You are on page 1of 30

เยือนสยามนิกายในศรี ลงั กา

ศ.พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต)

.....ทุกครั้งที่คณะของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเดินทางไปจาริ กแสวงบุญต่างแดน
บ้าง ไปเชื่อมความสัมพันธ์กบั คณะสงฆ์ต่างประเทศบ้าง จะมีการนารายละเอียดการเดินทางนั้นมา
รายงานผ่านสื่ อต่างๆของมหาวิทยาลัย ครั้งนี้กข็ อรายงานเช่นกันว่า คณะมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัยนาโดยพระธรรมโกศาจารย์ในฐานะอธิการบดีได้เดินทางไปเยือนศรี ลงั กา ระหว่าง
วันที่ ๒๕ สิ งหาคม ถึงวันที่ ๓๐ สิ งหาคม ๒๕๕๐
.....การไปศรี ลงั กาครั้งนี้เป็ นการไปเยือนอย่างเป็ นทางการโดยการเชิญของรัฐบาลศรี ลงั กา ผูล้ งนาม
ในหนังสื อเชิญคือท่านดิเนศ คุณวัฒนะ (Dinesh Gunawardane) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพัฒนาพระ
นครและสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ แห่งศรี ลงั กาที่ประสงค์จะร่ วมฉลองเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั ของไทยทรงเจริ ญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา
 ลังกาวงศ์ในประเทศไทย
.....สาหรับการไปเยือนครั้งนี้ทางรัฐบาลศรี ลงั กาต้องการให้คณะของเราไปกัน ๘๐ ชีวติ เท่ากับพระ
ชนมพรรษา ๘๐ พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ของไทย แต่เมื่อเตรี ยมการเดินทางแล้ว ปรากฏว่ามี
เหตุขดั ข้องเรื่ องทาพาสปอร์ตไม่ทนั บ้างและเหตุขดั ข้อง
อื่นๆบ้าง จึงได้ผรู ้ ่ วมเดินทางที่ไปกับคณะของเราจานวน
๗๓ รู ป/คน ประกอบด้วยผูบ้ ริ หาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ของ
มหาวิทยาลัยและคณะสงฆ์รวมทั้งอุบาสกอุบาสิ กาจากวัดประยุรวงศาวาสซึ่งมีอาตมาเป็ นเจ้าอาวาส
ช่วงเช้าของวันเดินทางคือ ๒๕ สิ งหาคม มหาวิทยาลัยได้จดั ปฐมนิเทศเป็ นการซักซ้อมทาความเข้าใจ
ให้กบั คณะผูร้ ่ วมเดินทางว่าจะต้องไปดูอะไรและควรใส่ ใจเรื่ องอะไรเป็ นพิเศษ
.....พระธรรมโกศาจารย์ได้ทาหน้าที่บรรยายในการปฐมนิเทศว่า ศรี ลงั กาเป็ นประเทศที่จิ๋วแต่แจ๋ ว
โดยที่มีประวัติความเป็ นมากว่าสองพันปี ศรี ลงั กาเป็ นเมืองพุทธที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เพราะเมื่อสอง
พันปี ที่แล้วเคยเป็ นเมืองพุทธอย่างไร สมัยนี้กย็ งั เป็ นเมืองพุทธอยูอ่ ย่างนั้น ศรี ลงั กาในปัจจุบนั มี
ประชากรราว ๒๐ ล้านคน ในจานวนนี้เป็ นพุทธร้อยละ ๗๐ เป็ นฮินดูร้อยละ ๗ เป็ นมุสลิมร้อยละ ๗
และเป็ นคริ สต์ร้อยละ ๖
ลองคิดดูวา่ อินเดียเมื่อสองพันปี มาแล้วเคยเป็ นเมืองพุทธ แต่ปัจจุบนั เป็ นเมืองพรามณ์หรื อฮินดู
อินเดียทุกวันนี้มีประชากรหนึ่งพันล้านคน มีชาวพุทธไม่ถึงร้อยละ ๑ ดังนั้น การไปเยือนอินเดียเป็ น
การไปเยีย่ มชมศาสนวัตถุศาสนสถาน แต่ขาดศาสนบุคคลที่เป็ นหลัก นัน่ คือ อินเดียไม่มีวถิ ีชีวติ แบบ
ชาวพุทธให้ชาวโลกได้ถือเป็ นบบอย่างเหมือนที่ศรี ลงั กา
.....ศรี ลงั กามีท้ งั ศาสนวัตถุและศาสนสถานด้านพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ไม่แพ้อินเดีย ทั้งยังมีพุทธ
ศาสนบุคคลที่ยดึ มัน่ และสื บทอดวิถีชีวติ แบบชาวพุทธมากว่าสองพันปี
.....การที่พวกเราไปเยือนศรี ลงั กาก็คือการกลับไปดูรากเหง้าทางพระพุทธศาสนาของไทยเพราะเหตุ
ที่วา่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้นได้รับสื บทอดมาจากศรี ลงั กาเมื่อครั้งกรุ งสุ โขทัยเป็ นราช
ธานีซ่ ึงเป็ นเหตุให้พระพุทธศาสนาในประเทศไทยทุกวันนี้ได้ชื่อว่าลังกาวงศ์ ดังที่ศิลาจารึ กวัดป่ า
มะม่วง จังหวัดสุ โขทัย บันทึกไว้วา่ เมื่อ พ.ศ. ๑๙๐๔ พญาลิไท ได้อาราธนาพระมหาสามีสังฆราช
ผูเ้ รี ยนจบพระไตรปิ ฎกในลังกาทวีปจากนครพันให้มาจาพรรษาที่กรุ งสุ โขทัย
.....แบบแผนที่ชาวพุทธไทยถือปฏิบตั ิทุกวันนี้ บางเรื่ องเราทาตามกันมาโดยไม่เข้าใจความหมายที่
ลึกซึ้ง เช่นคนไทยน้อยคนที่จะเข้าใจนัยหรื อความหมายที่แฝงไว้ในเจดียท์ รงลังกาที่เมืองไทย ต่อเมื่อ
เราย้อนรอยกลับไปดูสถูปที่ศรี ลงั กา เราจะเข้าใจความหมายมากขึ้น เพราะหลายสิ่ งหลายอย่างเรา
ได้รับรู ปแบบมาจากศรี ลงั กานัน่ เอง
.....พระธรรมโกศาจารย์จึงแนะนาว่า สิ่ งใดที่เรากาลังถือปฏิบตั ิอยูน่ ้ นั อาจเป็ นเรื่ องที่เรารับจากเขา
นานมาแล้ว เมื่อเรากลับไปดูเขาก็เท่ากับทบทวนความทรงจาถึงที่มาหรื อรากเหง้าของเรา ถ้าเขายัง
รักษาแบแผนเดิมไว้ได้ดีกว่าเรา เราก็เรี ยนรู ้เขาเพื่อนามาพัฒนาในส่ วนของเราต่อไป เพราะฉะนั้น
การไปเยือนศรี ลงั กาครั้งนี้จึงไม่ใช่เพียงแต่ไปดูศาสนสถานที่สาคัญเท่านั้น แต่เราต้องไปดูศาสนพิธี
วิถีชีวติ ชาวพุทธศรี ลงั กา รวมทั้งวิธีปฏิบตั ิศาสนกิจของพระสงฆ์ศรี ลงั กา
 สยามนิกายในศรีลงั กา
.....ประเทศไทยไม่ได้เป็ นหนี้บุญคุณศรี ลงั กาเพียงฝ่ ายเดียว ไทยเรายังได้มีโอกาสตอบแทนคุณศรี
ลังกาเมื่อ ๒๕๓ ปี ที่ผา่ นมาสมัยปลายกรุ งศรี อยุธยา ยุคนั้นคณะสงฆ์ในศรี ลงั กาได้สูญสลายไป
เนื่องจากประเทศถูกภัยคุกคามจากโปรตุเกสเป็ นเวลานาน ทั้งเกาะศรี ลงั กาครั้งนั้นมีแต่คณะสามเณร
ซึ่งมีสามเณรสรณังกรเป็ นหัวหน้า สามเณรเหล่านั้นบวชเป็ นพระภิกษุไม่ได้เพราะไม่มีพระอุปัชฌาย์
และพระอันดับ กษัตริ ยศ์ รี ลงั กาจึงส่ งราชทูตมายังกรุ งศรี อยุธยาเพื่อขอสมณทูตจากสยามไปฟื้ นฟู
สมณวงศ์ในศรี ลงั กา
.....คณะพระธรรมทูตจากสยามในยุคนั้นนาโดยพระอุบาลีได้เดินทางไปศรี ลงั กาแล้วทาพิธีให้การ
อุปสมบทสามเณรสรณังกรและคณะเป็ นพระภิกษุ พระอุบาลีฟ้ื นฟูสมณวงศ์ในศรี ลงั กาเป็ น
ผลสาเร็จจนสามารถก่อตั้งคณะสงฆ์ที่เป็ นนิกายใหญ่ที่สุดและทรงอิทธิพลที่สุดในศรี ลงั กาปัจจุบนั มี
ชื่อว่าสยามนิกาย เพราะสื บเชื้อสายสมณวงศ์มาจากสยามหรื อประเทศไทย
.....หลังจากเกิดสยามนิกายขึ้นในศรี ลงั กาได้ประมาณ ๕๐ ปี ก็เกิดนิกายที่ ๒ ตามมาเรี ยกว่าอมรปุร
นิกาย ซึ่งสื บเชื้อสายสมณวงศ์มาจากพม่า และมีนิกายที่ ๓ เกิดตามมาเป็ นน้องสุ ดท้องเรี ยกว่า
รามัญญนิกาย นิกายนี้สืบเชื้อสายสมณวงศ์มาจากมอญ

.....คณะสงฆ์ศรี ลงั กาในปั จจุบนั แบ่งออกเป็ น ๓ นิกายหลักคือ สยามนิกาย อมรปุรนิกายและรามัญญ


นิกาย แต่ละนิกายต่างมีประมุขสงฆ์สูงสุ ดเรี ยกว่าพระมหานายกปกครองตนเองนิกายใครนิกายมัน
ตาแหน่งพระมหานายกของศรี ลงั กานี้เทียบได้กบั ตาแหน่งสังฆนายกของไทยในสมัยที่ยงั ใช้ พ.ร.บ.
คณะสงฆ์ ๒๔๘๔ ศรี ลงั กาเคยมีพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริ ณายกเพียงรู ปเดียวคือพระสรณังกร
แห่งสยามนิกายผูเ้ ป็ นศิษย์รูปแรกของพระอุบาลี ภายหลังที่เกิดอมรปุรนิกายขึ้นมา ตาแหน่ง
พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริ ณายกก็ถูกยกเลิกไป คงเหลือแต่ตาแหน่งพระมหานายกมาจนถึง
ปัจจุบนั
.....ทุกวันนี้ สยามนิกายได้แบ่งออกเป็ น ๒ นิกายย่อย ได้แก่ มัลวัตตะ (Malwatta) และ อัสคิริยะ
(Asgiriya) และมีพระมหานายก ๒ รู ป คือ พระมหานายกฝ่ ายมัลวัตตะ และพระมหานายกฝ่ ายอัสคิริ
ยะ
เนื่องจากคณะของเรามีกาหนดเข้ากราบคารวะพระมหานายกแห่งสยามนิกายทั้งสองรู ป เราจึงถือว่า
การเดินทางครั้งนี้เป็ นโอกาสดีที่คณะสงฆ์ลงั กาวงศ์จากประเทศไทยไปเยือนคณะสงฆ์สยามนิกาย
ในประเทศศรี ลงั กา
 การต้อนรับแบบศรี ลงั กา
.....คณะของเราได้เดินทางไปศรี ลงั กาโดยสายการบินมิหินแอร์ ซึ่งเป็ นสายการบินเอกชนของศรี
ลังกา ใช้เวลาบินประมาณ ๓ ชัว่ โมง เมื่อไปถึงสนามบินที่
กรุ งโคลัมโบแล้ว คณะของเราได้รับการต้อนรับจากทาง
คณะเจ้าภาพ คือ ท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะ พร้อม
รัฐมนตรี ท่านอื่น ๆ มีพระเถระที่สาคัญมาต้อนรับด้วย
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่านผูป้ ระสานงานฝ่ ายสงฆ์ คือท่านนัน
ทะ (Akuratiye Nanda) แห่งสยามนิกาย ซึ่งมาคอยอานวย
ความสะดวกตลอดการเดินทางครั้งนี้ เราได้ถ่ายภาพการ
ต้อนรับที่สนามบินไว้เป็ นที่ระลึก ปรากฏว่าภาพการ
ต้อนรับคณะของเราได้รับการตีพิมพ์เป็ นข่าวหน้าหนึ่งของ
หนังสื อพิมพ์ศรี ลงั กาหลายฉบับ
.....คณะเจ้าภาพได้พาคณะของเราเดินทางเข้ากรุ งโคลัมโบเพื่อไปยังสถานทีเลี้ยงต้อนรับ คือ
ร้านอาหารไทยชื่อสยามเฮาส์ ซึ่งเป็ นที่ที่ฝ่ายคฤหัสถ์รับประทานอาหารค่าและฝ่ ายพระสงฆ์ฉนั น้ า
ปานะ คุณสัจจพันธุ์ อัตถากร เอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศศรี ลงั กาสั่งต้อนรับพวกเราด้วย
ขบวนแห่กลองยาวแบบศรี ลงั กาซึ่งประโคมกันอึกทึกครึ กโครมตั้งแต่ประตูทางเข้าปากซอยเพื่อ
ประกาศว่าบุคคลสาคัญมาถึงแล้ว เมื่อคณะเข้าไปภายในอาคารแล้ว แขกผูม้ ีเกียรติส่วนใหญ่ช่วยกัน
จุดไส้เทียนซึ่งห้อยอยูท่ ี่เสาโลหะรู ปหัวไก่ แขกสาคัญที่สุดในงานนี้คือประธานสภาผูแ้ ทนราษฏร
ชื่อว่าโลกุพนั ดร (W. J. M. Lokubandara) ท่านผูน้ ้ ีเคยดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวง
พระพุทธศาสนาของศรี ลงั กา
.....ศรี ลงั กาเป็ นประเทศแรกในโลกที่กล้าประกาศตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา (Ministry of
Buddha Sasana) แต่ศรี ลงั กาก็รักษากระทรวงนี้ได้ไม่นานเพราะหลังจากมีกระทรวงพระพุทธศาสนา
เกิดขึ้นแล้ว กระทรวงศาสนาฮินดู กระทรวงศาสนาอิสลาม และกระทรวงศาสนาคริ สต์กเ็ กิดตามมา
ในศรี ลงั กาตามคาเรี ยกร้องของศาสนาอื่น ชาวพุทธศรี ลงั กาไม่ตอ้ งการให้ศาสนาอื่นมีกระทรวงด้วย
จึงจายอมให้ยบุ รวมกระทรวงพระพุทธศาสนาเข้ากับกระทรวงของศาสนาอื่นๆจนเหลือกระทรวง
เดียวในปัจจุบนั เรี ยกว่า กระทรวงการศาสนา (Ministry for Religious Affairs)
.....ท่านประธานสภาผูแ้ ทนราษฏรผูน้ ้ ีเคยมาประชุมวิสาขบูชาโลกที่ประเทศไทยในสมัยที่เป็ น
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพระพุทธศาสนาจึงคุน้ เคยกับอาตมาเป็ นอย่างดี หลังจากทักทายสนทนา
ปราศัยกันแล้ว ท่านเอกอัครราชทูตไทยได้กล่าวต้อนรับคณะจากประเทศไทย ความตอนหนึ่งว่า
คณะของเราเป็ นสมณทูตและยุวทูตที่เดินตามรอยของพระอุบาลีเพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่าง
ไทยกับศรี ลงั กา ท่านประธานสภาผูแ้ ทนราษฎรของศรี ลงั กาก็กล่าวต้อนรับด้วย จากนั้นอาตมาได้
กล่าวอนุโมทนาขอบคุณและมอบของที่ระลึกให้แก่ท่านเอกอัครราชทูตไทยและแขกผูม้ ีเกียรติ

 โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี ลงั กา


......ในเช้าวันที่สองของการเดินทางซึ่งตรงกับวันที่ ๒๖ สิ งหาคม คณะของเราได้รวมกับคนไทยอีก
กลุ่มหนึ่งที่เดินทางล่วงหน้าไปก่อนแล้วทาให้จานวนของสมาชิกคณะเราเพิม่ เป็ น ๘๐ ท่านเต็มตาม
จานวนพรรษาของ พวกเราทั้ง ๘๐ ชีวติ ได้เดินทางร่ วมกันไปตลอดเวลาที่อยูใ่ นศรี ลงั กา เนื่องจาก
วันนี้เป็ นเช้าวันอาทิตย์ พวกเราจึงไปเยีย่ มชมโรงเรี ยน
พุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณ ที่ดาเนินการโดย
คณะสงฆ์อมรปุรนิกาย
การไปเยีย่ มชมกิจการโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ใน
ศรี ลงั กาครั้งนี้นบั ว่าเป็ นสิ่ งสาคัญมากสาหรับชาว
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่จะมีโอกาส
เทียบเคียงดูวา่ โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้เปิ ด
สอนเป็ นแห่งแรกในประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยได้แบบอย่างไปจากศรี
ลังกานั้นยังจะมีอะไรที่เหมือนหรื อต่างจากโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในศรี ลงั กา
.....โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (Buddhist Sunday school) เปิ ดสอนเป็ นครั้งแรกในศรี ลงั กาเมื่อ
วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยการแนะนาของพันเอก เฮนรี ออลคอต (Henry S. Olcott) ซึ่ง
เป็ นคนอเมริ กนั ที่หนั มานับถือพระพุทธศาสนาและมีบทบาทสาคัญยิง่ ในการฟื้ นฟูพระพุทธศาสนา
ในศรี ลงั กาในยุคที่ตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษปัจจุบนั ชาวศรี ลงั กาเรี ยกโรงเรี ยนพุทธศาสนาวัน
อาทิตย์ ว่า Dhamma School หรื อโรงเรี ยนธรรมะ
.....เมื่อคณะของเราเดินทางถึงโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณก็พบว่าโรงเรี ยนพุทธ
ศาสนาวันอาทิตย์แห่งนี้เป็ นโรงเรี ยนใหญ่ที่สุดเพราะมีนกั เรี ยนจานวน ๖,๐๐๐ คน ตั้งแต่ช้ นั ประถม
จนถึงชั้นมัธยมปลาย ทั้งครู และนักเรี ยนแต่งชุดขาวเหมือนกันทั้งโรงเรี ยน พวกเขาต้อนรับคณะของ
เราในห้องประชุมซึ่งจุนกั เรี ยนได้ไม่หมด เพราะฉะนั้นคณะของเราจึงได้เห็นนักเรี ยนชั้นประถมเป็ น
ส่ วนใหญ่ที่กาลังสมาทานศีล สวดมนต์และเจริ ญจิตตภาวนานาโดยพระอาจารย์รูปหนึ่ง
.....พระธรรมโกศาจารย์กล่าวธรรมกถาสั้น ๆ เป็ นภาษอังกฤษแก่ที่ประชุม โดยตั้งข้อสังเกตว่า คณะ
ของเราเดินทางตามรอยพระอุบาลีมากระชับสัมพันธไมตรี ดา้ นพระศาสนากับชาวศรี ลงั กา ในสมัย
พระอุบาลี ชาวไทยสนทนากับชาวศรี ลงั กาด้วยภาษาบาลี แต่ในสมัยนี้ พวกเราใช้ภาษาอังกฤษ
ติดต่อกัน
โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งนี้ต้ งั มา ๓๖ ปี แล้ว มีครู ประจา ๒๕๐ รู ป/คน มีเจ้าหน้าที่ ๑๕๐
คน มีพระสงฆ์เพียง ๑๒ รู ปเป็ นครู ประจาเพราะโรงเรี ยนกาหนดคุณวุฒิพระสงฆ์ที่จะเป็ นครู สอนว่า
ต้องจบปริ ญญาโทขึ้นไป
.....ครู แบ่งเป็ นสามประเภทคือ ครู กิตติมศักดิ์ ครู ประจาและครู ช่วยสอน คณะครู ส่วนใหญ่เป็ น
คฤหัสถ์ที่อาสาสมัครมาทาหน้าที่ มีท้ งั ข้าราชการครู บานาญ อาจารย์มหาวิทยาลัย ผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา ต่างคนต่างมีศรัทธามาร่ วมกันสอน ครู ที่อาสาเข้ามาสอนต้องผ่านการคัดเลือกอย่าง
พิถีพิถนั คุณสมบัติที่สาคัญคือต้องเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ดา้ นพระพุทธศาสนาเป็ นอย่างดี
.....ในศรี ลงั กา ครู ประจาการที่จะสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรี ยนทัว่ ไปได้น้ นั ต้องจบปริ ญญา
สาขาพระพุทธศาสนาหรื อไม่กต็ อ้ งสอบได้ประกาศนียบัตรชั้นธรรมาจริ ยะ
.....ทุกปี ศรี ลงั กาจะจัดให้มีการสอบเทียบความรู ้ดา้ นพระพุทธศาสนาในระดับชาติเรี ยกว่า Dhamma
Exam ซึ่งพอเทียบได้กบั การสอบธรรมศึกษาบ้านเรา เยาวชนศรี ลงั กาจะพยายามสอบผ่านธรรม
ศึกษานี้ก่อนจบชั้นมัธยมปลาย แต่ละปี มีเยาวชนศรี ลงั กาเข้าสอบธรรมศึกษานี้ประมาณ ๓ ล้านคน
เมื่อสอบได้ธรรมศึกษาแล้ว เยาวชนศรี ลงั กาสามารถเรี ยนเรื่ องการสอนพระพุทธศาสนาเพื่อสมัคร
สอบในระดับชาติในชั้นที่สูงขึ้นไป ใครที่สอบผ่านระดับนี้จะได้ประกาศนียบัตรธรรมาจริ ยะ ซึ่ง
เป็ นใบรับรองว่าเขาสามารถเป็ นครู สอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรี ยนใดก็ได้ ประกาศนียบัตร
ธรรมาจริ ยะเป็ นเหมือนใบอนุญาต (Licence)สาหรับครู ผตู ้ อ้ งการสอนวิชาพระพุทธศาสนา
.....ถ้าโรงเรี ยนในประเทศไทยกาหนดมาตรฐานให้ครู สอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรี ยนต้องจบ
ปริ ญญาสาขาพระพุทธศาสนาหรื อสอบได้ธรรมศึกษาชั้นเอกเป็ นอย่างน้อย การเรี ยนวิชา
พระพุทธศาสนาก็จะไม่เป็ นยาขมหม้อใหญ่ของเด็กไทยอีกต่อไป
.....โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณประสบความสาเร็จเป็ นอย่างดีเพราะพิถีพิถนั ในการ
เลือกครู ประจาที่ตอ้ งจบปริ ญญาสาขาพระพุทธศาสนาหรื อสอบได้ประกาศนียบัตรชั้นธรรมาจริ ยะ
นอกจากนี้ โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณยังได้กาหนดวัตถุประสงค์ในการจัด
การศึกษาไว้ ๕ ข้อซึ่งง่ายต่อการประเมินผล ดังนี้
 ๑ ส่ งเสริ มให้เด็กทุกคนรักษาเบญจศีลหรื อศีล ๕ ในชี วต ิ ประจาวัน และรักษาศีล ๘
ในวันอุโบสถ
 ๒ อบรมเด็กให้เคารพพระสงฆ์ และกตัญญูต่อบิดามารดา

 ๓ ฝึ กหัดเด็กให้กินอยูอ่ ย่างเรี ยบง่ายแบบวิถีพุทธ


 ๔ สอนให้เด็กมีระเบียบวินย ั และใฝ่ เรี ยนธรรมะ
 ๕ สอนให้เด็กมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา รักชาติและภาษาของตน
.....โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์และโรงเรี ยนวิถีพุทธในประเทศไทยน่าจะทดลองนา
วัตถุประสงค์ท้ งั ๕ ข้อนี้ไปปรับใช้ดูบา้ ง
......เมื่อคณะของเราได้ร่วมพิธีไหว้พระสวดมนต์ของเด็กจบ
ลงแล้ว ทางโรงเรี ยนแบ่งพวกเราออกเป็ น ๓ กลุ่มเพื่อ
แยกกันดูงานกันคนละจุด คือกลุ่มที่ ๑ ดูเรื่ องการบริ หาร
จัดการ กลุ่มที่ ๒ ดูเรื่ องการจัดการเรี ยนการสอน กลุ่มที่ ๓
ดูเรื่ องการบริ การสังคมของโรงเรี ยน เมื่อแยกย้ายกันดูงานเสร็จแล้วให้ทุกกลุ่มกลับไปประชุม
ร่ วมกันเพื่อฟังการสรุ ปผลของแต่ละกลุ่ม
.....เมื่อแต่ละกลุ่มไปดูการเรี ยนการสอนในห้องเรี ยนก็ได้เห็นว่า ห้องเรี ยนไม่ได้แบ่งเป็ นห้องแบบมี
ผนังกั้น เด็กอยูร่ วมกันในห้องโถงใหญ่ มีครู รับผิดชอบแบ่งกลุ่มกันสอนในชั้นต้น ชั้นกลาง ชั้น
ปลาย และชั้นสู ง มีการแบ่งเด็กเป็ นกลุ่มย่อย ๆ ครู แต่ละคนก็รับผิดชอบสอนเด็กประมาณ ๑๐-๑๕
คน แต่ละกลุ่มเรี ยนอยูใ่ กล้กนั เด็กสนใจเรี ยนโดยไม่รบกวนกันและมีสมาธิในการเรี ยนอย่างน่า
ศรัทธา แสดงว่าเขาฝึ กเด็กให้มีระเบียบวินยั เป็ น อย่างดี
.....นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนบอกว่า มีการประเมินพฤติกรรมการเรี ยนของเด็กแต่ละคนทุกภาค
การศึกษา โดยครู จะต้องกรอกแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักเรี ยนทุกคน ตั้งแต่เริ่ มเข้า
โรงเรี ยนว่าเด็กมีเจตคติอย่างไร มีศรัทธาในพระศาสนามากแค่ไหน และมีพฤติกรรมเป็ นอย่างไร ครู
ต้องบันทึกโดยละเอียด จากนั้นฝ่ ายวิจยั ก็จะนาข้อมูลเหล่านี้ไป บันทึกเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์
โรงเรี ยนสามารถตรวจสอบย้อนหลังไปว่าตลอดเวลา ๕ ปี ที่ผา่ นมา เด็กแต่ละคนมีพฤติกรรม
เปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง จากนั้นจะได้นาผลการวิจยั ไปปรับปรุ งหลักสู ตรและการเรี ยนการสอน
.....โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณประสบความสาเร็จเพราะไม่ได้สักแต่วา่ สอนเพียง
อย่างเดียว โรงเรี ยนยังมีงานวิจยั เพื่อการพัฒนาที่เรี ยกว่า Research and Development คือทาวิจยั เพื่อ
พัฒนาหลักสู ตรและปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนการสอน ตรงนี้ทาให้นึกถึงว่าถ้าหาก พระสงฆ์ไทย
ทาการวิจยั ผูฟ้ ังเทศน์ ว่าฟังแล้วได้ผลเป็ นอย่างไรแล้วนาผลการวิจยั ปรับปรุ งการเทศน์ การเทศน์
น่าจะดีข้ ึนมาก
นอกจากนี้สิ่งที่น่าสนใจก็คือ คณะครู โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย
แต่ละกลุ่มมีการประชุมประจาเดือน ใครเกิดวันไหนก็เชิญเพื่อนครู ไปเลี้ยงวันนั้นแล้วจัดประชุม
ประจาเดือนไปในตัว มีการนิมนต์พระสงฆ์มาเทศน์สอนธรรมะ ครู ทุกคนต้องท่องบทสวดมนต์ได้
.....เมื่อถามว่า ทาไมโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ศรี วชิรญาณจึงเป็ นที่นิยมของเด็กจานวนมากก็
ได้รับคาตอบว่า ประการแรกเพราะโรงเรี ยนจัดการเรี ยนการสอนดีมีคุณภาพ ประการที่สองเพราะ
ผูป้ กครองมีศรัทธาต่อพระสงฆ์วดั นี้จึงพาลูกหลานมาเข้าเรี ยนในโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
.....เมื่อถึงวันพระ ๑๕ ค่า ซึ่งเป็ นวันหยุดราชการของศรี ลงั กา คนศรี ลงั กาจะไปถือศีลอุโบสถที่วดั
เฉพาะที่วดั ศรี วชิรญาณนี้มีคนมาถือศีลอุโบสถประจาทุกวันพระ ๑๕ ค่าประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน คน
เหล่านี้มีศรัทธาในเจ้าอาวาสและคณะสงฆ์จึงส่ งลูกหลานมาเรี ยนในโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ศรี วชิรญาณ
คณะสงฆ์ศรี ลงั กาถือเป็ นภาระสาคัญร่ วมกันที่จะต้องนาเยาวชนเข้ามาศึกษาพุทธธรรมด้วยวิธีการ
หลากหลาย เช่น โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ การจัดสอบธรรมศึกษาระดับชาติ วิธีการเหล่านี้
ช่วยปลูกฝังความศรัทธาที่มนั่ คงในพระพุทธศาสนาแต่เยาว์วยั ให้กบั ชาวศรี ลงั กา จึงไม่แปลกที่ชาว
ศรี ลงั กาทุกวันนี้รักและหวงแหนพระพุทธศาสนายิง่ ชีวติ ศรี ลงั กาสามารถรักษาสื บทอด
พระพุทธศาสนามาได้จนบัดนี้แม้ประเทศนี้จะเคยอยูภ่ ายใต้การปกครองของชาวต่างชาติต่างศาสนา
มานานหลายร้อยปี ก็ตาม
.....คณะสงฆ์ไทยควรจะศึกษาบทเรี ยนจากศรี ลงั กาและหันมาเร่ งรักษาสื บทอดพระพุทธศาสนาด้วย
การปลูกฝังศรัทธาให้กบั เยาวชนผ่านโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ การสอนพระพุทธศาสนาใน
โรงเรี ยนและการจัดกิจกรรมอื่นๆ ก่อนที่จะสายเกินไป
 สรรโวทัยใช้พทุ ธธรรมนาการพัฒนา
.....หลังจากจบการเยีย่ มชมโรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ศรี วชิรญาณแล้ว คณะของเราได้ไปเยีย่ มชมกิจการของสรร
โวทัย สานักสรรโวทัยนี้เป็ นขบวนการพัฒนาหมู่บา้ นแบบ
ครบวงจรซึ่ งมีเครื อข่ายโยงใยทุกหมู่บา้ นจานวน ๑๖,๐๐๐
แห่งทัว่ ศรี ลงั กา นับเป็ นองค์กรเอกชนด้านการพัฒนาที่ใหญ่
ที่สุดในศรี ลงั กา สรรโวทัยนี้ต้ งั มาได้ ๔๙ ปี แล้ว
.....ประธานใหญ่ของสรรโวทัยชื่อว่าอริ ยรัตนะ( A.T.Ariyaratne) คอยต้อนรับและบรรยายสรุ ปให้
พวกเราฟัง ท่านอริ ยรัตนะนี้ได้รางวัลแมกไซไซ ด้านการพัฒนาชุมชนเนื่องจากผลงานที่สรรโวทัย
จึงเป็ นบุคคลที่มีค่ายิง่ ของศรี ลงั กา เพราะเขาพาคนทัว่ ประเทศพัฒนาหมู่บา้ น สรรโวทัยมีสมาชิกที่
เป็ นอาสาสมัครกว่า ๑๐๐,๐๐๐ คนกระจายอยูท่ วั่ ประเทศ แม้กระทัง่ ในภาคเหนือสุ ดของศรี ลงั กาที่
รัฐบาลกาลังรบกับทมิฬ เจ้าหน้าที่ฝ่ายรัฐบาลเข้าไปไม่ได้ แต่อาสาสมัครของสรรโวทัยเข้าไปได้
......นายอริ ยรัตนะบรรยายสรุ ปว่าเขาได้แนวคิดเรื่ องสรรโวทัยมาจากมหาตมะคานธี คาว่า สรรโวทัย
มาจากคาว่า “สรรพ” ที่แปลว่าทั้งปวง กับคาว่า “อุทยั ” ที่แปลว่า การตื่นขึ้น ดังนั้นคาว่าสรรโวทัยจึง
หมายถึงการตื่นขึ้นจากอวิชชาและความหลุดพ้นจากความทุกข์ความยากจนของคนศรี ลงั กาทั้งหมด
ถ้าเทียบกับแนวคิดการพัฒนาชนบทไทยน่าจะหมายถึงการที่หมู่บา้ นไทยหลุดพ้นจากความโง่ ความ
จน และความเจ็บ
เป้ าหมายของสรรโวทัยมี ๓ ประการคือ

(๑) ปลุกจิตสานึกของประชาชนด้วยการใช้ธรรมะในพระพุทธศาสนา
(๒) แนะนาให้ประชาชนใช้ระบบเศรษฐกิจพอเพียงแบบพึ่งตนเอง
(๓) ส่ งเสริ มให้หมู่บา้ นดาเนินการปกครองตนเอง(Gram Swaraj) ด้วยระบอบธรรมาภิบาล
.....ในการดาเนินการตามเป้ าหมายข้อที่ ๑ สรรโวทัยเน้นหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ๒ หัวข้อ คือ
พรหมวิหาร ๔ และ สังคหวัตถุ ๔
.....ตามหลักพรหมวิหาร ๔ นั้น ประชาชนต้องยึดหลักเมตตาคือมีความรักความปรารถนาดีต่อทุกคน
มีกรุ ณาคือความสงสารคิดช่วยเหลือชาวบ้านด้วยกันให้พน้ ทุกข์ มีมุทิตาคือพลอยยินดีเมื่อพัฒนา
หมู่บา้ นให้เจริ ญก้าวหน้า และมีอุเบกขาคือมีใจเป็ นกลาง ไม่ทะเลาะกันเพราะความแตกต่างทางเชื้อ
ชาติศาสนา ไม่ถือเขาถือเรา แม้แต่คนในศาสนาอื่นสรรโวทัยก็ให้เข้ามาร่ วมงานได้
ชาวบ้านของสรรโวทัยต้องมีสังคหวัตถุ ๔ คือ
 (๑) ทาน คือการให้ ต้องเป็ นผูท ้ ี่ให้ดว้ ยความรู ้สึกเป็ นสุ ข คนมีตอ้ งช่วยเหลือคนจน
 (๒) ปิ ยวาจา คือพูดจากันไพเราะอ่อนหวาน ประสานสามัคคี

 (๓) อัตถจริ ยา คือบาเพ็ญประโยชน์ต่อชุ มชน อาสาสมัครสรรโวทัยที่ไม่มีเงินก็

สามารถใช้กาลังกายและกาลังปัญญาให้บริ การแก่ชุมชนได้
 (๔) สมานัตตตา คือวางตนพอดีใช้ชีวต ิ อย่างเรี ยบง่าย มุ่งความรักความสมานฉันท์
ของชุมชนเป็ นหลัก
.....ปรากฏว่ามีคนจานวนมากมาร่ วมขบวนการสรรโวทัยพัฒนาหมู่บา้ น สรรโวทัยจัดโครงการนัง่
สมาธิและเดินเพื่อสันติภาพ มีคนมาร่ วมเดินกันหลายแสนคน สรรโวทัย พยายามสร้างสันติภาพ
ขึ้นมาโดยที่ไม่ตอ้ งไปพึ่งระบบราชการ เวลาเกิดสึ นามิข้ ึนมา ถ้าต่างประเทศอยากจะส่ งเงินช่วยเหลือ
ให้ถึงชาวบ้านศรี ลงั พวกเขาจะส่ งผ่านองค์กรสรรโวทัย เพราะมีสมาชิกอยูท่ วั่ ประเทศศรี ลงั กา
ประเทศไทยยังไม่มีองค์กรเอกชนที่ทางานเพื่อพัฒนาชนบทที่กว้างขวางอย่างนี้
.....นายอริ ยรัตนะเป็ นคนที่ทุ่มแทจริ งจังเพื่อสรรโวทัย แม้เขาจะมีฐานอานาจคือ ชาวบ้านในชนบท
ทัว่ ประเทศ เขาก็ไม่คิดแสวงหาอานาจคือไม่ผนั ตัวเองไปเล่นการเมือง เขาไม่ฉกฉวยโอกาสที่
ชาวบ้านมีศรัทธาต่อเขาเอาไปเล่นการเมือง เมื่อถามเขาว่าทาไมไม่คิดจะแสวงหาอานาจทางการเมือง
เหมือนอย่างนักพัฒนาของไทยบางคนที่พอมีชื่อเสี ยงขึ้นมาก็หนั ไปเล่นการเมืองจนลืมการพัฒนาไป
เลย เขาตอบว่าเมื่อแรกตั้งสรรโวทัย เขาก็ถูกระแวงว่าจะแสวงหาอานาจ แต่ตอนหลังนี้คนส่ วนมากรู ้
แล้วว่าเขาไม่ได้คิดจะไปแก่งแย่งอานาจกับใคร ทุกฝ่ ายจึงยินดีสนับสนุนสรรโวทัย
.....เมื่อถามว่าทาไมจึงไม่คิดแสวงหาอานาจ นายอริ ยรัตนะตอบว่า พระพุทธเจ้าตรัสไว้ไม่ใช่หรื อว่า
ปฐัพยา เอกรัชเชน ซึ่งแปลว่าการเป็ นพระโสดาบันดีกว่าการได้ครองราชย์ในปฐพี นายอริ ยรัตนะ
กล่าวว่าการเป็ นประธานาธิบดีไม่ได้ให้ความสุ ขใจเท่ากับการได้ช่วยคนยากจนในนามของสรร
โวทัย
 เข้าพบนายกรัฐมนตรี ศรี ลงั กา
......หลังจากได้พบประธานของสรรโวทัยแล้วคณะของเราได้เดินทางไปเข้าพบกับผูน้ าทางการเมือง
คือนายกรัฐมนตรี ของประเทศศรี ลงั กา ชื่อว่ารัตนศิริ วิกรม
นายก
.....ที่ทาเนียบรัฐบาล ท่านนายกรัฐมนตรี มาคอยต้อนรับพวก
เราถึงบันไดชั้นล่างทีเดียว ท่านพาพวกเราขึ้นไปยังห้อง
ประชุม ท่านยังยืนรอให้พระสงฆ์นงั่ ให้เรี ยบร้อยเสี ยก่อนจึง
ค่อยนัง่ ลง จากนั้นได้กล่าวต้อนรับพวกเราด้วยอัธยาศัยอันดี พวกเรารู ้สึกประทับใจที่เห็นผูน้ ารัฐบาล
ศรี ลงั กาแสดงความเคารพพระสงฆ์ดว้ ยการยืนต้อนรับและประเคนน้ าปานะเหมือนอุบาสกธรรมดา
คนหนึ่ง
.....นี่กเ็ ป็ นประเพณี ปฏิบตั ิของนักการเมืองของศรี ลงั กาที่ทาตัวเหมือนอุบาสกทัว่ ไปพวกเขาฝึ กกัน
มาอย่างนั้น พระธรรมโกศาจารย์ได้กล่าวตอบให้กาลังใจแก่นายกรัฐมนตรี ว่า พวกเราปรารถนาจะ
เห็นดินแดนศรี ลงั กามีสันติภาพ เพราะความเจริ ญรุ่ งเรื องของศรี ลงั กาซึ่งเป็ นประเทศที่นบั ถือ
พระพุทธศาสนาก็หมายถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องของประเทศไทยด้วย เพราะเราต่างเป็ นชาวพุทธ
ด้วยกันที่ตอ้ งพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ชาวไทยปรารถนาจะเห็นสันติภาพเกิดขึ้นในศรี ลงั กา พวก
เราที่มาเยีย่ มเยียนประเทศศรี ลงั กาขอตั้งจิตอธิษฐานให้เกิดสันติสุขในเมืองพุทธแห่งนี้โดยเร็ว
.....ที่กล่าวเช่นนี้เพือ่ เป็ นการแสดงความเห็นใจฉันท์มิตรและให้กาลังใจแก่ท่านนายกรัฐมนตรี วา่
พวกเราชาวต่างประเทศต่างมีความห่วงใยและปรารถนาจะเห็นสันติภาพในศรี ลงั กา
.....ท่านนายกรัฐมนตรี ได้ถวายของที่ระลึกแก่พระสงฆ์และมอบของที่ระลึกแก่คฤหัสถ์ คณะของเรา
ก็ได้มอบของที่ระลึกแก่ท่านนายกรัฐมนตรี การพบกันครั้งนี้จบลงด้วยความประทับใจอันเป็ นการ
สานต่อความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างไทยกับศรี ลงั กา
 วัดไทยในศรี ลงั กา
.....จากนั้นคณะของเราได้เดินทางไปเยีย่ มชมวัดทีปทุตตมาราม เมื่อไปถึงที่วดั นี้พวกเรารู ้สึก
ประหลาดใจที่ท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะ ได้ไปรอต้อนรับเราอีก คือท่านอยูร่ ่ วมกับพวกเราที่
ทาเนียบรัฐบาลแล้วก็ไปรอต้อนรับที่วดั นั้น เจ้าอาวาสของวัดก็มารอต้อนรับพวกเรา มีขบวนแห่
ต้อนรับพวกเราตั้งแต่หน้าวัด ตามประเพณี ศรี ลงั กาที่วา่ เมื่อแขกบ้านแขกเมืองมาถึงต้องมีขบวนแห่
ต้อนรับทุกครั้งไป
.....เมื่อขบวนแห่นาพวกเราไปถึงบริ เวณหน้าพระเจดีย ์ พระนักศึกษาไทยที่พานักอยูท่ ี่วดั นี้ทาหน้าที่
กล่าวต้อนรับแทนเจ้าอาวาส โดยแนะนาประวัติของวัดว่าวัดทีปทุตตมารามนี้ถือกันว่าเป็ นวัดไทย
ประจากรุ งโคลัมโบ เพราะมีพระไทยไปเป็ นเจ้าอาวาสอยูใ่ นช่วง พ.ศ. ๒๔๔๗-๒๔๕๔ พระไทยรู ป
นี้คือพระองค์เจ้าปฤษฏางค์ที่ไปอุปสมบทในศรี ลงั กาและได้รับฉายาในพระพุทธศาสนาว่า พระชินว
รวงศ์ ขณะเป็ นเจ้าอาวาสที่วดั นี้ พระชินวรวงศ์ได้สร้างเจดียท์ รงผสมระหว่างไทย ศรี ลงั กาและพม่า
ที่มีความงดงามแปลกตา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๘ เคยเสด็จมาปลูกต้นไม้เป็ นที่
ระลึกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลปัจจุบนั เคยเสด็จไปที่วดั นี้สองครั้ง ครั้งล่าสุ ดเมื่อปี
๒๔๙๓ ดังมีหลักฐานคือการปลูกต้นจันทน์ไว้ ทางวัดได้บารุ งรักษาต้นไม้เป็ นอย่างดี เราต้องชมวัด
วาอารามในศรี ลงั กาที่เก็บบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ไว้หมด บางวัดเก็บของมีค่าทาง
ประวัติศาสตร์ไว้เป็ นพันปี แม้แต่หลักฐานสาคัญ ๆ ก็บนั ทึก เก็บไว้หมด ดังที่เราจะได้เห็นในโอกาส
ต่อไป
.....บริ เวณที่ติดกับวัดเป็ นที่ต้ งั ของโรงเรี ยนเรี ยกว่า Prince College หรื อราชวิทยาลัย ที่ต้ งั ขึ้นมา
เพื่อให้เด็กได้เรี ยนหนังสื อตามความประสงค์ของท่านพระชินวรวงศ์ หรื อพระองค์เจ้าปฤษฎางค์
วิทยาลัยนี้สร้างเป็ นที่ระลึกในนามของท่าน สมัยก่อนมีนกั เรี ยนประมาณ ๒,๐๐๐ คน เดี๋ยวนี้เหลือ
๔๐๐ คนเนื่องจากมีการอพยพของชุมชนไปอยูใ่ นที่ที่ ห่างไกลออกไป ทางวิทยาลัยได้ทาพิธีตอ้ นรับ
คณะของเราด้วยการแสดงทางวัฒนธรรมของนักเรี ยน ซึ่งน่าชมน่าศึกษาทีเดียว
.....เมื่อร้อยกว่าปี มาแล้ว วัดทีปทุตตมารามนี้เป็ นที่พานักของพระนักโต้วาทีที่ยงิ่ ใหญ่ของศรี ลงั กาชื่อ
ว่าคุณานันทะ ท่านได้โต้วาทีกบั ผูน้ าศาสนาคริ สต์หลายครั้งจนได้ชยั ชนะอย่างงดงาม การโต้วาที
ของท่านได้รับการรายงานในหนังสื อพิมพ์ต่างประเทศซึ่งทาให้นายเฮนรี ออลคอต ชาวอเมริ กนั
สนใจมากจนถึงกับเดินทางมาศึกษาพระพุทธศาสนาในศรี ลงั กาและได้ส่งเสริ มการตั้งโรงเรี ยนพุทธ
ศาสนาวันอาทิตย์ดงั กล่าวมาแล้ว พระศรี ลงั กานับเป็ นพระนักสู ้เพื่อพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริ ง
ดังที่ท่านคุณานันทะได้โต้วาทีเพื่อปกป้ องคุม้ ครองพระพุทธศาสนา
 พิธีแถลงข่าวอย่างเป็ นทางการ
.....จากนั้นคณะของเราก็ไปร่ วมงานเลี้ยงรับรองของเจ้าภาพคือท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะ และมี
การแถลงข่าวอีกด้วย พระธรรมโกศาจารย์ได้กล่าวในการแถลงข่าว
เป็ นภาษาอังกฤษว่าศรี ลงั กาเป็ นดินแดนที่รักษาพระพุทธศาสนาสื บ
ทอดมาเป็ นเวลากว่า ๒,๐๐๐ ปี เพราะฉะนั้นถ้าใครต้องการจะศึกษา
พัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทในประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน
ต้องมาเยือนประเทศศรี ลงั กา ในสมัยสุ โขทัยประเทศไทยได้รับ
พระพุทธศาสนาจากศรี ลงั กา ทุกวันนี้พระพุทธศาสนาในประเทศ
ไทยเป็ นที่รู้จกั กันในนามว่าลังกาวงศ์ ส่ วนไทยก็ได้ตอบแทนคุณศรี
ลังกาด้วยการส่ งพระอุบาลีจากประเทศไทยมาฟื้ นฟู สมณวงศ์เมื่อ
๒๕๓ ปี มาแล้ว ดังที่มีการเรี ยกคณะสงฆ์นิกายใหญ่ที่สุดในศรี ลงั กาปัจจุบนั ว่า สยามนิกาย
.....นอกจากนี้ประเทศศรี ลงั กาก็เป็ นประเทศแนวหน้าที่รณรงค์ให้สหประชาชาติยอมรับความสาคัญ
ของวันวิสาขบูชา ดังที่ชาวโลกได้มาฉลองวิสาขบูชาโลกที่สหประชาชาติที่เมืองไทย ๓ ปี ที่ผา่ นมา
คาว่าวิสาขบูชา เรี ยกเป็ นภาษาอังกฤษว่า vesak ทั้ง ๆ ที่ ประเทศไทยเรี ยกว่า วิสาขะ การสะกดใน
ภาษาอังกฤษว่า vesak นั้นเป็ นการสะกดแบบศรี ลงั กา ตราบใดที่ยงั มีการฉลอง The Day of Vesak
หรื อวันวิสาขบูชาโลก ตราบนั้นชาวพุทธทัว่ โลกก็จะนึกถึงบทบาทของศรี ลงั กาในการรณรงค์ให้
สหประชาชาติยอมรับความสาคัญของวันนี้
.....นี่คือสาระสาคัญในการแถลงข่าวของพระธรรมโกศาจารย์
 เหตุที่สมณวงศ์ขาดหายในศรี ลงั กา
.....ในวันที่ ๒๗ สิ งหาคมซึ่งเป็ นวันที่ ๓ ในศรี ลงั กา คณะของเราได้
ออกเดินทางแต่เช้าออกจากกรุ งโคลัมโบเพื่อไปเมืองแคนดี(Kandy)
ระยะทางเพียง ๑๒๐ กิโลเมตร แต่ใช้เวลาเดินทางกว่าสองชัว่ โมง
เพราะรถต้องแล่นขึ้นเขาไปเรื่ อยๆ เมืองแคนดีต้ งั อยูใ่ จกลางเกาะ
ลังกาและมีภูเขาล้อมรอบจึงเป็ นชัยภูมิที่ดีที่ใช้เป็ นที่ต้ งั เมืองหลวง
ของราชอาณาจักรสุ ดท้ายก่อนที่ศรี ลงั กาจะตกเป็ นมืองขึ้นของ
อังกฤษ เมืองแคนดีสมัยโบราณมีชื่อว่าศรี วฒั นบุรี ในสมัยที่ศรี วฒั น
บุรีเป็ นเมืองหลวงนี้แหละที่พระอุบาลีจากกรุ งศรี อยุธยาเดินทางมา
ฟื้ นฟูสมณวงศ์ที่ศรี ลงั กา
.....ถึงตรงนี้คงต้องเล่าประวัติศาสตร์ศรี ลงั กากันนิดหน่อยว่าทาไมพระพุทธศาสนาในศรี ลงั กายุคนั้น
จึงเสื่ อมโทรมมากจนต้องหันมาพึ่งฝี มือพระธรรมทูตไทยจากกรุ งศรี อยุธยาโปรตุเกสเป็ นประเทศ
แรกที่แล่นเรื อมาถึงเกาะลังกาเมื่อ พ.ศ. ๒๐๔๘ ในช่วงแรกก็เพียงแต่ต้ งั สถานีการค้าอยูท่ ี่โคลัมโบ
ต่อมาในสมัยที่พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๗ เป็ นกษัตริ ยศ์ รี ลงั กาตั้งเมืองหลวงอยูท่ ี่เมืองไชยวัฒนบุรีใกล้
กรุ งโคลัมโบ พระอนุชาทั้ง ๒ ของพระองค์ได้แยกตัวเป็ นอิสระปกครองเมืองอีก ๒ แห่งโดยไม่ข้ ึน
ต่อกันทาให้ศรี ลงั กาสมัยนั้นแตกออกเป็ น ๓ ก๊กทั้งๆที่มีโปรตุเกสจ้องตะครุ บอยู่
.....พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๗ เปิ ดฉากสงครามกับพระอนุชาของพระองค์ที่ชื่อว่ามายาทุนไนย เมื่อฝ่ าย
ตนเพลี่ยงพล้ า พระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๗ ได้ชวนโปรตุเกสมาช่วยรบซึ่งเป็ นการชักศึกเข้าบ้านโดยแท้
เมื่อพระเจ้าภูวเนกพาหุที่ ๗ สวรรคต กษัตริ ยอ์ งค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าธรรมปาละ ครองราชย์ใน
พ.ศ. ๒๐๘๕ ยิง่ ตกอยูใ่ ต้อิทธิพลของโปรตุเกส และในที่สุดพระองค์กเ็ ปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริ สต์
อาณาจักรไชยวัฒนบุรีกต็ กเป็ นของโปรตุเกส
.....เมื่อดินแดนรอบนอกของเกาะลังกาตกเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกสหมดแล้ว พระเจ้าวิมลธรรม
สุ ริยะที่ ๑ ได้ต้ งั ตัวเป็ นกษัตริ ยศ์ รี ลงั กาครองเมืองศรี วฒั นบุรีหรื อเมืองแคนดีเมื่อ พ.ศ. ๒๑๓๕
โปรตุเกสไม่สามารถตีเมืองแคนดีได้เพราะมีภูเขาเป็ นกาแพงล้อมรอบอย่างดี
.....ในยุคที่แคนดีเป็ นเมืองหลวงของศรี ลงั กานี่แหละที่คณะสงฆ์สูญสิ้ นไปจากศรี ลงั กาจนกษัตริ ยศ์ รี
ลังกาต้องส่ งราชทูตไปกรุ งศรี อยุธยาเพื่ออาราธนาพระอุบาลีไปฟื้ นฟูสมณวงศ์ที่ศรี ลงั กา
.....เหตุที่พระพุทธศาสนาเสื่ อมโทรมอย่างรวดเร็วในศรี ลงั กายุคนั้นก็เพราะโปรตุเกสยึดถือนโยบาย
เผยแผ่ศาสนาคริ สต์อย่างจริ งจัง ทั้งนี้กเ็ พื่อป้ องกันอังกฤษและสเปนไม่ให้เข้ามาแข่งขันกับโปรตุเกส
ในเอเชียใต้ โดยโปรตุเกสได้รับอนุญาตจากพระสันตปาปาที่กรุ งโรมให้มีสิทธิในการเผยแผ่ศาสนา
คริ สต์ในเอเชียใต้แต่เพียงผูเ้ ดียว ดังนั้นโปรตุเกสจึงต้องเร่ งแสดงผลงานให้พระสันตปาปาเห็นด้วย
การชักชวนพระเจ้าธรรมปาละไปเข้ารี ตศาสนาคริ สต์ดงั กล่าวมาแล้ว หลังจากนั้นโปรตุเกสก็โหม
เผยแผ่ศาสนาคริ สต์แก่ชาวศรี ลงั กาในดินแดนที่ตนยึดครองเป็ นเหตุให้คณะสงฆ์ในเขตนี้สูญสิ้ นไป
......ในอาณาจักรแคนดีน้ นั เล่าสถานการณ์กย็ า่ แย่สาหรับพระพุทธศาสนา สงครามที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง
กับโปรตุเกสทาให้มีคนบวชพระน้อยลงประกอบกับพระเจ้าราชสิ งหะแห่งแคนดีหนั ไปนับถือ
ศาสนาฮินดูแล้วทาลายพระพุทธศาสนาจนกระทัง่ ต่อมาในสมัยที่พระเจ้าวิมลธรรมสุ ริยะที่ ๒ ขึ้น
ครองราชย์ในพ.ศ. ๒๒๒๘ พระพุทธศาสนาได้เสื่ อมโทรมหนักจนกระทัง่ ไม่มีพระสงฆ์เหลืออยูใ่ น
ศรี ลงั กา แม้กษัตริ ยศ์ รี ลงั กาองค์ต่อมาจะได้ส่งราชทูตไปนิมนต์พระสงฆ์จากเมืองยะไข่มาฟื้ นฟูสมณ
วงศ์ที่ศรี ลงั กา สถานการณ์พระพุทธศาสนาก็ไม่กระเตื้องขึ้นแต่อย่างใด จนกระทัง่ สมัยที่พระเจ้าศรี
วิชยั ราชสิ งหะขึ้นครองราชย์ในพ.ศ. ๒๒๘๒ ทั้งเกาะลังกาหาพระสงฆ์ไม่ได้คงมีแต่คณะสามเณรม
ที่มีหวั หน้าชื่อสามเณรสรณังกร
.....สามเณรสรณังกรรู ปนี้แหละที่เป็ นผูถ้ วายพระพรพระเจ้าศรี วชิ ยั ราชสิ งหะให้ส่งราชทูตไปนิมนต์
พระสงฆ์ไทยไปฟื้ นฟูสมณวงศ์ในศรี ลงั กา เราจะกลับมาพูดถึงสามเณรรู ปนี้เมื่อคณะของเราเดินทาง
ถึงวัดสุ ริยโกฎที่สามเณรเคยอยูพ่ านักเป็ นเวลานาน
 บูชาพระธาตุเขี้ยวแก้ว
.....สถานที่แห่งแรกที่คณะของเราเดินทางไปเยีย่ มชมในเมืองแคนดีคือวัดพระธาตุเขี้ยวแก้วซึ่งเป็ น
วัดสาคัญที่สุดในศรี ลงั กา คณะของเราทั้งฝ่ ายบรรพชิตและ
ฝ่ ายคฤหัสถ์ได้ทยอยกันไปมนัสการสักการะพระธาตุเขี้ยว
แก้วแล้วเกิดความปลื้มปี ติเหมือนกับได้เข้าเฝ้ าเฉพาะพระ
พักตร์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีเดียว
.....พระธาตุเขี้ยวแก้วองค์น้ ีถือว่าเป็ นสิ่ งสักการบูชาสู งสุ ด
ของชาวศรี ลงั กาถึงขนาดที่วา่ เจ้าชายองค์ใดของศรี ลงั กา
สมัยโบราณได้ครอบครองพระธาตุเขี้ยวแก้ว เจ้าชายองค์น้ นั ก็จะได้ให้เป็ นกษัตริ ยข์ องศรี ลงั กาทั้ง
ประเทศทีเดียว แม้ในปัจจุบนั นี้ พระธาตุเขี้ยวแก้วก็เป็ นศูนย์รวมใจของชาวพุทธศรี ลงั กาทั้งประเทศ
.....พระธาตุเขี้ยวแก้ว(พระทาฐธาตุ)คือพระธาตุส่วนที่เป็ นเขี้ยวของพระพุทธเจ้ามีท้ งั หมด ๔ องค์
มหาปริ พพานสู ตรระบุที่ประดิษฐานของพระธาตุเขี้ยวแก้วทั้ง ๔ องค์ไว้วา่ องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่
ที่พระเจดียจ์ ุฬามณี บนสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ องค์หนึ่งประดิษฐานอยูท่ ี่พิภพพญานาค องค์หนึ่ง
ประดิษฐานอยูท่ ี่แคว้นคันธาระ องค์หนึ่งประดิษฐานอยูท่ ี่แคว้นกาลิงคะซึ่งอยูท่ างทิศตะวันออกเฉียง
ใต้ของอินเดีย
.....สรุ ปว่า พระธาตุเขี้ยวแก้วในโลกมนุษย์มีเพียง ๒ องค์ องค์หนึ่งเคยอยูท่ ี่แคว้นคันธาระและ
ปัจจุบนั ประดิษฐานอยูท่ ี่วดั หลิงกวง กรุ งปักกิ่ง ประเทศจีน อีกองค์หนึ่งเคยอยูท่ ี่แคว้นกาลิงคะและ
ปัจจุบนั ประดิษฐานอยูท่ ี่วดั พระธาตุเขี้ยวแก้ว เมืองแคนดี ประเทศศรี ลงั กา
.....คัมภีร์ดาลดาวงศ์ของศรี ลงั การะบุวา่ ในรัชสมัยของพระเจ้าคุหสี วะ แคว้นกาลิงคะเกิดศึกสงคราม
ก่อนออกรบ พระเจ้าคุหสี วะตรัสสั่งพระราชธิดาพระนามว่าเหมมาลาว่าถ้าพระองค์สวรรคตใน
สนามรบให้นาพระธาตุเขี้ยวแก้วไปที่ลงั กา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในสนามรบ พระนางเหมมาลา
พร้อมด้วยพระสวามีได้ปลอมพระองค์อญั เชิญพระธาตุเขี้ยวแก้วลงเรื อไปศรี ลงั กา พระธาตุเขี้ยวแก้ว
ถึงเมืองอนุราธบุรีในศรี ลงั กาในรัชสมัยของพระเจ้ากีรติศิริเมฆวรรณผูข้ ้ ึนครองราชย์ในพ.ศ. ๘๔๕
.....กษัตริ ยศ์ รี ลงั กาในอดีตรักและหวงแหนพระธาตุเขี้ยวแก้วมาก เมื่อย้ายเมืองหลวงไปที่ใดก็จะ
อัญเชิญพระธาตุเขี้ยวแก้วไปประดิษฐานไว้ที่น้ นั ด้วย เมื่อราชอาณาจักรสุ ดท้ายของศรี ลงั กาที่เมือง
แคนดีสูญเสี ยเอกราชให้กบั อังกฤษเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๘ ชาวพุทธศรี ลงั กาได้สร้างวัดพระธาตุเขี้ยวแก้ว
ณ ที่ปัจจุบนั แล้วตั้งคณะกรรมการรักษาพระธาตุเขี้ยวแก้วกันเองโดยไม่ยอมให้องั กฤษเข้ายุง่ เกี่ยวซึ่ง
ฝ่ ายอังกฤษก็ยนิ ยอมโดยดี คณะของเราและคนทัว่ ไปที่ไปนมัสการพระธาตุเขี้ยวแก้วจะได้เห็น
เฉพาะสถูปทองคาสู งสองศอกเศษที่บรรจุพระธาตุเขี้ยวแก้วไว้ภายในเท่านั้น คนทัว่ ไปจะไม่มี
โอกาสได้เห็นพระธาตุเขี้ยวแก้วองค์จริ ง เขาจะเปิ ดให้แขกบ้านแขกเมืองคนสาคัญระดับ
นายกรัฐมนตรี เท่านั้นได้ชมพระธาตุเขี้ยวแก้วองค์จริ ง
 พิธีเปิ ดพระธาตุเขี้ยวแก้ว
.....พระธรรมโกศาจารย์เคยได้ชมพระธาตุเขี้ยวแก้วกับตา
ตนเองเมื่อเดินทางไปประชุมร่ วมกับผูน้ าชาวพุทธทัว่ โลกที่
เมืองแคนดีเนื่องในโอกาสฉลองวิสาขบูชาเมื่อวันที่ ๑๒
สิ งหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
ศรี ลงั กา พม่า และอินเดียนับพุทธศักราชเร็วกว่าไทยเพราะ
ประเทศทั้งสามนี้ถือเอาวันวิสาขบูชาของทุกปี เป็ นวัน
เปลี่ยนพุทธศักราชใหม่ ดังนั้นวันที่ ๑๒ สิ งหาคม พ.ศ.
๒๕๔๙ ของไทยก็กลายเป็ นพ.ศ. ๒๕๕๐ ของศรี ลงั กาไปแล้ว
.....ในการประชุมผูน้ าชาวพุทธทัว่ โลกครั้งนี้ ทางวัดพระธาตุเขี้ยวแก้วได้เปิ ดโอกาสให้ผนู ้ าชาวพุทธ
ได้ชมพระธาตุเขี้ยวแก้วองค์จริ ง เมื่อถึงเวลาเปิ ดแสดงพระธาตุเขี้ยวแก้วในวันที่ ๑๒ สิ งหาคม พ.ศ.
๒๕๔๙ พระธรรมโกศาจารย์เป็ นหนึ่งในพระสงฆ์ชาวต่างชาติเพียงสองรู ปที่ได้รับอนุญาตให้เข้าไป
อยูภ่ ายในห้องกระจกนิรภัยเพื่อจะได้เห็นทุกขั้นตอนของการเปิ ดพระธาตุเขี้ยวแก้ว พระสงฆ์
ชาวต่างชาติอีกรู ปหนึ่งนั้นเป็ นรองอธิ การบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่ตามเข้าไป
ด้วยกัน
......พระธาตุเขี้ยวแก้วได้รับการบรรจุไว้ในสถูปทองคา ๗ ชั้น สาหรับสถูป ๓ ชั้นนอกสุ ดต้องมี
กุญแจไขจึงจะเปิ ดได้ บุคคลสาคัญ ๓ คนเป็ นผูร้ ักษากุญแจกันคนละดอกเพื่อเปิ ดกันคนละชั้น
ผูร้ ักษากุญแจสาหรับไขสถูปทองคาชั้นนอกสุ ดคือชั้นที่ ๗ เป็ นคฤหัสถ์ที่ได้รับการคัดเลือกมาให้
เป็ นผูร้ ักษากุญแจคราวละ ๑๐ ปี คนปัจจุบนั มีชื่อว่านิลงั คะ เดละ
พันดร(Nilanga Dela Bandara) ผูร้ ักษากุญแจสาหรับไขสถูปทองคา
ชั้นถัดไปคือชั้นที่ ๖ ได้แก่พระมหานายกฝ่ ายอัสคิริยะ ผูร้ ักษากุญแจ
สาหรับไขสถูปทองคาชั้นถัดไปคือชั้นที่ ๕ ได้แก่พระมหานายก
ฝ่ ายมัลวัต
.....เมื่อทั้งสามท่านมาพร้อมกันแล้ว แต่ละท่านได้ส่งกุญแจให้
เจ้าหน้าที่ใช้ไขเปิ ดสถูปทองคาที่ละชั้น ตั้งแต่ช้ นั ที่ ๔ จนถึงชั้นใน
สุ ดไม่ตอ้ งติดกุญแจ เจ้าหน้าที่เพียงใช้ผา้ บางๆคลุมสถูปแล้วยก
ออกมาทีละชั้น พวกเขาแสดงความเคารพด้วยการไม่ใช้มือจับต้อง
สถูปหรื อพระธาตุโดยตรง สถูปชั้นในสุ ดคือชั้นที่ ๗ มีขนาดเท่าไข่
ไก่และมีรูปลักษณ์เหมือนไข่ไก่ซ่ ึงมีเกลียวสาหรับเปิ ดปิ ดอยูต่ รง
กลาง เมื่อเจ้าหน้าที่เปิ ดที่บรรจุช้ นั ในสุ ดออกมาแล้ว เขาได้ใช้ผา้ ผืนบางคลุมพระธาตุเขี้ยวแก้วแล้ว
ใช้มือจับผ้าคลุมนั้นหยิบพระธาตุข้ ึนไปวางไว้ในโถแก้วที่เตรี ยมไว้สาหรับแสดงแก่ผนู ้ าชาวพุทธ
อื่นๆที่รอชมอยูด่ า้ นนอก
......พระธาตุเขี้ยวแก้วที่ปรากฎแก่สายตามีขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย มีรูปลักษณ์หรื อสัณฐานกลมที่โคน
แต่ปลายมน มีรูเล็กตรงกลางฐานล่างและมีสีเทาซีดเหมือนสี ควันบุหรี่ ซ่ ึงแสดงถึงความจางลงของสี
เนื่องจากพระธาตุองค์น้ ีมีอายุมากกว่า ๒,๕๐๐ ปี
.....สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพได้ทรงนิพนธ์ไว้ใน “เรื่ องประดิษฐานพระสงฆ์สยามวงศ์ใน
ลังกาทวีป” ตอนหนึ่งกล่าวถึงบันทึกของราชทูตไทยที่ติดตามพระอุบาลีไปนมัสการพระธาตุเขี้ยว
แก้วที่ศรี ลงั กาเมื่อ ๒๕๔ ปี มาแล้วว่า “ข้าพเจ้านมัสการใกล้ประมาณศอกคืบ แลสัณฐานพระทันต
ธาตุน้ นั เหมือนดอกจาปาตูม พระรัศมีตน้ เหลือง ปลายแดงอ่อนๆ”
.....การเปิ ดสถูปบรรจุพระธาตุเขี้ยวแก้วตั้งแต่ช้ นั นอกจนถึงชั้นในสุ ดใช้เวลาประมาณ ๔๕ นาที ซึ่ง
รวมเวลาที่เจ้าหน้าที่ทาการถอดเครื่ องเพชรนิลจินดาชิ้นต่างๆที่กษัตริ ยศ์ รี ลงั กาในอดีตได้คล้องบูชา
ไว้ที่พระสถูปชั้นนอกสุ ดออกมาวางไว้จนเต็มถาดใหญ่ พระมหานายกชี้ให้ดูสร้อยสังวาลย์ที่พระเจ้า
กีรติศรี ราชสิ งหะทรงสวมใส่ ในวันขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๐ แล้วทรงถอดมาบูชาพระธาตุ
เขี้ยวแก้ว
.....เมื่อพระธาตุเขี้ยวแก้วประดิษฐานในโถแก้วนิทรรศการเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ประธานาธิบดีมหิน
ทะ ราชปักษาแห่งศรี ลงั กาได้เดินทางมาถึงแล้วคุกเข่าลงพร้อมกับยกโถแก้วบรรจุพระธาตุเขี้ยวแก้ว
นั้นทูลศีรษะ พระมหานายกทั้งสองรู ปเริ่ มสวดชยันโต พระธรรมโกศาจารย์ได้ร่วมสวดชยันโตให้
พรท่านประธานาธิบดีศรี ลงั กาไปพร้อมกันด้วย
.....ที่เล่ามานั้นเป็ นเรื่ องการเปิ ดให้ชมพระธาตุเขี้ยวแก้วในปี ๒๕๔๙ สาหรับการไปเยือนศรี ลงั กา
ครั้งนี้ในพ.ศ. ๒๕๕๐ ไม่มีการเปิ ดให้ชมพระธาตุเขี้ยวแก้วแต่อย่างใด
 สามเณรสรณังกร
.....หลังจากคณะของเราอิ่มบุญจากการบูชพระธาตุเขี้ยวแก้วแล้วก็ได้เดินทางไปสมทบกับท่าน
รัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะและเอกอัครราชทูตไทยประจาศรี ลงั กาทาพิธีเปิ ดศูนย์พระพุทธศาสนา
นานาชาติพระสังฆราชสรณังกร ศูนย์น้ ีเป็ นอาคารสร้างใหม่สูง ๔ ชั้นอยูใ่ นพื้นที่ของวัดสุ ริยโกฎเพื่อ
เป็ นอนุสรณ์แด่พระสังฆราชสรณังกร
.....เมื่อ ๒๕๔ ปี มาแล้ว พระอุบาลีจากประเทศไทยไปบวชสามเณรสรณังกรเป็ นพระภิกษุ ต่อมา
พระสรณังกรรู ปนี้ได้เป็ นพระสังฆราชรู ปแรกและรู ปสุ ดท้ายของศรี ลงั กา จึงถือว่าท่านเป็ นต้น
กาเนิดของสยามนิกาย
เมื่อเสร็จพิธีเปิ ดศูนย์แล้ว คณะสงฆ์ไปฉันภัตตาหารเพลที่วดั สุ ริยโกฎ ญาติโยมศรี ลงั กาทาพิธีถวาย
ทานโดยอังคาสพระสงฆ์ดว้ ยมือของตน พระสงฆ์นงั่ ประจาอาสนะมีจานเปล่าวางอยูข่ า้ งหน้าแต่ละ
รู ป ญาติโยมเวียนกันมาตักอาหารใส่ จานกันคนละช้อนสองช้อน คนนี้ตกั ข้าว คนนี้ตกั ผัก คนนี้ตกั
แกง เวียนมากันตักอยูเ่ รื่ อยไม่ให้อาหารขาด พระสงฆ์กฉ็ นั ไปจนกว่าจะอิ่มแล้วก็ยกมือแสดงว่าพอๆ
ที่เรี ยกว่าห้ามภัตรตามภาษาพระ นี่แหละเป็ นวิธีองั คาสคือเลี้ยงพระสงฆ์ดว้ ยมือของทายกซึ่งเรายังคง
พบเห็นที่ศรี ลงั กา
.....เมื่อฉันภัตตาหารเพลและรับประทานอาหารเสร็ จแล้ว คณะของเราไปร่ วมพิธีฉลองการเปิ ดศูนย์
พระพุทธศาสนานานาชาติพระสังฆราชสรณังกรในบริ เวณวัดสุ ริยโกฎ พระมหาเถระศรี ลงั กากล่าว
สัมโมทนียกถา ท่านรัฐมนตรี และนักการเมืองท้องถิ่นกล่าวปราศรัยต่อประชาชน ไม่วา่ ใครจะพูด
อะไรก็ตอ้ งพาดพิงถึงคุณูปการของพระอุบาลีและพระสรณังกรที่มีต่อพระพุทธศาสนาในศรี ลงั กา
บางท่านถึงกับเปรี ยบเทียบบทบาทของพระสรณังกรว่าสาคัญเท่าเทียมกับพระมหินทเถระผูน้ า
พระพุทธศาสนามาเผยแผ่ในศรี ลงั กาเป็ นครั้งแรก
.....เมื่อ พ.ศ. ๒๒๔๒ เด็กชายกุลตุงคะ พันดร(Kulatunga Bandara) ถือกาเนิดขึ้นมาในหมู่บา้ นเวฬิวิ
ตะ เขาเริ่ มเรี ยนหนังสื อเมื่ออายุได้ ๕ ขวบ ชอบอ่านหนังสื อทั้งกลางวันและกลางคืนจนเป็ นผูค้ งแก่
เรี ยน เมื่อเขามีอายุได้ ๑๖ ปี เจ้าอาวาสวัดสุ ริยโกฎในขณะนั้นได้ทาพิธีบรรพชาเด็กหนุ่มคนนี้เป็ น
สามเณรมีฉายาว่า เวฬิวติ ะ สรณังกร
.....ตั้งแต่ได้บรรพชาแล้ว สามเณรสรณังกรได้ศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมจนมีความรู ้ภาษาบาลีเป็ นอย่างดี
แม้ท่านจะชอบเที่ยวจาริ กสอนธรรมไปในที่ต่างๆจนมีศิษย์มากมาย วัดสุ ริยโกฎยังคงเป็ นต้นสังกัด
ของท่านนานถึง ๓๖ ปี สามเณรสรณังกรไม่ได้อุปสมบทเป็ นพระภิกษุเพราะหาพระอุปัชฌาย์ไม่ได้
เนื่องจากในปลายรัชกาลพระเจ้านเรนทรสิ งหะซึ่งครองราชย์ระหว่างพ.ศ. ๒๒๕๐-๒๒๘๒ ศรี ลงั กา
ไม่มีพระภิกษุเหลืออยูเ่ ลย
.....หนังสื อเรื่ องสยามูปสัมปทา เรี ยบเรี ยงโดยพระสิ ทธารถ พุทธรักขิตเถระเมื่อ พ.ศ.๒๓๑๙ เล่าว่า
สามเณรสรณังกรเป็ นนักเทศน์ที่มีชื่อเสี ยงและเป็ นที่ศรัทธาของพระเจ้าศรี วิชยั ราชสิ งหะผู ้
ครองราชย์ใน พ.ศ.๒๒๘๒ กษัตริ ยพ์ ระองค์น้ ีทรงให้สร้างกุฏิสงฆ์ข้ ึนที่วดั บุปผารามถวายสามเณร
สรณังกรผูเ้ ป็ นประธานคณะสามเณรในวัด
 เมื่อพระอุบาลีไปศรี ลงั กา
.....พระเจ้าศรี วชิ ยั ราชสิ งหะทรงประสงค์จะอาราธนาคณะสงฆ์จากกรุ งศรี อยุธยาไปทาพิธีให้การ
อุปสมบทแก่สามเณรสรณังกรจึงได้ส่งราชทูตพร้อมด้วยพระราชสาส์นไปยังกรุ งศรี อยุธยา พวก
ราชทูตอาศัยเรื อสาเภาของฮอลันดาหรื อเนเธอร์แลนด์ไปแวะที่เมืองปัตตาเวีย เกาะชวา
.....ก่อนหน้านี้ กษัตริ ยศ์ รี ลงั กาแห่งเมืองแคนดีได้ร่วมมือกับฝรั่งฮอลันดาขับไล่โปรตุเกสออกไปจาก
เกาะลังกาเมื่อพ.ศ.๒๒๐๓ โดยฮอลันดาได้เข้าครอบครองพื้นที่ในเกาะที่เคยเป็ นของโปรตุเกส
ราชอาณาจักรแคนดียงั คงมีอิสรภาพ ฮอลันดาไม่มีนโยบายในการเผยแผ่ศาสนาคริ สต์จึงยินดีรับ
ราชทูตศรี ลงั กาลงเรื อสาเภาไปกรุ งศรี อยุธยา
.....พวกราชทูตศรี ลงั กาฝากพระราชสาส์นและเครื่ องราชบรรณาการไว้ที่เกาะชวาแล้วเดินทางต่อไป
ยังกรุ งศรี อยุธยาเพื่อดูลู่ทางความเป็ นไปได้ในการขอสมณทูตจากสยาม พวกราชทูตได้เข้าเฝ้ าพระ
เจ้าแผ่นดินสยามและได้ความมัน่ ใจว่าทางสยามพร้อมที่จะส่ งสมณทูตไปศรี ลงั กา แต่เนื่องจากพวก
ราชทูตไม่ได้นาพระราชสาส์นจากศรี ลงั กาติดตัวไปเข้าเฝ้ า พวกเขาจึงต้องเดินทางกลับเกาะชวาเพื่อ
นาพระราชสาส์นไปถวายพระเจ้าแผ่นดินสยาม ในระหว่างที่เดินทางกลับไปเกาะชวานั้นเอง พวก
ราชทูตก็ได้ข่าวการสวรรคตของพระเจ้าศรี วชิ ยั ราชสิ งหะจึงพากันเปลี่ยนใจเดินทางกลับศรี ลงั กา
.....พระเจ้ากีรติศรี ราชสิ งหะขึ้นครองราชย์เป็ นรัชกาลต่อมาเมื่อพ.ศ.๒๒๙๐ หลังจากครองราชย์ได้
๓ ปี พระองค์ได้ส่งราชทูตอีกคณะหนึ่งไปอาราธนาพระสมณทูตจากกรุ งศรี อยุธยา พวกราชทูต
เดินทางโดยเรื อสาเภาของฮอลันดาถึงกรุ งศรี อยุธยาเมื่อพ.ศ.๒๔๙๔ เข้าเฝ้ าพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศซึ่ง
ทรงส่ งคณะสมณทูตไปศรี ลงั กา
.....คณะสมณทูตนี้ประกอบด้วยพระราชาคณะ ๒ รู ปคือพระอุบาลีและพระอริ ยมุนี มีพระมหา
เปรี ยญเป็ นกรรมวาจาจารย์ ๕ รู ปและพระอันดับอีก ๑๑ รู ป รวมพระสงฆ์ท้ งั สิ้ นจานวน ๑๘ รู ป มี
สามเณรติดตามไปด้วยจานวนหนึ่ง
.....สมณทูตคณะนี้ซ่ ึงมีพระอุบาลีเป็ นหัวหน้าเดินทางโดยเรื อสาเภาถึงเมืองแคนดีในพ.ศ.๒๒๙๖
ภาษาที่ใช้ในการสื่ อสารสมัยนั้นคือภาษาบาลี แม้แต่พระราชสาส์นที่ส่งถึงกันก็ใช้ภาษาบาลี พระ
ราชสาส์นภาษาบาลีฉบับหนึ่งถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีจนถึงปัจจุบนั โดยพระมหานายกแห่งมัลวัต
.....ท่านมหานายกเคยนาพระราชสาส์นออกมาให้พระธรรมโกศาจารย์ได้ชมเป็ นขวัญตา กล่องใส่
พระราชสาส์นยาวประมาณ ๑ ศอกทาด้วยเงิน มีจารึ กภาษาบาลีอยูด่ า้ นนอก ภายในกล่องเป็ นงาช้าง
มีช่องตรงกลางสาหรับบรรจุพระราชสาส์นซึ่งจารึ กด้วยสี ดาลงบนผ้าไหมสี ขาว เราต้องชมว่าของล้ า
ค่าทางประวัติศาสตร์อย่างนี้หาไม่ได้ในประเทศไทย แต่วดั ในศรี ลงั กาเก็บรักษาได้ดีเหลือเกิน
.....ในพระราชสาส์นภาษาบาลี ฝ่ ายศรี ลงั กาเรี ยกพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศว่า ธมฺ มิกราชา (พระเจ้า
ธรรมิกราช) ฝ่ ายไทยเรี ยกศรี ลงั กาว่า สิ ริลงฺกาทีป (เกาะศรี
ลังกา) และเรี ยกเมืองแคนดีวา่ สิ ริวฑฺฒนปุร (ศรี วฒั นบุรี)
 กาเนิดสยามนิกายในศรี ลงั กา
.....พระอุบาลีได้เป็ นพระอุปัชฌาย์ให้การอุปสมบทสามเณร
สรณังกรพร้อมกับสามเณรระดับเจ้าอาวาสอื่นๆ อีก ๕ รู ปที่
วัดบุปผาราม ขณะได้รับการอุปสมบท สามเณรสรณังกรมีอายุได้ ๕๔ ปี พระเจ้ากีรติศรี ราชสิ งหะ
เสด็จไปทอดพระเนตรพิธีอุปสมบทครั้งประวัติศาสตร์น้ ีดว้ ย
.....สมณทูตคณะนี้อยูท่ ี่ศรี ลงั กา ๓ ปี ให้การบรรพชาอุปสมบทแก่ชาวศรี ลงั กาเป็ นพระภิกษุ ๗๐๐ รู ป
เป็ นสามเณร ๓,๐๐๐ รู ป จากนั้นได้มีสมณทูตคณะที่สองจานวน ๔๒ รู ปซึ่งมีพระวิสุทธาจารย์เป็ น
หัวหน้าเดินทางไปทาหน้าที่ต่อจากคณะของพระอุบาลีเมื่อ พ.ศ.๒๒๙๘
.....เมื่ออยูศ่ รี ลงั กาได้เกือบ ๓ ปี พระอุบาลีได้ถึงมรณภาพ ควรบันทึกไว้วา่ สมณทูตคณะที่หนึ่งซึ่งมี
พระอุบาลีเป็ นหัวหน้าได้เอาชีวติ ไปทิ้งไว้ที่ศรี ลงั กาเสี ยเป็ นส่ วนมาก ภายในเวลา ๓ ปี นั้นอาหารและ
อากาศที่แปลกไปของศรี ลงั กาสมัยนั้นได้คร่ าชีวติ พระภิกษุจากสยาม ๑๐ รู ป สามเณรจากสยามถึง
มรณภาพ ๒ รู ป สมณทูตเหลือรอดชีวติ กลับกรุ งศรี อยุธยาเพียง ๗ รู ป หนึ่งในนั้นคือพระอริ ยมุนี
.....พระอุบาลีเป็ นพระธรรมทูตที่ยงิ่ ใหญ่เพราะได้ปฏิบตั ิหน้าที่แบบมอบกายถวายชีวติ เพื่อ
พระพุทธศาสนา มรดกที่ท่านฝากไว้ล้ าค่าเหลือคณนานับ การปฏิบตั ิหน้าที่ของท่านได้ช่วยฟื้ นฟู
สมณวงศ์และต่อชีวติ พระพุทธศาสนาในศรี ลงั กามาจนถึงปั จจุบนั เมื่อพระอุบาลีถึงมรณภาพลง พระ
เจ้ากีรติศรี ราชสิ งหะได้สถาปนาศิษย์เอกของท่านคือพระสรณังกรเป็ นพระสังฆราชแห่งศรี ลงั กา
นับเป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ศรี ลงั กาที่มีตาแหน่งพระสังฆราช นี่คงเอาแบบอย่างไปจากสยาม
.....ต่อมาเมื่อพระสรณังกรบวชเป็ นพระภิกษุได้ ๑๒ พรรษาท่านก็ได้เป็ นพระอุปัชฌาย์ให้การ
บรรพชาอุปสมบทแก่กลุ บุตรศรี ลงั กาสื บมา ระยะนี้ท่านพานักอยูท่ ี่วดั บุปผาราม คณะสงฆ์ที่สืบทอด
มาจากสายของพระสังฆราชสรณังกรนั้นได้กลายเป็ นนิกายใหญ่ที่สุดในศรี ลงั กาปัจจุบนั เรี ยกว่า
สยามนิกาย มีชื่อเต็มว่า สยาโมปาลีมหานิกาย หมายถึงนิกายใหญ่ของพระอุบาลีจากประเทศสยาม
ไม่มีพระธรรมทูตไทยอื่นใดอีกแล้วที่สามารถฝากชื่อตัวและชื่อประเทศให้เป็ นชื่อนิกายสงฆ์ในต่าง
แดนได้เหมือนพระอุบาลี เพราะเหตุน้ ีแหละพระอุบาลีจึงเป็ นพระธรรมทูตที่ยงิ่ ใหญ่ที่สุดแห่งสยาม
.....เมื่อเสร็จพิธีปราศรัยที่วดั สุ ริยโกฏ คณะของเราได้เดินทางไปยังวัดบุปผารามที่ท่านพระอุบาลีและ
พระสังฆราชสรณังกรเคยพานักอยู่ วัดบุปผารามในปัจจุบนั เป็ นที่ต้ งั ของสานักพระมหานายกแห่ง
สยามนิกายฝ่ ายมัลวัตตะ พวกเราได้เข้ากราบนมัสการพระมหานายกรู ปปั จจุบนั ซึ่งมีนามว่าศรี
สิ ทธารถ สุ มงั คลมหาเถร (Sri Siddhartha Sumangala) ท่านนับเป็ นมหานายกฝ่ ายมัลวัตตะรู ปที่ ๒๕
นับตั้งแต่มีการแต่งตั้งพระมหานายกฝ่ ายมัลวัตตะรู ปที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๖ เป็ นต้นมา
.....พระมหานายกรู ปนี้เคยไปร่ วมงานวิสาขบูชาโลกที่ประเทศไทยและได้ไปเยีย่ มวัดประยุรวงศา
วาสเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ท่านจึงคุน้ เคยกับพวกเราเป็ นอย่างดีและได้ให้การต้อนรับ
ปฏิสันถารด้วยความเมตตา ท่านมอบของที่ระลึกแก่พวกเราทุกคน
.....ดังที่กล่าวไว้ในตอนต้นแล้วว่า คณะสงฆ์สยามนิกายเป็ นนิกายใหญ่ที่สุดในศรี ลงั กาปัจจุบนั โดย
มีวดั ในสังกัดทั้งสิ้ น ๖,๐๑๘ วัด มีพระสงฆ์ ๑๘,๗๘๐ รู ป จานวนพระสงฆ์ศรี ลงั กาอาจดูไม่มากนัก
เมื่อเทียบกับคณะสงฆ์ไทย ทั้งนี้เพราะพระสงฆ์ศรี ลงั กานิยมบวชไม่สึก กุลบุตรผูไ้ ม่แน่ใจว่าจะบวช
พระได้ตลอดชีวติ มักจะทดลองบวชเป็ นสามเณรอยูห่ ลายปี วัดในศรี ลงั กาบางแห่งเริ่ มเอาอย่างไทย
คือส่ งเสริ มการบวชพระชัว่ คราวเป็ นเวลา ๓ เดือนในพรรษาเพราะเห็นว่าส่ วนดีของประเพณี บวช
พระชัว่ คราวของไทยคือช่วยดึงคนเข้าวัดแต่ตอ้ งมีระบบการจัดการศึกษาอบรมอย่างดีสาหรับพระ
บวชใหม่
.....คณะสงฆ์สยามนิกายในศรี ลงั กาแบ่งเป็ น ๒ นิกายย่อยคือฝ่ ายมัลวัตตะและฝ่ ายอัสคิริยะทั้งสอง
ฝ่ ายต่างสื บต่อมาจากพระอุบาลี โดยที่ฝ่ายมัลวัตตะจัดเป็ นคามวาสี ขณะที่ฝ่ายอัสคิริยะจัดเป็ นวนวาสี
หรื ออรัญวาสี แต่ละฝ่ ายต่างปกครองตนเองเป็ นอิสระจากกัน ทั้งฝ่ ายมัลวัตตะและฝ่ ายอัสคิริยะต่างมี
คณะกรรมการบริ หารคณะสงฆ์เป็ นของตนเองเรี ยกว่าการกสภา คณะกรรมการสภาเลือกกรรมการ
ด้วยกันเองเป็ นมหานายกและอนุนายก ผูด้ ารงตาแหน่งพระมหานายกในสยามนิกายจึงมี ๒ รู ป คือ
พระมหานายกฝ่ ายมัลวัตตะรู ปหนึ่งและพระมหานายกฝ่ ายอัสคิริยะอีกรู ปหนึ่ง พระมหานายกทั้ง
สองรู ปผลัดเปลี่ยนกันทาหน้าที่กนั เฝ้ าพระธาตุเขี้ยวแก้วกันคนละปี การผลัดเปลี่ยนวาระนับจากวัน
อาสาฬหบูชาเป็ นต้นไป พระมหานายกนิกายอื่นไม่ได้รับสิ ทธิในการดูแลรักษาพระธาตุเขี้ยวแก้ว
อย่างนี้จึงมีอิทธิพลในสังคมน้อยกว่าพระมหานายกสยามนิกาย
.....หลังจากกราบลาพระมหานายกฝ่ ายมัลวัตตะแล้ว คณะของเราได้เดินทางไปยังที่ต้ งั ของสถาบัน
พระพุทธศาสนาเพื่อการศึกษาชั้นสู งแห่งแคนดี หรื อ KBI (Kandy Buddhist Institute for Advanced
Studies) เพื่อร่ วมพิธีมอบใบประกาศแต่งตั้งสถาบันแห่งนี้เป็ นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในศรี ลงั กา พระธรรมโกศาจารย์ในฐานะอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัยได้ทาพิธีมอบใบประกาศแก่ผอู ้ านวยการสถาบันสมทบซึ่ งเป็ นพระสงฆ์สยามนิกาย
นับจากนี้ไป สถาบันสมทบแห่งนี้สามารถจัดการศึกษาแก่ชาวศรี ลงั กาตามหลักสู ตรของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
.....สถาบันนี้ไดรับอนุมตั ิจากสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยให้เป็ นสถาบันสมทบ
ของมหาวิทยาลัยหลังจากที่ส่งเรื่ องขออนุมตั ิมา ๓ ปี แล้ว สถาบันเพิ่งได้รับการอนุมตั ิจากสภา
มหาวิทยาลัยในปี นี้ ทางฝ่ ายอธิการบดีและคณะจึงได้ไปทาพิธีมอบใบประกาศของมหาวิทยาลัยที่
แต่งตั้งให้เป็ นสถาบันสมทบ นัน่ หมายความว่า สถาบันนี้แห่งนี้สามารถเปิ ดสอนหลักสู ตรปริ ญญา
ตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยสาหรับพระสงฆ์และฆราวาสในศรี ลงั กา เมื่อเรี ยน
จบแล้ว บัณฑิตสามารถไปร่ วมพิธีประสาทปริ ญญาของมหาวิทยาลัยที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับ
บัณฑิตจากสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่เกาหลีใต้และไต้หวัน
สถาบันแห่งนี้เป็ นสถาบันสมทบแห่งที่ ๓ ในต่างประเทศ ต่อไปภายหน้าถ้าพระสงฆ์ไทยอยากจะ
เรี ยนภาษาอังกฤษให้เก่ง เราก็จะส่ งมาเรี ยนที่นี่ พระสงฆ์ที่นี่อยากจะเรี ยนในประเทศไทย สถาบันก็
ส่ งไปที่เรา มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและครู บาอาจารย์
 เข้าพบประธานาธิบดีศรี ลงั กา

ต่อจากนั้นคณะของเราได้เดินทางไปทาเนียบประธานาธิบดี
ที่เมืองแคนดี เพื่อเข้าพบประธานาธิบดีศรี ลงั กา ประเทศศรี
ลังกาเคยเป็ นราชอาณาจักรที่มีกษัตริ ยป์ กครองต่อเนื่องกัน
มา ๑๖๕ รัชกาล จนกระทัง่ สถาบันกษัตริ ยถ์ ูกยกเลิกไปเมื่อ
ศรี ลงั กาตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษใน พ.ศ.๒๓๕๘ เมื่อได้อิสรภาพกลับคืนมาในพ.ศ. ๒๔๙๑ ศรี
ลังกายังไม่มีตาแหน่งประธานาธิบดี แต่มีขา้ หลวงใหญ่เป็ นประมุขของประเทศจนกระทัง่
รัฐธรรมนูญฉบับพ.ศ.๒๕๑๕ กาหนดให้มีตาแหน่งประธานาธิบดีแทนที่ตาแหน่งข้าหลวงใหญ่ ใน
ระยะแรกประธานาธิบดีเป็ นประมุขของประเทศที่ไม่มีอานาจบริ หาร จนกระทัง่ พ.ศ. ๒๕๒๑
ประธานาธิบดีศรี ลงั กาจึงอานาจบริ หารแบบเดียวกับประธานาธิบดีฝรั่งเศส ประชาชนสามารถออก
เสี ยงเลือกตั้งประธานาธิบดีได้โดยตรง ประธานาธิบดีคนปัจจุบนั ของศรี ลงั กาที่ชื่อว่ามหินทะ ราช
ปักษานี้ได้รับเลือกเป็ นประธานาธิบดีต้ งั แต่พ.ศ. ๒๕๔๘
.....การเข้าพบประธานาธิบดีศรี ลงั กาต้องผ่านระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด ทาเนียบ
ประธานาธิบดีที่แคนดีเป็ นอาคารทรงยุโรปที่สร้างมาตั้งแต่สมัยอังกฤษปกครองศรี ลงั กา มีตน้ ไม้
ใหญ่โตยืนตระหง่านอยูห่ น้าทาเนียบ บริ เวณใต้ตน้ ไม้น้ ีเป็ นที่ถวายน้ าปานะพระสงฆ์และเลี้ยง
ต้อนรับคฤหัสถ์ญาติโยมของเรา พระธรรมโกศาจารย์ได้รับนิมนต์เข้าไปในทาเนียบพร้อมกับ
พระสงฆ์อีก ๔ รู ปเพื่อพบท่านประธานาธิบดีมหินทะ ราชปักษาเป็ นการภายในก่อนที่ท่านจะออกมา
พบคณะคนไทยทั้งหมดที่ดา้ นนอก เราได้สนทนาโอภาปราศรัยระลึกถึงความหลังครั้งที่เคยมามาพบ
กันที่ทาเนียบนี้ในงานวิสาขบูชาของศรี ลงั กาปี ที่ผา่ นมา เมื่อสนทนากันเป็ นอันดีแล้ว เราพา
ประธานาธิบดีเดินออกมาพบกับคณะของไทยในบริ เวณ
เลี้ยงต้อนรับ พระธรรมโกศาจารย์พาไปทักทายพวกเราทุก
คนแล้วเชิญท่านนัง่ สนทนากันต่อไป
.....ท่านประธานาธิบดีบอกฝากให้พวกเรากลับไปชักชวน
คนไทยไปเยือนศรี ลงั กาให้มากขึ้นในฐานะเป็ นประเทศ
พุทธศาสนาด้วยกัน พระธรรมโกศาจารย์ตอบว่าศรี ลงั กามีโบราณสถานทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญ
และเก่าแก่ไม่แพ้ที่อินเดีย และที่สาคัญก็คือว่า พระพุทธศาสนาในศรี ลงั กาไม่เคยขาดหายไปจาก
ดินแดนนี้ตลอด ๒,๐๐๐ ปี ที่ผา่ นมา วิถีชีวติ ของชาวพุทธศรี ลงั กาสะท้อนถึงวัฒนธรรมชาวพุทธที่
แท้จริ งซึ่งต่างจากอินเดียที่พระพุทธศาสนาเคยสู ญหายไปแล้ว คนไทยที่อยากเรี ยนรู ้วฒั นธรรมชาว
พุทธที่เป็ นต้นแบบของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยควรไปศรี ลงั กา ท่านประธานาธิบดีบอกว่า
ศรี ลงั กายินดีตอ้ นรับคนไทยทุกคนและขอให้ชาวพุทธไทยไปเยีย่ มศรี ลงั กากันมาก ๆ เมื่อการ
สนทนาจบลงก็เป็ นพิธีมอบของที่ระลึกแก่กนั และกัน
 กราบพระมหานายกและชมเปราเฮรา
.....เมื่อออกจากทาเนียบประธานาธิบดีศรี ลงั กาแล้ว คณะของเราได้เดินทางไปกราบนมัสการพระ
มหานายกของสยามนิกายฝ่ ายอัสคิริยะ ท่านรู ปนี้มีนามว่า
ศรี ธมั มทัสสี รัตนปาละ พุทธรักขิตมหาเถร (Sri
Dhammadassi Ratanapala Buddharakkhita) ท่านนับเป็ น
มหานายกฝ่ ายอัสคิริยะรู ปที่ ๒๐ นับแต่มีการแต่งตั้งพระ
มหานายกฝ่ ายอัสคิริยะรู ปที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๙๖ เป็ นต้นมา
.....ชาวมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยคงจากันได้ดีวา่ พระมหานายกรู ปนี้แหละเป็ นผูน้ า
พระบรมสารี ริกธาตุไปมอบถวายมหาวิทยาลัย ซึ่งประดิษฐานอยูท่ ี่หอพระไตรปิ ฎกให้คนกราบไหว้
บูชาที่สานักงานใหม่วงั น้อยจนทุกวันนี้ ในการพบกันในศรี ลงั กาครั้งนี้ พระมหานายกได้ให้ศีลให้
พรแก่คณะของเราเป็ นอันดี เรารับรู ้ถึงความเมตตาที่ท่านมีต่อพวกเราเสมอมา
.....จากนั้นคณะของเราได้เร่ งเดินทางไปชมขบวนแห่พระธาตุเขี้ยวแก้ว ที่เรี ยกว่าเปราเฮรา
(Perahera) เปราเฮร่ านี้ปีหนึ่งจะจัดใหญ่เพียงครั้งเดียวในช่วงเข้าพรรษา โดยจัดติดต่อกันเป็ นเวลา
๑๐ วัน วันสุ ดท้ายก็คือวันพระขึ้น ๑๕ ค่าเดือน ๙ ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๘ สิ งหาคมปี นี้ ขบวนเปราเฮรา
เริ่ มเคลื่อนในเวลาตะวันลับฟ้ าใช้เวลาประมาณ ๓ ชัว่ โมง พวกเราได้เก้าอี้นงั่ ชมกันสบายขณะที่
ประชาชนนอกรั้วฝั่งตรงข้ามยืนบ้างนัง่ บ้างหรื อปี นต้นไม้บา้ งรอชมเปราเฮราด้วยใจจดจ่อ ได้ทราบ
ว่าพวกเขามารอกันตั้งแต่เช้า
.....งานวัดศรี ลงั กาไม่มีมหรสพมอมเมาประชาชน รู ปแบบความบันเทิงในวัดก็คือการแสดงแบบ
เปราเฮรา คือขบวนแห่ที่มีดนตรี ประโคมนาหน้าตามด้วยการแสดงชุดต่างๆสลับกับดนตรี และการ
แสดงนับไม่ถว้ น ผูแ้ สดงส่ วนใหญ่เป็ นผูช้ ายมีทุกวัยตั้งแต่เด็กจนแก่ พวกเขาจุดคบเพลิงกาบ
มะพร้าวสว่างไสวไปในขบวน มีชา้ งร่ วมพิธีอญั เชิญพระธาตุคืนนี้มากถึง ๗๓ เชือกเท่ากับจานวน
คนในคณะของเราที่ไปจากเมืองไทยพอดี ช้างบางเชือกมีงายาวมากจนไขว้กนั ผูแ้ สดงทุกคนมีสี
หน้าอิ่มเอิบเบิกบานเพราะพวกเขาทาถวายเป็ นพุทธบูชาด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา แม้
เวลาจะล่วงเลยไปมากเด็กๆที่ร่วมแสดงในขบวนก็ไม่ได้แสดงอาการเบื่อหน่ายแต่อย่างใด ที่น่า
แปลกก็คือฝูงคนที่รอชมอยูน่ อกรั้วฝั่งตรงข้ามกับเรา ไม่ยอมถอย บางกลุ่มนัง่ บางกลุ่มยืน บางคน
ปี นต้นไม้ดู ตลอดเวลา ๓ ชัว่ โมงพวกเขาไม่เคยถอยเลยทั้งที่การแสดงบางชุดอาจจะซ้ ากัน พวกเขา
มาชมด้วยความศรัทธาในพระธาตุเขี้ยวแก้ว
.....ผูแ้ สดงและนักดนตรี นบั พันชีวติ ที่มาร่ วมขบวนเปราเฮราครั้งนี้ลว้ นผ่านการฝึ กฝนทักษะมาอย่าง
ดีมิฉะนั้นจะไม่สามารถเคลื่อนไหวหรื อประโคมดนตรี ได้
พร้อมเพรี ยงกัน ความพร้อมเพรี ยงเป็ นความงามที่ชวน
ติดตาม แม้แต่ชา้ งที่ร่วมขบวนก็ถูกประดับตกแต่งด้วยผ้า
คลุมหลากสี มีไฟดวงเล็กกระพริ บบนผ้าคลุม ช้างไม่ตื่นกลัว
ผูค้ นจานวนมากแต่อย่างใด ทั้งนี้เพราะทางวัดพระธาตุเขี้ยว
แก้วตั้งกองทุนอุดหนุนให้ชาวบ้านเลี้ยงช้างและฝึ กช้างเพื่อการนี้โดยเฉพาะและยังมีเงินสนุบสนุน
แต่ละหมู่บา้ นที่เป็ นสมาชิกให้ฝึกฝนการแสดงหรื อเล่นดนตรี ตามที่กาหนดว่าหมู่บา้ นไหนต้องทา
อะไร ชาวบ้านใช้เวลาว่างจากการทานาหรื องานอาชีพมาฝึ กแสดงให้พร้อมเพรี ยงกันตามที่ทางวัด
ต้องการ เมื่อถึงเวลาแสดงอย่างครั้งนี้ ทางวัดพระธาตุเขี้ยวแก้วก็จะระดมทุกหมู่บา้ นที่เข้าร่ วม
โครงการมาเข้าขบวนแห่เปราเฮรา
 วัดอาโลกวิหารสถานที่จารึ กพระไตรปิ ฎก
.....รุ่ งขึ้นวันที่ ๒๘ สิ งหาคม ๒๕๕๐ ซึ่งเป็ นวันพระ ๑๕ ค่า คณะของเราออกเดินทางแต่เช้าไปแวะ
เยีย่ มชมหอประชุมพระพุทธศาสนานานาชาติ (International
Buddhist Conference Hall) อันเป็ นสถานที่จดั ประชุมวิสาขบูชา
นานาชาติของศรี ลงั กาเมื่อปี ที่แล้ว ภายในหอประชุมมีหอ้ งพระเป็ น
ที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปองค์ใหญ่จากประเทศไทย พวกเราจึงไหว้
พระและถือโอกาสทาวัตรสวดมนต์เช้ากันที่นี่
.....ต่อจากนั้นคณะของเราเดินทางไปชมวัดอาโลกวิหาร วัดนี้เป็ น
สถานที่ทาสังคายนาครั้งที่ ๕ เมื่อประมาณพ.ศ. ๔๕๐ สมัยพระ
เจ้าวัฏคามินีอภัยผูข้ ้ ึนครองราชย์ที่เมืองอนุราธบุรีเมื่อ พ.ศ. ๔๓๙
พระองค์ครองราชย์ได้ ๗ เดือนก็ถูกกองทัพทมิฬชิงบัลลังก์ไป พระ
เจ้าวัฏคามินีอภัยหนีจากเมืองไปซ่องสุ มกาลังพลอยู่ ๑๔ ปี จึงตีเมือง
อนุราธบุรีคืนได้แล้วขึ้นครองราชย์เป็ นครั้งที่ ๒ ในพ.ศ. ๔๕๕
.....ในช่วงที่พระเจ้าวัฏคามินีอภัยกาลังเตรี ยมชิงบัลลังก์คืนจากพวกทมิฬอยูน่ ้ นั พระสงฆ์ ๕๐๐ รู ปที่
เข้าร่ วมการสังคายนาในถ้ าของวัดนี้เมื่อราวพ.ศ. ๔๕๐ ผลของการสังคายนาคือการจารึ ก
พระไตรปิ ฎกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเป็ นครั้งแรกลงในใบลาน ก่อนหน้านั้นไม่เคยมีการบันทึก
พระไตรปิ ฎกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแต่อย่างใด คณะสงฆ์รักษาคาสอนของพระพุทธเจ้าด้วยการ
ท่องจาแล้วบอกต่อให้ศิษยานุศิษย์ท่องจาสื บๆกันมา เราเรี ยกวิธีการรักษาสื บทอดคาสอนของ
พระพุทธเจ้าแบบนี้วา่ มุขปาฐะแปลว่าการบอกจากปากต่อปาก
.....คณะสงฆ์ท่องจาพระไตรปิ ฎกแล้วบอกต่อกันจากปากต่อปากตั้งแต่พระพุทธเจ้าปริ นิพพานแล้ว
เรื่ อยมาจนถึงประมาณพ.ศ. ๔๕๐ จึงได้จารึ กลงใบลานเป็ นครั้งแรกในการทาสังคายนาวัดอาโลก
วิหารแห่งนี้ การทาสังคายนาครั้งนี้ถือเป็ นจุดเปลี่ยนที่สาคัญในพระพุทธศาสนา ถ้าหากไม่มีการ
จารึ กพระไตรปิ ฎกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร พระไตรปิ ฎกอาจจะเสื่ อมหายไปเป็ นส่ วนมาก แต่เพราะ
ได้มีการจารึ กพระไตรปิ ฎกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในครั้งนี้จึงเป็ นการรักษาพระพุทธศาสนาไว้เป็ น
อย่างดี เชื่อกันว่า พระพุทธโฆสาจารย์พระอรรถกถาจารย์ผยู ้ งิ่ ใหญ่จากอินเดียก็เคยมาพานักอยูท่ ี่วดั
อาโลกวิหารนี้ตอนรวบรวมต้นฉบับอรรถกถาภาษาสิ งหลเพื่อแปลเป็ นภาษาบาลี
.....ในปัจจุบนั พระสงฆ์ที่วดั อาโลกวิหารยังรักษาประเพณี การจารหนังสื อลงใบลาน ชาวบ้านไปตัด
ใบลานมาต้มจนกระทัง่ มีสีขาว จากนั้นพระสงฆ์กใ็ ช้เหล็กจารปลายแหลมเขียนลงใบลาน เมื่อเขียน
แล้วคนยังมองไม่เห็นตัวหนังสื อ ผูจ้ ารเอาผงหมึกมาลูบลงบนใบลาน ผงหมึกก็ตกลงไปในรอยที่
เขียนด้วยเหล็กจารจนทาให้เห็นตัวหนังสื อสี ดาเด่นขึ้นมา คัมภีร์ใบลานเก็บไว้ได้นาน ๕๐๐ ปี สี ดา
ของผงหมึกจึงจะจางลง วิธีซ่อมคัมภีร์กไ็ ม่ยาก เพียงเรานาผงหมึกมาลูบทับรอยที่เคยจารไว้
ตัวหนังสื อจึงจะเด่นขึ้นมาให้อ่านได้
......จากนั้นคณะของเราได้ไปเยีย่ มชมดัมบุลละซึ่งเป็ นวัดถ้ าที่ใหญ่ที่สุดของศรี ลงั กา วัดนี้อยูบ่ นยอด
เขาสู งพอควร เป็ นถ้ าใหญ่โตมาก มีพระพุทธรู ปที่สลักจากหินสร้างโดยพระเจ้าวัฏคามินีอภัย
กษัตริ ยพ์ ระองค์น้ ีในสมัยที่ทรงลี้ภยั หลบหนีพวกทมิฬอยู่ ๑๔ ปี ได้ซ่อนพระองค์อยูใ่ นถ้ านี้ดว้ ยความ
อนุเคราะห์ของพระกรรมฐานรู ปหนึ่ง หลังจากชิงบัลลังก์คืนกลับมาแล้ว พระเจ้าวัฏคามินีอภัยได้
สร้างวัดถ้ าดัมบุลละถวายพระภิกษุรูปนั้น
.....บริ เวณรอบวัดดัมบุลละมีถ้ าอยูม่ ากกว่า ๘๐ แห่ง ถ้ าที่น่าสนใจมี ๕ ถ้ า ซึ่งเป็ นที่ประดิษฐาน
พระพุทธรู ปที่แกะสลักจากหินและมีภาพวาดที่ผนังถ้ า พระพุทธรู ปมีท้ งั สิ้ น ๑๕๓ องค์ มีหิน
แกะสลักเป็ นกษัตริ ย ์ ๓ องค์ หนึ่งในนั้นคือพระเจ้ากีรติศรี ราชสิ งหะผูท้ ี่นิมนต์พระอุบาลีจาก
ประเทศไทยเมื่อ ๒๕๔ ปี ที่ผา่ นมา เราสังเกตพบว่าพระพุทธรู ปปางไสยาสน์ในถ้ านี้นอนลืมตา
ไม่ได้หลับตา กลีบจีวรพระพุทธรู ปงดงามมาก เขาออกแบบกลีบจีวรให้เหมือนคลื่นพลิ้วในสระน้ า
 รับมอบพระบรมสารี ริกธาตุ
.....ออกจากวัดดัมบุลละ คณะของเราได้เดินทางต่อไปร่ วมพิธีเปิ ดพระเจดียใ์ หม่ที่วดั สรวัสติปุระ
หรื อสาวัตถีบุรี ท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะได้บริ จาค
ปัจจัยร่ วมสร้างเจดียน์ ้ ี ท่านรัฐมนตรี พร้อมนักการเมืองและ
ข้าราชการท้องถิ่นคอยต้อนรับพวกเราพร้อมด้วยขบวนแห่
ต้อนรับเหมือนเดิม ชาวบ้านศรี ลงั กามาร่ วมงานกันคับคัง่ แม้
จะไม่ได้มีมหรสพสมโภช คนมาอยูร่ อฟังพระเถระกล่าว
สัมโมทนียกถาและฟังนักการเมืองปราศรัย คนศรี ลงั กาเป็ น
นักพูดและนักฟังที่ดี พวกเขาอยูก่ นั จนมืดค่าก็ไม่หนีไปไหน พระศรี ลงั กาก็ช่างพูดกันดีเหลือเกิน
สุ ดท้ายเจ้าภาพนิมนต์ให้พระธรรมโกศาจารย์กล่าว
สัมโมทนียกถาเป็ นภาษาอังกฤษ เมื่อกล่าวจบแล้ว พระสงฆ์
ไทยพร้อมกันเจริ ญชัยมงคลคาถาเป็ นที่ประทับใจของท่าน
รัฐมนตรี
.....พอเสร็จพิธี คณะได้เดินทางต่อไปยังวัดถูปารามซึ่งเป็ น
๑ ใน ๘ ของสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ของเมืองอนุราธบุรี รองเจ้า
อาวาสวัดถูปารามกระซิบบอกพระธรรมโกศาจารย์ขณะอยู่
ในพิธีเปิ ดเจดียท์ ี่วดั สาวัตถีบุรีวา่ ทางวัดถูปารามเตรี ยมพระ
บรมสารี ริกธาตุไว้ถวายพระธรรมโกศาจารย์
.....วัดถูปารามเป็ นวัดแห่งแรกของศรี ลงั กาที่พระเจ้าเทวานัมปิ ยติสสะผูค้ รองราชย์ในพ.ศ. ๒๓๖
ทรงสร้างถวายพระมหินทเถระ พระสถูปหรื อเจดียข์ องวัดนี้เก่าแก่ที่สุดในศรี ลงั กา เป็ นที่
ประดิษฐานพระธาตุรากขวัญหรื อไหปลาร้าของพุทธเจ้า พระสถูปสู ง ๖๕ ฟุต มีเสาหินโบราณ
ล้อมรอบ ๔๘ ต้น
.....พอพวกเราเดินทางถึงวัดถูปารามก็ได้เห็นขบวนแห่สถูปจาลองที่บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุจาก
กุฏิเจ้าอาวาสไปยังบริ เวณหน้าพระสถูปที่เก่าแก่ที่สุดของศรี ลงั กาคือมีอายุมากกว่า ๒,๓๐๐ ปี ท่าน
รัฐมนตรี ประคองเครื่ องสักการะนาหน้าขบวนจนถึงพระสถูป จากนั้นท่านเจ้าอาวาสได้ทาพิธีมอบ
ถวายพระบรมสารี ริกธาตุแก่พระธรรมโกศาจารย์ต่อหน้าคณะจากประเทศไทย โดยมีท่านรัฐมนตรี
ดิเนศ คุณวัฒนะเป็ นสักขีพยาน
 บูชาต้นศรี มหาโพธิ์
.....ออกจากวัดถูปาราม คณะของเราได้เดินทางไปนมัสการ
ต้นศรี มหาโพธิ์ซ่ ึงเป็ นสุ ดยอดแห่งสิ่ งศักดิ์สิทธิ์เมืองอนุราธ
บุรี พระนางสังฆมิตตาเถรี ผเู ้ ป็ นพระธิดาของพระเจ้าอโศก
ได้นากิ่งตอนจากต้นศรี มหาโพธิ์ต้นแรกที่พระพุทธเจ้าตรัส
รู ้มาปลูกไว้ที่นี่ในสมัยพระเจ้าเทวานัมปิ ยติสสะผู ้
ครองราชย์ในพ.ศ. ๒๓๖ ปรากฏว่าโพธิ์ตรัสรู ้ตน้ แรกที่
พุทธคยาประเทศอินเดียตายไปแล้ว มีหน่อเกิดขึ้นใหม่มาแทนที่ ปัจจุบนั โพธิ์ ตรัสรู ้ที่พุทธคยาเป็ น
รุ่ นที่ ๔
.....ถ้าใครประสงค์จะไหว้ตน้ ศรี มหาโพธิ์ต้นแรกที่พระพุทธเจ้าตรัสรู ้ เขาต้องมาไหว้ตน้ นี้ที่เมืองอนุ
ราธบุรีเพราะปลูกจากกิ่งตอนของโพธิ์ตรัสรู ้ตน้ แรกจึงเป็ นต้นไม้เก่าแก่ที่สุดสาหรับชาวพุทธ
พระสงฆ์ในคณะได้รับอนุญาตจากเจ้าอาวาสวัดศรี มหาโพธิ์ให้ข้ ึนไปไหว้ถึงชั้นบน ส่ วนพระธรรม
โกศาจาย์ได้ข้ ึนไปไหว้ถึงโคนโพธิ์
.....เมื่อไหว้ตน้ ศรี มหาโพธิ์เสร็จแล้ว คณะของเราไปทาวัตรสวดมนต์เย็น ณ บริ เวณลานพระสถูปที่
ชื่อว่าสุ วรรณมาลีของสานักมหาวิหาร สานักมหาวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าเทวานัมปิ ยติส
สะต่อมาได้เป็ นฐานที่มนั่ ของพระพุทธศาสนาเถรวาท สถูปสุ วรรณมาลีน้ ีมีความสู ง ๓๐๐ ฟุต
.....พระธรรมโกศาจารย์พาคณะสงฆ์ที่ไปจากไทยทาวัตรสวดมนต์เย็นต้อนรับพระบรมสารี ริกธาตุที่
ได้มาจากวัดถูปาราม ณ ลานพระสถูปสุ วรรณมาลี ญาติโยมชาวศรี ลงั กาที่แต่งชุดขาวมาถือศีล
อุโบสถอยูแ่ ถวนั้นได้พากันมาพวกเราสวดมนต์กนั มากขึ้นๆ เมื่อเราสวดมนต์จบแต่ละบทพวกเขาจะ
กล่าวพร้อมกันว่าสาธุ
ตอนที่เราเดินเท้าเปล่าจากต้นศรี มหาโพธิ์ไปยังสถูปสุ วรรณมาลี เราพบคนแต่งชุดขาวถือศีลอุโบสถ
นัง่ เป็ นกลุ่มๆใต้แสงจันทร์ตามริ มทางเดิน เราเห็นภาพนี้ประทับใจมาก คนศรี ลงั กาอยูอ่ ย่างเรี ยบง่าย
ใช้ชีวติ ด้วยระบบเศรษฐกิจพอเพียง แสวงหาความสุ ขสงบที่เกิดจากการปฏิบตั ิธรรม ทุกวันพระ ๑๕
ค่าเป็ นวันหยุดราชการของศรี ลงั กาเพื่อส่ งเสริ มให้คนไปถือศีลอุโบสถตามวัดต่างๆ
 มหาวิหารและอภัยคีรีวิหาร
.....รุ่ งเช้าของวันที่ ๒๙ สิ งหาคม คณะของเราได้ไปที่อภัยคีรี
วิหารซึ่งสร้างโดยพระเจ้าวัฎคามินีอภัยหลังจากพระองค์
กลับมาครองราชย์เป็ นครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. พ.ศ. ๔๕๕ ทั้งนี้
เพื่อเป็ นการตอบแทนน้ าใจของคณะสงฆ์มีพระมหาติสสะ
เป็ นหัวหน้าที่คอยช่วยเหลือพระองค์ขณะกาลังกอบกู้
บ้านเมืองจากพวกทมิฬ เมื่ออภัยคีรีวหิ ารเกิดขึ้นแล้ว คณะสงฆ์ศรี ลงั กาสมัยนั้นได้แตกออกเป็ น ๒
นิกาย คือสานักมหาวิหารกับสานักอภัยคิรีวหิ าร
.....อภัยคีรีวหิ ารมีคาสอนโน้มเอียงในฝ่ ายมหายานและถือว่าเป็ นสานักคู่แข่งของมหาวิหารที่ยดึ หลัก
ของเถรวาทอย่างเคร่ งครัด ควรทราบว่า พระอุปติสสเถระแต่งวิมุตติมรรคที่อภัยคีรีวหิ ารก่อนที่พระ
พุทธโฆสาจารย์จะแต่งวิสุทธิมรรคที่มหาวิหาร
.....ทั้งมหาวิหารและอภัยคีรีวหิ ารในปัจจุบนั เหลือแต่ซากปรักหักพัง สานักทั้งสองเคยเจริ ญรุ่ งเรื อง
อยูน่ บั พันปี แต่กต็ อ้ งถูกทิ้งให้รกร้างว่างเปล่าเมื่อพระเจ้าอัคคโพธิที่ ๓ สละเมืองอนุราธบุรีไปตั้ง
เมืองหลวงใหม่ชื่อว่าโปโลนนาลุวะในพ.ศ. ๑๒๗๒ คณะสงฆ์และประชาชนย้ายตามกษัตริ ยไ์ ปอยูท่ ี่
เมืองหลวงใหม่กนั หมด
ขณะเมืองหลวงที่ ๑ ของศรี ลงั กาคืออนุราธบุรีถูกทิ้งให้เป็ นเมืองร้างนั้น อาณาจักรขอมที่นครวัด
นครธมยังไม่เกิดด้วยซ้ า ในปัจจุบนั อภัยคีรีวหิ ารเหลือแต่พระสถูปองค์ใหญ่สูง ๓๗๐ ฟุต กาลัง
บูรณะอยูใ่ นระหว่างการบูรณปฏิสังขรณ์ พระธรรมโกศาจารย์กาลังซ่อมเจดียว์ ดั ประยุรวงศาวาสจึง
อยากดูวธิ ีซ่อมของศรี ลงั กา ท่านเจ้าอาวาสวัดอภัยคีรีรูปปัจจุบนั ได้พาพระธรรมโกสาจารย์พร้อม
คณะของเราบางคนที่ใจถึงขึ้นลิฟต์คนงานไปดูการซ่อมแซมด้านบนพระสถูป เมื่อมองลงไปก็ห็น
ญาติโยมศรี ลงั กาทั้งคนหนุ่มสาวและแก่เฒ่ามาต่อแถวกันส่ งอุปกรณ์สาหรับบูรณะขึ้นข้างบนพระ
สถูป บางคนช่วยกันแบกหามอยูด่ า้ นล่าง คนเหล่านี้อาสามาช่วยงานเพราะอยากทาบุญ
.....จากนนั้นคณะของเราได้ไปที่วดั เชตวนารามซึ่งมีพระสถูปสู งที่สุดในศรี ลงั กา คือสู งถึง ๔๐๐ ฟุต
ในระหว่างทางเราได้แวะกราบพระพุทธรู ปปางสมาธิอายุ ๑,๖๐๐ ปี เก่าแก่มาก ๆ ทาด้วยศิลาชนิด
แตกลายงาทีเดียว หลังจากนั้นคณะของเราก็ได้ไปฉันภัตตาหารเพลที่วดั มิริสาเวติยะ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ของไทยเคยเสด็จมาที่วดั นี้และทรงบริ จาคพระราชทรัพย์ช่วย
บูรณะพระสถูปแต่ยงั ไม่แล้วเสร็จ จนกระทัง่ พระพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรง
บริ จาคพระราชทรัพย์อีกจานวนหนึ่ง การบูรณะพระสถูปจึงแล้วเสร็ จสวยงาม
.....หลังเพล คณะของเราได้กลับไปที่ตน้ ศรี มหาโพธิ์อีกเพราะพระธรรมโกศาจารย์ห่วงว่าคณะ
คฤหัสถ์ยงั ไม่ได้บูชาต้นศรี มหาโพธิ์อย่างใกล้ชิด พวกเรา
ร่ วมกันปลูกต้นไม้เป็ นที่ระลึกในบริ เวณใกล้ตน้ ศรี มหาโพธิ์
และแล้วด้วยความเมตตาเป็ นพิเศษของท่านเจ้าอาวาสวัดศรี
มหาโพธิ์ คณะคฤหัสถ์ของเราได้ข้ ึนไปบูชาต้นศรี มหาโพธิ์
อย่างใกล้ชิดถึงชั้นบนสมความตั้งใจของทุกคน
.....จากนั้นคณะของเราไปที่วดั อิสรมุนีได้ชมหินสลักเป็ น
รู ปช้างและพิพิธภัณฑ์ของวัด ที่วดั นี้คณะของเราแยกเป็ นสองกลุ่ม คือกลุ่มคฤหัสถ์กบั กลุ่มพระสงฆ์
กลุ่มคฤหัสถ์ยงั อยูช่ มเมืองอนุราธบุรีต่อจนกว่าจะกลับไทยในวันที่ ๑ กันยายน ส่ วนพระสงฆ์
เดินทางกลับกรุ งโคลัมโบเพื่อบินกลับไทยก่อนในวันที่ ๓๐ สิ งหาคม
 กราบพระพุทธรู ปที่อวุคณะ
.....ในระหว่างเดินทางกลับกรุ งโคลัมโบ กลุ่มพระสงฆ์ได้แวะที่วดั อวุคณะเพื่อกราบพระพุทธรู ป
สลักจากหินแกรนิตองค์ใหญ่สูง ๓๘ ฟุต จุดเด่นคือกลีบจีวร
ที่เป็ นระเบียบสวยงามมาก เป็ นแบบคลื่นน้ าในทะเลสาบซึ่ง
อยูใ่ กล้กบั วัดทีเดียว พระพุทธรู ปองค์น้ ีต้ งั อยูก่ ลางแจ้งติด
กับเนินขา สร้างโดยพระเจ้าธาตุเสนผูค้ รองราชย์เมื่อพ.ศ.
๑๐๐๒ ฐานพระพุทธรู ปทาเป็ นลิน้ ชักหินเปิ ดปิ ดได้ เคยพบ
ของโบราณเก็บไว้ในนั้น
.....เมื่อกลุ่มพระสงฆ์เดินทางถึงกรุ งโคลัมโบ ท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะมาถวายน้ าปานะเป็ นการ
เลี้ยงส่ งก่อนกลับไทย คณะสงฆ์เดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ ๓๐ สิ งหาคม ๒๕๕๐ ในขณะที่
คณะคฤหัสถ์ไปเยีย่ มชมสิ คิริยะ มิหินตเล อวุคณะ วัดกัลยาณี ท่านรัฐมนตรี ดิเนศ คุณวัฒนะ ได้เลี้ยง
ส่ งที่สภาชาวพุทธศรี ลงั กา กรุ งโคลัมโบ คณะคฤหัสถ์น้ ีกลับถึงประเทศไทยในวันที่ ๑ กันยายน
.....รวมความว่าพวกเราทุกคนกลับถึงไทยโดยสวัสดิภาพ นาความทรงจาที่งดงาม เกี่ยวกับพุทธ
ศาสนาและประชาชนในศรี ลงั กาติดใจกลับมา การเดินทางเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้พระพุทธศาสนา
ครั้งนี้ประผลสาเร็จในการสานต่อความสัมพันธ์ทางศาสนาระหว่างประเทศศรี ลงั กาและประเทศ
ไทยที่พระอุบาลีได้เริ่ มไว้เมื่อ ๒๕๔ ปี มาแล้ว พวกเรา
เพียงแต่เดินตามรอยของพระธรรมทูตไทยผูย้ งิ่ ใหญ่รูปนี้
ของขวัญล้ าค่าที่คณะของเราได้นากลับมาคือพระบรม
สารี ริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจากวัดถูปา
รามซึ่งเป็ นวัดเก่าแก่ที่สุดในศรี ลงั กา
.....คณะของเราได้ช่วยกันอัญเชิญพระบรมสารี ริกธาตุดว้ ยการประคองส่ งต่อๆ กันมาจนถึงเมืองไทย
ขณะเดินทางกลับประเทศไทยพวกเราได้ปรึ กษากันก่อนลงจากเครื่ องบินว่าเราควรจะประดิษฐาน
พระบรมสารี ริกธาตุไว้ในที่ใดจึงจะเหมาะสม เมื่อปรึ กษากันแล้วพวกเราเห็นว่าเนื่องจากวัดประยุร
วงศาวาสกาลังบูรณะพระเจดียข์ องวัดอายุ ๑๘๐ ปี สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ เป็ นพระเจดียส์ ู งที่สุดใน
ยุครัตนโกสิ นทร์ตอนต้นจึงสมควรที่พวกเราจะอัญเชิญพระบรมสารี ริกธาตุไปประดิษฐานในพระ
บรมธาตุมหาเจดียว์ ดั ประยุรวงศาวาส
 คติธรรมในองค์พระเจดีย์
.....การไปเยือนศรี ลงั กาครั้งนี้ทาให้ได้ความรู ้วา่ รู ปทรงของเจดียห์ รื อสถูปทั้งในศรี ลงั กาและในไทย
มีหลายรู ปแบบ เช่น รู ปทรงระฆัง รู ปทรงกองฟาง รู ปทรง
โอควา่ รู ปทรงดอกบัว รู ปทรงฟองน้ า ตัวอย่างเช่น พระ
สถูปสุ วรรณมาลีของศรี ลงั กามีรูปทรงเหมือนฟองน้ า ส่ วน
พระบรมธาตุมหาเจดียว์ ดั ประยุรวงศาวาสมีรูปทรงเหมือน
ระฆังควา่
.....เมื่อช่างศรี ลงั กาและช่างไทยสมัยโบราณสร้างสถูปหรื อเจดียถ์ วายเป็ นพุทธบูชา พวกเขาได้ฝาก
คติธรรมทางพระพุทธศาสนาไว้กบั องค์สถูปหรื อเจดีย ์ ซึ่งพอตีความได้ดงั นี้
๑. ฐานรากใต้ดินหมายถึงธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
๒. ส่ วนที่เป็ นฐานสถูปหรื อเจดียเ์ หนือพื้นดินขึ้นมามี ๓ ชั้นหมายถึงพระรัตนตรัย
๓. ถัดจากนั้นเป็ นรู ปโดมทรงฟองน้ าหรื อระฆังควา่ เป็ นต้นหมายถึงโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ
๔. ต่อจากนั้นเป็ นบัลลังก์สี่เหลี่ยมหมายถึงอริ ยสัจ ๔
๕. ถัดจากนั้นไปเป็ นปล้องไฉนหมายถึงนวังคสัตถุศาสน์
๖. ต่อจากนั้นเป็ นปลียอดหมายถึงมรรค ๔ ผล ๔
๗. ยอดบนสุ ดเป็ นรู ปทรงกลมหมายถึงพระนิพพาน
.....วัดประยุรวงศาวาสได้ทาพิธีประดิษฐานพระบรมสารี ริกธาตุที่อญั เชิญมาจากศรี ลงั กา ณ วิหาร
พระพุทธนาคเพื่อเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมากราบไหว้บูชาเป็ นเวลา ๑ ปี ก่อนที่นาไปประดิษฐาน
ในพระบรมธาตุมหาเจดียห์ รื อสถานที่อนั ควรต่อไป
.....ขอจบบันทึกการเดินทางเยือนสยามนิกายในศรี ลงั กาด้วยคาอวยพรแบบศรี ลงั กาว่า อายุบวร
แปลว่า ขอให้ทุกท่านมีอายุยงิ่ ยืนนาน

You might also like