You are on page 1of 30

ผ้าไหมไทย

จัดทําโดย
นางสาวบุญสิตา พวงกุหลาบ ชัน ม. 5/1 เลขที
16
นางสาวปนดา กมลศักดาวิกุล ชัน ม.5/1 เลขที 7
นางสาวประภัสสร เเจ่มประเสริฐ ชัน ม.5/1 เลขที 6
ประวัติความเปนมา

มีมาตังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์
“หลักฐานทีบ้านเชียง”
ในอดีตมีการทํากันในครัวเรือนเพือ
- ใช้กันเอง

- ขายเลียงชีพ

- ใช้ในงานพิธีมงคล

ผ้าไหมไทยไม่เปนทีรู้จักแพร่หลายในตลาดโลกมากนัก

ถูกจํากัดวงอยู่ในกลุ่มชนชันสูงเท่านัน
รัชกาลที 5 เปนต้นไป
- ส่งเสริมการใช้ผ้าไหมของคนไทย

- ชาวบ้านสามารถสวมใส่ผ้าไหมได้

- จิม ทอมสัน (Jim Thomson)

ปรับปรุงและฟนฟูอุตสาหกรรมไหมไทย
สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

ทรงเปนแบบอย่างในการประยุกต์ใช้และเผย
แพร่ผ้าไหมไทย

ทรงก่อตังมูลนิ ธิศิลปาชีพในพระบรม
ราชินูปถัมภ์

ส่วนสําคัญในการสร้างกระแสความนิ ยมไหม
ไทยในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศเพิม
มากขึน
ความสําคัญ

- สร้างรายได้ให้แก่คนในชนบท

- ปทท.ได้รับความสนใจและการยอมรับจากชาวต่างประเทศเพิมขึน
การผลิตและการทอผ้าไหมไทย
1. ขันตอนการเลียงไหม
จ่อ
คืออุปกรณ์ทีจะให้ตัวไหมเกาะเพือชักใย
ห่อหุ้มตัวหนอนจะเริมพ่นใยได้ประมาณ
6-7 วัน ก็จะสามารถเก็บรังไหมออกจาก
จ่อได้
เส้นใย
2.ขันตอนการสาวไหม
ไม้คีบ

ลักษณะคล้ายไม้พาย มี
ร่องกลางสําหรับคีบ
เกลียรังไหมกดให้เส้น
ไหมตีเกลียวแน่ น
พักไว้ในกระบุง ต่อจากนันจะนํ ามากรอเข้า “กง” แล้วนํ าไปหมุนเข้า “อัก”
เพือตรวจหาปุมปม หรือตัดแต่งเส้นไหมทีไม่เท่ากันออก
3. ขันตอนเตรียมเส้นไหม
- การควบเส้น มักจะควบอย่างน้อย 2 เส้น เพือให้ผ้าไหมหนาพอสมควร
- การฟอก เพือให้เส้นไหมนิ ม ทําให้ทนทานในการใช้สอย
4. ขันตอนการย้อมสี
ในสมัยก่อนนิ ยมใช้สีจากธรรมชาติ

- คันเอาน้ํ าจากพืชทีให้สีนันๆ ต้มให้เดือด

- นํ าไหมชุบน้ํ าให้เปยกบิดพอหมาดกระตุกให้
เส้นไหมเรียงเส้น แช่ในน้ํ าย้อมสีทีเตรียมไว

- นํ าไปผึงให้แห้ง
ตัวอย่างสีธรรมชาติทีใช้

เปลือกกระท้อน ได้สีนา้ํ ตาล


เมล็ดคําแสด
ได้สีส้ม
5. ขันตอนการทอผ้า
การนําผ้าไหมไป
ประยุกต์ใช้
1) งานผ้าไหมไทยกับการออกแบบเสือผ้า
2) ผ้าไหมไทยกับงานออกแบบเครืองประดับ
3)ผ้าไหมไทยกับงานตกแต่งบ้าน
4) ผ้าไหมกับเฟอร์นิเจอร์
5)การนําผ้าไทยประยุกต์กับกระเปา
ขอบคุณค่ะ

You might also like