ ศาสนาพุทธ

● พระราชพิธีบรมราชาภิเษกคาดวาประเทศไทยไดรับรูปเเบบมาจากพิธีราชสูยะของอินเดีย

● พระราชพิธีบรมราชาภิเษกจะถูกแบงออกเปน 2 สวนที่สําคัญ ซึ่งก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร

● ภายหลังจากประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเสร็จสิ้นแลวพระมหากษัตริยที่ผานการสวมมงกุฎแลวจะประทับพระที่นั่งราชยานพุดตานทองไป
ประกาศพระองคเปนพุทธมามกะและเสด็จไปสักการะพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชบูรพการี

ในสมัยรัตนโกสินทรเริ่มจากรัชสมัยของรัชกาลที่ 1 คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธ


ยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เมื่อขึ้นเสวยราชสมบัติจึงไดริเริ่มไหจัดทําตําราสําหรับ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เพื่อใชเปนแบบแผนในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
สําหรับรัชกาลตอๆมา ซึ่งในแตละรัชกาลตอๆมาก็ไดใชแบบแผนจากตํารานี้แตก็มี
การปรับเปลี่ยนแกไขรายละเอียดเพื่อไหเหมาะกับยุคสมัย ในสมัยรัตนโกสินทร
ตั้งแตรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 9 ไดมีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้น
11 ครั้ง
รัชกาล ชื่อ วันที่จัดขึ้น

1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ● ครั้งที่ 1 10 มิถุนายนพ.ศ.2325


มหาราช ● ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2328

2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย 17 กันยายน พ.ศ. 2352

3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 1 สิงหาคม พ.ศ.2367

4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2394

5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ● ครั้งที่ 1 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411


● ครั้งที่ 2 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416

6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว ● ครั้งที่ 1 11 พฤศจิกายนพ.ศ.2453


● ครั้งที่ 2 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2454

7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2468

8 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิด-ล (ไมมีการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษก)

9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493


ภูมิพลอดุลยเดช
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
ขั้นตอนพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจะแบงออกเปน 5 ลําดับ:

1. ขั้นเตรียมพิธี:
มีการตักนํ้าจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศมาทําพิธีเสกนํ้าแลวนํานํา◌้เหลานี้สงเขามาใน พระ
บรมมหาราชวังเพื่อประกอบพิธี

ในรูปนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงรับ
นําพระมูรธาภิเษกจากสมเด็จพระสังฆราช
เจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ

2. พิธีเบื้องตน
มีการเจริญนํ้าพระพุทธมนตและจุดเทียนชัย

3. พิธีบรมราชาภิเษก
มีการนั้งบนพระที่นั้งอัฐทิศพระบันฑิตเเละพราหมณนั้งประจําทิศทั้งเเละกลาวคําอัญเชิญใหทรง
ปกปกรักษาทิศนั้น ๆ เเละถวายนํ้าอภิเสกจนครบ 8ทิศ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
4. พิธีเบื้องปลาย
เสด็จออกทองพระโรงเพื่อรับคําถวายชัยมงคลตอดวยการสถาปนาพระราชินี การรับอุปถัมภคณะ
สงฆ และสักการะพระมหากษัตริยในรัชกาลกอนทุกพระองค และขึ้นนั่งและบรรทมบนพระที่นั่ง
จักรพรรดิพิมาน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงรับพระ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงหลั่งทักษิโณทก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ พระ


แสงอัษฎาวุธจากพระมหาราชครู ตั้งพระราชสัตยาธิษฐาน ประทับเหนือพระที่นั่ง เสด็จพระราชดําเนินออกมหาสมาคม ณ อัครมเหสี เปน สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินี
พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหยศูรยพิมาน
ภัทรบิฐ ภายใตนพปฎลเศวตฉัตร
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
5. เสด็จพระราชดําเนินเลียบพระนคร
เดินทางไปสักการะพระอารามที่สําคัญโดยมีกระบวนพยุหยาตราทั้งทางสถลมารคและชลมารค
เเหไป

ในรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จฯ
ในการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ณ พระที่นั่งจักรพรรดิ
พิมาน

ในรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จดวย
กระบวนราบใหญประกาศพระองคเปนพุทธศาสนูปถัมภก ณ พระ
อุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
การรับตําแหนงใหมและการฉลอง
บุคลลทั่วไป/ขาราชการ เมื่อไดรับประกาศแตงตั้งใหเขารับตําแหนงใหมที่สูงขึ้นสวนใหญมี
ธรรมเนียมปฎิบัติ

1. มีการประชุมจากกรรมการในบริษัทเอกชน /หนวยงานราชการ ตางๆเพื่อคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติ


เหมาะสมเขารับตําแหนง

2. มีการประชุมแจงในที่ประชุมในบริษัทเอกชน / หนวยงานราชการตางๆใหพนักงานทราบถึงผูที่จะเขารับ
ตําแหนงผูบริหารคนใหม

3. สงจดหมายแจงไปยังบริษัทเอกชน /หนวยงานราชการภายนอกองคกรตาง ที่ทํางานเกี่ยวของกันให


ทราบถึงผูที่จะเขามารับตําแหนงใหม

4. เมื่อผูที่ไดรับตําแหนงเขารับตําแหนงเรียบรอย จะมีการพูดแสดงนโยบายตางๆที่จะปรับปรุงและแกไขเพื่อ
พัฒนา บริษัทเอกชน / หนวยงานราชการ นั้นๆใหดียิ่งขึ้นๆไปใหพนักงานรับทราบ

5. มีการจัดเลี้ยงตอนผูเขารับตําแหนึ่งใหมในบริษัทเอกชน / หนวยงานราชการนั้นๆ และมีการแสดงความ


ยินดีจากหนวยงานตางๆจากภายนอก ทั้งทางจดหมายและมอบสิ่งของอาจเปนกระเชาดอกไมสงมาแสดง
ความยินดีกับบุคคลที่เขารับตําแหนงใหม
โครงงาน
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ
สิริราชสมบัติ มาจากคําวา ราชสมบัติ เปนคํานามหมายถึงสมบัติของพระมหากษัตริย เติมคําวา สิริ ที่เปนคํานามมีความ
หมายวา ศรี มิ่งขวัญ มงคล เพิ่มเขามาใหมีความหมายเพิ่มขึ้นและเกิดความไพเราะขึ้น พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติคือ
พิธีที่จัดขึ้นเพื่อฉลองวาระครบรอบการครองราชยของพระมหากษัตริย

พระราชพิธีรัชดาภิเษก (Silver Jubilee) เปนพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสครองสิริราชสมบัติครบรอบ


25ป

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ครบรอบครองราชยนานกวารัชกาลในอดีต ในที่นี่คือครบ 42 ป 23 วัน

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) ครบรอบ50ป

พระราชพิธีฉลองสิรืราชสมบัติครบ 60 ปหรืออีกชื่อวาพิธีพัชราภิเษก หรือ วชิราภิเษก (Diamond Jubilee)ครบรอบ60ป


การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา
พระราชพิธีรัชดาภิเษก

เปนพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 25 ป ในวัน


ที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีหมายกําหนดการจัดงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก ระหวางวันที่ 8-10 มิถุนายน
พุทธศักราช 2514 รวมทั้งสิ้น 3 วัน รัฐบาลในสมัยของจอมพล ถนอม กิตติขจร และประชาชนชาวไทยรวมกันจัดพระราชพิธีนี้ขึ้น มีลําดับการจัดพิธีตามนี้

วันที่ 8 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 เวลา 08.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม
ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดําเนิน ทรงตรวจพลสวนสนาม และ ทอดพระเนตร การแสดงแสนยานุภาพของกองทัพไทย ณ ถนนราชดําเนินกลาง ชวง
บริเวณวงเวียน อนุสาวรียประชาธิปไตย

วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 เวลา 10.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นั่งอมรินทร
วินิจฉัย ภายในพระบรมมหาราชวัง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาภาณุพันธยุคล เฝาทูลละอองธุลีพระบาท เพื่อ
กราบบังคมทูลพระกรุณา ถวายพระพรชัยมงคล แทน พระบรมวงศานุวงศ
การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา
พระราชพิธีรัชดาภิเษก (ตอ)

วันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2514 เวลา 11.30 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ในรัชกาลที่ 9 เสด็จออก ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหคณะทูตานุทูตตางประเทศ และผูแทนกงสุล เฝาทูลละอองธุลีพระบาท
ถวายพระพรชัยมงคล

เวลา 16.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดําเนินมายัง วัดพระศรีรัตนศาสดารามพระสงฆ 80 รูป เจริญ


พระพุทธมนตถวายพระพร ภายในพระอุโบสถ จากนั้น เสด็จพระราชดําเนิน ไปที่หนาพระอุโบสถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหบรรพชิตจีน
นิกาย และอนัมนิกาย ถวายพระพรชัยมงคล จากนั้น จึงเสด็จพระราชดําเนินกลับ
เวลา 19.00 น. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9
เสด็จพระราชดําเนิน ทรงรวมงานสโมสรสันนิบาต ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล

ตราสัญลักษณ

● ตราสัญลักษณพระราชพิธีรัชดาภิเษก 9 มิถุนายน 2514 มีลักษณะเปนรูปพระมหามงกุฎ ประดิษฐานบน


พานแวนฟา มีรัศมีแผโดยรอบ ตั้งอยูบนวิมานเมฆ ระหวางพระมหามงกุฎและพาน มีตราอุณาโลมหรือเลข 9 อัน
หมายถึง รัชกาลที่ 9 ขางพานมีราชสีหและคชสีห คํ้าจุนขนาบเศวตฉัตรซายขวา สวนลางมีอักษร "รัชดาภิเษก 9
มิถุนายน ๒๕๑๔" และแถบขอความ "ที่ระลึกพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ป
● ตราสัญลักษณนี้ มีปรากฏใชเพียงสองแหง คือบนพัดรองจํานวน 200 เลม เพื่อถวายแตพระสงฆ ตั้งแตชั้น
เจาคณะจังหวัดขึ้นไป ตามโบราณราชประเพณี และหนังสือที่ระลึก ซึ่งจัดพิมพขึ้นในโอกาสนี้ มิไดมีใชทั่วไป
สิ่งที่รัฐบาลจัดทําและสรางเพือเปนการระลึกถึงการจัดงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก

● สรางถนนรัดาภิเษก
● ขอพระราชทานจัดตั้งโรงเรียนระดับสามัญศึกษา จํานวน 9 โรงทั่วประเทศไทยโดยนําคําวา”รัชดาภิเษก”ใสรวมเขาดานหลังชื่ออําเภอในจังหวัดที่
จัดตั้งทั้ง 9โรงเรียนดังนี้

-โรงเรียนปงรัชดาภิเษก อําเภอปง จังหวัดเชียงราย


-โรงเรียนบอพลอยรัชดาภิเษก อําเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี
-โรงเรียนพรหมบุรีรัชดาภิเษก อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบุรี
-โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย
-โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด
-โรงเรียนขลุงรัชดาภิเษก อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี
-โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ อําเภอพระประแดงจังหวัดสมุทรปราการ
-โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก อําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
-โรงเรียนทาแซะรัชดาภิเษก อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร
พระราชพิธีที่ผานมา
พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก
เปนพระราชพิธีที่จัดขึ้นเปนกรณีพิเศษที่เกิดขึ้นจากการครองราชยของพระมหากบัตริยนานกวาพระมหากษัตริยในรัชกาลกอนๆ ไมมีการกําหนดจํานวนปที่แนนอน ใน
ประเทศไทยมีการจัดงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 2 ครั้ง ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 พุทธศักราช 2451และครั้งที่ 2 ในสมัยรัชกาลที่ 9 พุทธศักราช 2531 ในกรณี
การจัดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกในสมัยรัชกาลที่ 9 เพื่อเปนการเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรง
ครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกวาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ผูเปนสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช ซึ่งทรงเปนพระมหากษัตริยไทยที่เคยครองราชยยาวนาน
ที่สุด นับตั้งแตวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เปนเวลา 42 ป 23 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มี
หมายกําหนดการจัดงานในระหวางวันที่ 2, 3 และ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 รวมทั้งสิ้น 3 วันพระราชพิธีนี้ รัฐบาลในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท และ ประชาชนชาว
ไทย รวมกันจัดขึ้น
มีกําหนดการจัดงานดังนี้
วันที่ 2 กรกฏาคม พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ยังพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย บําเพ็ญพระราชกุศลถวายแด พระ
บาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จากนั้นเสด็จพระราชดําเนินไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เพื่อทรงบูชา พระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร พระพุทธรูป
ปางประจํารัชกาล สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชแหงกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรี ที่หอพระราชกรมานุสร และพระพุทธรูปปางประจํารัชกาลสมเด็จพระบูรพ
กษัตริยาธิราชแหงพระบรมราชจักรีวงศ ที่หอพระราชพงศานุสร
วันที่ 3 กรกฏาคม พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระราชดําเนินไปยังพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในการ
พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติ รัชมังคลาภิเษก
วันที่ 5 กรกฏาคม พุทธศักราช 2531 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ โดยรถไฟพระที่นั่งไปยังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในการ
ประกอบพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชแหงกรุงศรีอยุธยา
การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
ตราสัญลักษณพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พุทธศักราช 2531

ตราสัญลักษณนี้ออกแบบโดยนายชางกองหัตถศิลป กรมศิลปากร ประกอบดวย พระราชลัญจกรประจําพระองค รัชกาลที่ 9


ประดิษฐานอยูกึ่งกลาง มีเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ คือ พระมหาพิชัยมงกุฎ พระแสงขรรคชัยศรี ธารพระกรชัยพฤกษ พัดวาล
วิชนีและพระแสจามรี และฉลองพระบาทเชิงงอน ประกอบอยูโดยรอบ พรอมฉัตร 7 ชั้น ประดับอยูซายและขวา มีแพรแถบจารึก
อักษรวา “พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก วันที่ 2 กรกฎาคม พุทธศักราช 2531”

สิ่งที่รัฐบาลจัดทําและสรางเพื่อเปนการระลึกถึงการจัดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก

● จัดสรางสนามกีฬา “ราชมังคลากีฬาสถาน” ถือเปนสนามกีฬาขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย และใหญเปนอันดับ 17


ของทวีปเอเชีย และ อันดับ 55 ของโลกตั้งอยูภายในสนามกีฬาหัวหมาก ของการกีฬาแหงประเทศไทย ผูออกแบบสนาม
กีฬาคือ อาจายรังสรรค ตอสุวรรณ ใชเวลาออกแบบและกอสรางตั้งแต พุทธศักราช 2531 - 2541 รวม 10 ป และเปดใช
ครั้งแรกในการแขงขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส ครั้งที่ 13 ที่ประเทศไทยเปนเจาภาพ
● กระทรวงศึกษาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้ง โรงเรียนระดับสามัญศึกษา โดยเติมคําวา รัชมังคลาภิเษกตอ
ทายชื่อโรงเรียน จํานวนมากกวา 30 โรงเรียน ทั่วประเทศไทย

-โรงเรียนนาเยียศึกษา รัชมังคลาภิเษก อําเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี

-โรงเรียนรามวิทยา รัชมังคลาภิเษก อําเภอเมืองสุรินทร จังหวัดสุรินทร

-โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ฯลฯ


รูปภาพการจัดงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 2451 (ร.5)
จ๗
รูปภาพการจัดงานพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก 2531 (ร.9)
การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
พระราชพิธีกาญจนาภิเษก

เปนพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริยทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ป ตามคติสากลพระราชพิธีนี้จัดขึ้นเปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยพระบาท


สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองคทรงครองราชสมบัติ เปนปที่ 50 ใน พุทธศักราช 2538 และครบรอบ 50 ปจริงในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 ซึ่งถือเปนพระ
มหากษัตริยที่ครองราชสมบัติเปนระยะเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตรชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีหมายกําหนดการจัดงานพระราชพิธีกาญจนาภิ
เษก และงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ป ระหวางวันที่ 8-10,12,14,23 มิถุนายน ,7พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 รวมทั้งสิ้น 7 วัน พระราชพิธีนี้ รัฐบาล สมัย นายบรรหาร ศิลปอาชา และ
ประชาชนชาวไทย เปนผูรวมกันจัดขึ้น

มีรายละเอียดการจัดงานดังนี้

วันที่ 8 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 เวลา 16.30 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ประกอบพระราชพิธีเฉลิม
พระปรมาภิไทย และ พระราชกุศลทักษิณานุปาทาน

วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 เวลา 10.00 เสด็จประกอบพระราชพิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราช และเสด็จออกมหาสมาคม ณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก มณทลพิธีทอง
สนามหลวง

วันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 เวลา 16.30 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสถาปนาสมณศักดิ์พระสงฆ 59 รูป ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง

วันที่ 12 มิถุนายน พุทธศักราช 2439 เวลา 17.00 ทรงโปรดใหคณะทูตานุฑูตเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคล ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล

วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 เวลา 19.30 รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ และถวายพระพรชัยมงคล ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล

วันที่ 23 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 เวลา 15.00 พิธีสวนสนามแสดงแสนยานุภาพของกองทัพไทย ณ บริเวณถนนราชดําเนิน จากทองสนามหลวง ถึง ลานพระราชวังดุสิต

วันที่ 7 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2539 เวลา 15.30 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินถวายผาพระกฐิน โดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม


การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
ตราสัญลักษณพระราชพิธีกาญจนาภิเษกพุทธศักราช 2539

เปนตราที่ชนะการประกวดออกแบบที่จัดขึ้น โดยกรมศิลปากร และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระบรมราชวินิจฉัยแกไข


ปรับปรุงเพิ่มเติม และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหนําไปใชประกอบดวยพระราชลัญจกรประจําพระองค ของพระบาท
สมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 มีตราพระบรมราชวงศจักรี และพระมหาพิชัยมงกุฏอยูดานบน เปนเครื่องแสดงถึงความเปนพระ
มหากษัตริยแหงราชวงศจักรี มีพานเครื่องสูง 2 ชั้น สัญลักษณของรัฐธรรมนูญ เครื่องหมายแสดงถึงการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย โดยมีชาง ที่เปนพระราชยานพาหนะของพระมหากษัตริยเปรียบเปนตัวแทนประชาชน จํานวน 2 เชือกเทินตรา
พระราชลัญจกร อยูภายใตเศวตฉัตร
การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
สิ่งที่รัฐบาลจัดทําและสรางเพือเปนการระลึกถึงการจัดพระราชพิธีกาญจนาภิเษก
● กรมธนารักษ จัดทําเหรียญที่ระลึกประดับแพรแถบ 2 ชนิดคือ เหรียญทองคํา และเหรียญเงินอะไหลทอง ใชไ◌้ดทั้งบุรุษและสตรี
● ธนาคารแหงประเทศไทย จัดทําธนบัตรที่ระลึกชนิดราคา 50 และ 500 บาท
● การสื่อสารแหงประเทศไทย จัดทําตราไปรษณียากรที่ระลึก
● กระทรวงคมนาคม ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสราง ถนนกาญจนาภิเษก
● กระทรวงศึกษาธิการ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้ง โรงเรียนระดับสามัญศึกษาจํานวน 9 แหง ทัวประเทศไทย พระราชทานนามวา โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย
ประกอบรวมกับชื่อจังหวัดที่ตั้ง

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยอุทัยธานี อําเภอหนองขาหยาง จังหวัดอุทัยธานี

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยชัยภูมิ อําเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยฉะเชิงเทรา อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยเพชรบูรณ อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธู◌์

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยสุพรรณบุรี อําเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตําหนักสวนกุหลาบมัธยม) อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกระบี่ อําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่

-โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยสุราษฎรธานี อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฏรธานี


การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
สิ่งที่รัฐบาลจัดทําและสรางเพือเปนการระลึกถึงการจัดพระราชพิธีกาญจนาภิเษก (ตอ)
● กระทรวงศึกษาธิการ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้งวิทยาลัยระดับอาชีวศึกษา ขึ้นจํานวน 7 แหงทั่วประเทศโดยใชคําวา
วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกประกอบ

-วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานคร เขตมีนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

-วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการ อําเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ

-วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกเชียงราย อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

-วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

-วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกปตตานี อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี

-กาญจนาภิเษกวิทยาลัยชางทองหลวง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

-วิทยาลัยการอาชีพกาญจนาภิเษกหนองจอก เขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร


พระราชพิธีที่ผานมา
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป(พระราชพิธีพัชราภิเษก)

เปนพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริยทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระองคทรงพระกรุณาโปรด


เกลาฯ ใหจัดงานตามที่รัฐบาลขอพระราชทาน มีชื่องานวา พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป แตไมใช พระราชพิธีพัชราภิเษก ดังที่บางคนเรียกเพราะยังไมครบ
75 ป และไมเรียกวา ครบรอบ 60 ป เพราะธรรมเนียมไทยไมถือวา 60 ปเปนรอบ ดวยไทยถือรอบนักษัตรรอบละ 12 ป การฉลองครบ 60 ป จึงเปนการอนุโลมตาม
ธรรมเนียมสากลโดยถือวาเปนวาระที่มีมาถึงกอนครบ 75 ป ซึ่งยังอยูหางไกล แตแทจริงแลวหากอนุโลมแบบไทยวาครบหารอบนักษัตรก็จะไดเวลา 60 ป พระราช
ทานพระบรมราชานุมัติหมายกําหนดการ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัจบีะติครบ 60 ป ระหวาง วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2549 รวมทั้งสิ้น 6
วัน พระราชพิธีนี้ รัฐบาลนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชิณวัตร และ ประชาชนชาวไทย เปนผูรวมกันจัดขึ้น

มีกําหนดการจัดงานดังนี้

วันที่ 8 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหยสูรยพิมาน ทรงบําเพ็ญ


พระราชกุศล ทักษิณานุประทาน ถวายพระบรมอัฐิสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช และทรงประเคนพัด รองที่ระลึก ประทานแดสมเด็จพระราชาคณะ ที่ถวายธรรม
เทศนา

วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ ณ พลับพลาพิธี พระที่นั่งชุมสาย


บริเวณขางพระที่นั่งอนันตสมาคม เพื่อบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช จากนั้น เสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบัญชร ระเบียงหนา ทรงรับการถวายพระพร
ชัยมงคลเนื่องในวโรกาสพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป
พระราชพิธีที่ผานมา
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป(พระราชพิธีพัชราภิเษก)

โดยมีชาวพนักงานประโคมแตรฝรั่ง ทหารกองเกียรติยศ 3 เหลาทัพถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลง”สรรเสริญพระบารมี” สามเหลาทัพและตํารวจยิง


ปนใหญฝายละ 20 นัด จากนั้นเสด็จกลับ

วันที่ 10 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ไปยังพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในบรมมหาราชวัง


เพื่อประกอบพระราชพิธีทางศาสนา

วันที่ 12 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรกระบวนเรือพระราชพิธี ณ นาวิกสภา


จากนั้นเสด็จเปดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติดานการพัฒนา

วันที่ 13 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพรอมสมเด็จพระบรมราชินีนาถและพระบรมวงศานุวงศ ณ ทองพระโรงกลาง พระ


ที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระราชทานเลี้ยงพระกระยาหารคํ่า แด สมเด็จพระราชาธิบดี สมเด็จพระราชินี และผูแทนพระองค จากนานาชาติ จํานวน 25 ประเทศ
ที่ตอบรับคําเชิญเขารวมในพระราชพิธี
พระราชพิธีที่ผานมา
ตราสัญลักษณพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป

ทรงพระกรุณาโปรดเกลา พระราชทานตราสัญลักษณ สําหรับงานฉลองนี้จากการทูลเกลาถวายแบบ โดยรัฐบาล ประกอบดวย


อักษรยอ พระปรมาภิไธย “ภปร” เปนสีเหลือง สีประจําพระชนมวาร ขลิบรอบตัวอักษรดวยสีทอง บนพื้นสีนํ้าเงินเจือทอง อันเปนสี
ประจําพระราชวงศ ลอมดวยเพชรคือนักปราชญ โดยอักษร ภปร ประดิษฐานบนพระที่นั่งภัทรบิฐ ภายใตพระมหาพิชัยมงกุฎ
แวดลอมดวยพระแสงขรรคชัยศรี และพระแสหางชางเผือก ทอดสอดอยูในกรงพระที่นั่งภุทรบิฐเบื้องซาย แหงพระมหา
พิชัยมงกุฏ มีธารพระกร และพัชนีฝกมะขาม ทอดสอดยูเบื้องขวาแหกรงพระที่นั่งภุทรบิฐ อันประดิษฐานบนฐานเขียง ซึ่งทอด
ฉลองพระบาทประดิษฐานอยู ทั้งหมดเหลานี้รวมเรียกวา “เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ” ประกอบดวยสิ่งอันแสดงความเปนกษัตริย
ทั้ง 5 คือ พระมหาพิชัยมงกุฏ พระแสงขรรคชัยศรี ธารพระกร พัดวาลวิชนี และพระแส และฉลองพระบาท อันมีความหมายถึง ป
แหงการเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติ ลางลงมาเปนแพรแถบสีชมพูขลิบทอง เขียนอักษรสีทองความวา “ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐
ป พุทธศักราช ๒๕๔๙ “ ปลายแหงแพรแถบ ผูกเปนภาพ วานรกระบี่ธุช เปนวานรกายขาว มือถือกานลายซุม อันเปนกรอบลาย
ของตราสัญลักษณ ฯ อยูดานขวา ดานซายปลายแพรแถบ ผูกเปนภาพพระครุฑพาห เปนครุฑหนาขาว กายเปนสีสมปนทอง มือ
ถือกานลายกรอบแหงตราสัญลักษณพิธี ในสวนพื้นภาพตราสัญลักษณ ทั้งหมดสีเขียวปนทอง หมายถึงสีอันเปนเดชแหงวันพระ
บรมราชสมภพ และยังหมายถึงสีของความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ แหงผืนภูมิประเทศ ที่ทรงทํานุบํารุงมาตลอดระยะเวลาที่ทรงครองสิริ
ราชสมบัติ
การจัดงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมา (ตอ)
สิ่งที่รัฐบาลจัดทําและสรางเพือเปนการระลึกถึงการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป
● สายรัดขอมือสีเหลือง ดานนนอกมีขอความ “เรา(รูปหัวใจ)พระเจาอยูหัว” และ “LONG LIVE THE KING“ดานในมีขอความ “ฉลอง
สิริราชสมบัติครบ 60ป”และ” ทรงพระเจริญ “ จัดทําขึ้น 2 ครั้งโดยคิง พาวเวอร ครั้งแรกจัดทํา 1 ลานเสน ราคาบริจาคเสนละ 100
บาท ครั้งที่ 2 จัดทํา 10 ลานเสนแตครั้งที่สองมาพรอมบัตรถวายพระพร รายไดทั้งหมดทูลเกลาถวายแดสมเด็จพระเจาอยูหัว
● เสื้อยืดสีเหลือง ปกตราสัญลักษณงานพระราชพิธีบนหนาอกดานซายเสื้อ และรณรงคใหประชาชนสวมใสเสื้อตราสัญลักษณ ทุกวัน
จันทร จนสิ้นสุดป 2549
● บริษัทไปรษณียไทย จัดพิมพ แสตมปที่ระลึก จํานวน 3 ชุด แตละชุดมีราคาแตกตางกัน ตั้งแต ดวงละ 3 บาทถึง ดวงละ 100 บาท
● ธนาคารแหงประเทศไทยจัดพิมพ ธนบัตรชนิดราคา 60 บาท จําหนายในราคาฉบับละ 100 บาท สวนตาง 40 บาทตอฉบับนําขึ้นทูล
เกลาถวาย จัดพิมพครั้งแรกจํานวน 9,999,999 ฉบับ และหมดอยางรวดเร็วจึงเปดใหจองเพิ่มเติมอีกจํานวนหนึ่ง
● กรมธนารักษ จัดทําเหรียญกษาปณที่ระลึก ราคาตั้งแต 10 บาทถึง 12,000 บาท ราคาแตกตางชึ้นกับวัสดุ
● สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี จัดทําเข็มที่ระลึกตราสัญลักษณงานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ป มีขนาดสูง 4 เมตร ดานหนา
เปนรูปตราสัญลักษณงานฉลอง ดานหลังมีตราสํานักนายกรัฐมนตรีตอกไวเปนรหัส เพื่อปองกันการปลอมแปลง มีประดับคริสตัลจาก
สวารอฟสกี้ จํานวน 22 เม็ด เข็มนี้บรรจุในกลองหนังเทียมสีนํ้าเงิน ฝากลองดานหนามีตราสัญลักษณงานพระราชพิธี ดานในมีตรา
สํานักนายกรัฐมนตรีและขอความ”สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี” และมีริบบิ้นเสียบความหมายของตราสัญลักษณติดกับฝาก
ลอง
รูปภาพการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป (ร.9)
คําศัพทที่เกี่ยวกับพระราชพิธี
คําศัพท ความหมาย

เครื่องราชกกุธภัณฑ เครื่องใชสําหรับพระมหากษัตริย

พระราชพิธีรัชดาภิเษก ฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 25 ป

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ฉลองการครองสิริราชสมบัติยาวนานกวารัชกาลในอดีตไมกําหนดจํานวนปที่แนนอน

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 50 ป

พระราชพิธีพัชราภิเษก ฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป
หรือ
วชิราภิเษก

นํ้าพระพุทธมนต นํ้าที่เขาพิธีทางพระพุทธศาสนาเพื่อใหอาบ ดื่ม หรือ ประพรมเปนตน ถือวาเปนมงคล

พระที่นั้งอัฐทิศ ที่นั่งหรือพระราชอาสนทรงแปดเหลี่ยมสําหรับพระมหากษัตริย

สถลมารค เสด็จพระราชดําเนินทางบก

ชลมารค เสด็จพระราชดําเนินทางนํ้า
สรุป
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกคือพระราชพิธีที่พระมหากษัตริยไดรับการเเตงตั้งขึ้นครองราชย พิธีนี้จะ
ถูกเเบงออกเปนสองสวนคือ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร

พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติคือพิธีที่จัดขึ้นเพื่อฉลองการครบรอบครองราชยของพระมหากษัตริย
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติที่ผานมาในมีการจัดขึ้นในประเทศไทยมี 4 ประเภทคือ พระราชพิธี
รัชดาภิเษก พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พระราชพิธีกาญจนาภิเษก เเละ พระราชพิธีฉลองสิริราชยสมบัติ
ครบ 60 ป หรืออีกชื่อในระดับสากลวาพระราชพิธีวชิราภิเษก หรือพัชราภิเษก

You might also like