Method of Driving Pile

You might also like

You are on page 1of 10

อาคารปั ญญานันทานุสรณ์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ 11 กรกฎาคม 2516

1 มาตรการลดผลกระทบที่จะมีต่ออาคารเนื่องจากการตอกเสาเข็ม อาคาร
ปั ญญานันทานุสรณ์
อ้ างอิง ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 (พ. ศ. 2553) ในราชกิจจานุเบกษา

การติดตังเสาเข็
้ มอาคารปั ญญานันทานุสรณ์ ซึ่งห่างจากโบสถ์ 20 เมตร จาเป็ นต้ องมีมาตรการลด
ผลกระทบโดยที่โบสถ์ ถือเป็ นอาคารประเภทที่ 2/6 "อาคารที่ใช้ ประโยชน์เพื่อกิจกรรมทางศาสนา"
โดยความเร็ วอนุภ าคสูงสุด ต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดมาตรฐานความสั่ นสะเทื อนเพื่ อป้องกัน
ผลกระทบต่ออาคารดังตารางที่ 1

กระบวนการตรวจสอบความสัน่ สะเทือนมีดงั นี ้
1. ก่อนการตอกเสาเข็มต้ นแรกบริ เวณที่ห่างจากโบสถ์ 20m ให้ ติดตังเครื
้ ่ องวัดความสั่นสะเทือน
บนพื ้นโบสถ์ และส่วนบนสุดของผนังโบสถ์
2. ติดตังเครื
้ ่ องมือวัดสาหรับตรวจสอบกาลังของเสาเข็ม เพื่อทา initial drive test โดยเครื่ อง Pile
driving analyzer
3. ติดตังเสาเข็
้ มและตรวจสอบความสัน่ สะเทือนในขณะตอกเสาเข็ม โดยควบคุมระยะยกให้ เกิด
ความสัน่ สะเทือนต่าที่สดุ หากเกินเกณฑ์ให้ ลดระยะยกของลูกตุ้มลง
4. เมื่ อจะหยุดตอกเสาเข็ม ให้ ตรวจสอบกาลังของรับนา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มจากเครื่ อง Pile
driving analyzer, last ten blows, และตรวจสอบความสัน่ สะเทือนที่เกิดขึ ้น
5. ใช้ การทดสอบที่ได้ จากการตอกเสาเข็มต้ นแรก (ระยะยก, last ten blows) เป็ นเกณฑ์อ้างอิงใน
การติดตังเสาเข็
้ มของอาคารทังหมด

1/3
อาคารปั ญญานันทานุสรณ์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ 11 กรกฎาคม 2516

ตารางที่ 1

2/3
อาคารปั ญญานันทานุสรณ์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ 11 กรกฎาคม 2516

2 ภาคผนวก

3/3

You might also like