You are on page 1of 2

The Competitive Advantage of Nations

เป็ นการนาเสนอทฤษฏีใหม่หลังจากทีไ่ ด้ทาการศึกษาและวิจยั ในอุตสาหกรรมต่างๆ ทีโ่ ดดเด่นทั่วโลกประมาณ 10 ประเทศ เกิดเป็ นทฤษฎี


แบบจาลองเพชรจากความได้เปรียบของประเทศ (Diamond Model of National Advantage) กล่าวถึงปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อมในงาน
ปัจจัยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันส่งผลต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและดาเนินงานขององค์กรธุรกิจ
ปัจจัยดังกล่าวประกอบด้วย
1. Factor Endowment, Factor Condition คือ ปัจจัยในการดาเนินงานหรือปัจจัยทางการผลิต สิง่ ทีม ่ ค
ี วามจาเป็ นต้องใส่เข้าไปในกิจกรรม
เพือ่ ให้สามารถแข่งขันกับผูอ ้ นื่ ได้ ในแต่ละประเทศต่างก็มีปจั จัยทางการผลิตทีแ ่ ตกต่างกัน
ต่างก็ตอ ้ งผลิตสินค้าโดยใช้ปจั จัยในประเทศของตัวเองทีม ่ ีอยูใ่ ห้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แบ่งกลุม ่ ได้ดงั นี้
1.1 Human Resources คือ ทรัพยากรมนุษย์ทเี่ กีย่ วข้องทัง้ หมดเช่น จานวนแรงงาน ทักษะ ความชานาญของแรงงาน
ต้นทุนในด้านค่าแรง รวมถึงต้นทุนในด้านการจัดการ ฯลฯ
1.2 Physical Resources คือ ทรัพยากรทางกายภาพความอุดมสมบูรณ์ ทรัพยากรธรรมชาติเช่น คุณภาพของทีด ่ ิน แหล่งน้า เหมืองแร่
ป่ าไม้ ไฟฟ้ า สภาพภูมอ ิ ากาศภูมป ิ ระเทศ ทาเลทีต ่ ง้ ั ของประเทศ
1.3 Knowledge Resources คือ ทรัพยากรด้านความรูเ้ ช่น ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เทคนิคนิค วิทยาการการจัดการ
ด้านการตลาดเกีย่ วกับสินค้าและบริการ แหล่งความรูใ้ นมหาวิทยาลัย หน่ วยงานทางสถิติ คูม่ อื ทางด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์
รายงานและข้อมูลพื้นฐานทางการวิจยั ด้านการตลาด
1.4 Capital Resources คือ แหล่งเงินทุน ต้นทุนของเงินทุนภายในประเทศนัน ้
1.5 Infrastructure คือ โครงสร้างพื้นฐานทีม ่ ใี นประเทศเช่น ระบบขนส่งระบบสือ ่ สาร ระบบสาธารณสุข วัฒนธรรม
คุณภาพชีวต ิ ประชาชน สถานทีท ่ างาน หรือทีอ ่ ยูอ
่ าศัย
2. Demand Condition คือ เงือ ่ นไขด้านความต้องการของตลาด ลักษณะความต้องการสินค้าและบริการของอุตสาหกรรมภายในประเทศ
โดยจะมีความได้เปรียบถ้าความต้องการภายในประเทศมาก จะกดดันให้ผู้ประกอบการมีการเปลีย่ นแปลงมีนวัตกรรมทีร่ วดเร็ว
และมีความเป็ นเลิศในการปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์ ขึ้นอยูก ่ บั ปัจจัยดังต่อไปนี้
2.1 Home Demand Composition ลักษณะของความต้องการของผูซ ้ ื้อในประเทศ
การทีธ่ ุรกิจตอบสนองต่อความต้องการของผูซ ้ ื้ออย่างไรพิจารณาจาก
- Segment Structure of Demand โครงสร้างของสัดส่วนด้านความต้องการในประเทศ
ถ้ามีความต้องการในประเทศสูงต่อสัดส่วนใด ย่อมทาให้มข ี อ
้ ได้เปรียบใน Economy of Scale
- Sophisticated and Demanding Buyers ความต้องการของผู้ซื้อหรือคนภายในประเทศ
ยิง่ ถ้าผูซ้ ื้อมีความต้องการทีม ่ ีมาตรฐานสูงในแง่ของคุณภาพสินค้าหรือบริการ
อุตสาหกรรมในประเทศก็ต้องปรับปรุงคุณภาพของสินค้าและบริการเพือ ่ ให้ตอบสนองความต้องการของคนในประเทศ
- Anticipatory Buyer Needs การคาดการณ์ ล่วงหน้าในความต้องการของผูบ ้ ริโภค
ประเทศทีค ่ าดการณ์ ได้วา่ ลูกค้าต้องการอะไรในอนาคต จะเป็ นความสามารถทีท ่ าให้เกิดข้อได้เปรียบทางการแข่งขันได้
2.2 Demand Size and Pattern of Growth ขนาดความต้องการและรูปแบบของการเติบโต ประกอบไปด้วย
- Size of Home Demand คือ ความต้องการภายในประเทศ ประเทศทีม ่ ค ี วามต้องการภายในประเทศมาก
ก็จะนาไปสูข ่ อ้ ได้เปรียบทางการแข่งขันในอุตสาหกรรม
- Number of Independent Buyers จานวนของผู้บริโภคทีม ่ คี วามเป็ นตัวของตัวเอง
ประเทศใดมีผบ ู้ ริโภคทีม ่ คึ วามเป็ นตัวของตัวเอง ก็จะช่วยส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมหรือมีสน ิ ค้าหลากหลายเกิดขึน ้ ได้งา่ ย
- Rate of Growth of Home Demand อัตราส่วนการเติบโตของความต้องการในประเทศ
ยิง่ มีอตั ราการเติบโตมากก็แสดงว่ามีความได้เปรียบในการแข่งขันสูง
- Early Home Demand การรูค ้ วามต้องการของผูบ ้ ริโภคในประเทศ ยิง่ รูค
้ วามต้องการเร็วเท่าใด
ก็ยงิ่ เป็ นข้อได้เปรียบและช่วยให้อุตสาหกรรมท้องถิน ่ ผลิตสินค้าได้กอ ่ นคูแ ่ ข่ง
- Early Saturation (การอิม ่ ตัวเร็วของสินค้า) ทาให้วงจรชีวต ิ (Life Cycle) ของสินค้านัน ้ ๆ สัน้
ซึง่ ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเกิดความพยายามทีจ่ ะยกระดับสินค้าอยูต ่ ลอดเวลา
เป็ นตัวกดดันให้เกิดการลดราคาของสินค้า เนื่องจากการอิม ่ ตัวของสินค้าเร็วทาให้เกิดการแข่งขันในอุตสาหกรรมมากขึน ้
บังคับให้เกิดการตัดราคาและทาให้บริษท ั ทีไ่ ม่มค ี วามเข้มแข็งพอต้องกระทบกระเทือน
2.3 Internationalization of Domestic Demand ความเป็ นสากลของความต้องการในประเทศ
เป็ นสิง่ ทีช่ ่วยผลักดันให้สน ิ ค้าและบริการของประเทศออกสูต ่ า่ งประเทศได้
- Mobile or Multinational Local Buyer การเดินทางและเคลือ ่ นย้ายของผูซ ้ ื้อ ถ้าคนทีม ่ ค ี วามต้องการสินค้า
หรือบริการมีการเดินทางและเคลือ ่ นย้ายบ่อยก็จะทาให้ความต้องการนัน ้ กระจายออกไป
- Influence on Foreign Needs อิทธิพลทีม ่ ตี อ ่ ความต้องการในต่างประเทศ ประเทศใดสามารถเป็ นผูม ้ อี ท
ิ ธิพลในสินค้าได้
ก็จะมีข้อได้เปรียบทางการแข่งขันทีท ่ าให้สน ิ ค้าของตัวเองกระจายไปสูส ่ ากลได้
2.4 Interplay of Demand Conditions ปัจจัยความต้องการทีเ่ กือ ้ หนุนกัน
การมีความต้องการทีห ่ ลากหลายในความต้องการของตลาดเป็ นตัวเสริมให้เกิดการพัฒนาในอุตสาหกรรม
3. Related and Supporting Industries อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องและสนับสนุน จะได้เปรียบทางการแข่งขัน ดังนี้
3.1 Competitive Advantage in Supplies Industries ความได้เปรียบในอุตสาหกรรมผูผ ้ ลิต
การทีป ่ ระเทศมีอต ุ สาหกรรมทีป ่ ระเภทผลิตวัตถุดบ ิ ป้ อนให้กบ ั อุตสาหกรรมอืน ่ อยู่แล้ว
จะทาให้เป็ นข้อได้เปรียบทางการแข่งขันทีจ่ ะทาให้เกิดอุตสาหกรรมตามน้าอีกมากมาย
3.2 Competitive Advantage in Related Industries ความได้เปรียบในอุตสาหกรรมเกีย่ วข้อง
สามารถช่วยให้องค์กรติดต่อหรือช่วยสนับสนุนในด้านสายโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain)
4. Firm Strategy, Structure and Rivalry กลยุทธ์องค์กรโครงสร้างและการแข่งขัน) กลยุทธ์องค์กร โครงสร้างและการแข่งขัน
เป็ นสิง่ ทีอ ่ งค์กรกาหนดขึ้นมาเช่น เป้ าหมายกลยุทธ์การจัดการในด้านต่างๆ ซึง่ มีผลต่อการเอือ ้ ให้เกิดข้อได้เปรียบทางการแข่งขันของประเทศ
โดย
4.1 Goal (เป้ าหมาย) ได้แก่ เป้ าหมายขององค์กร (Company Goal)
ซึง่ ถูกกาหนดขึน ้ มาโดยโครงสร้างของการเป็ นเจ้าขององค์กรแรงจูงใจของเจ้าของและเจ้าหนี้ การดาเนินงานขององค์กร
รวมทัง้ บทบาทของผูถ ้ ือหุน ้
4.2 Domestic Rivalry การแข่งขันภายในประเทศ
ประเทศทีเ่ ป็ นผู้นาของโลกในอุตสาหกรรมด้านใดก็ตามมักจะพบว่ามีการแข่งขันในประเทศสูง
นอกจากนี้ยงั มีปจั จัยภายนอกทีม ่ บี ทบาทต่อการเกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันของประเทศอีก 2 ประการ คือ
5. Government รัฐบาล ผลกระทบจากนโยบายของรัฐบาล รัฐบาลเป็ นผูซ
้ ื้อรายใหญ่ของสินค้าและบริการ
ผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลด้านการโฆษณาและด้านอืน ่ ๆ
และสภาพการแข่งขันในประเทศของบริษทั ได้รบ
ั ผลกระทบจากนโยบายรัฐบาลด้านภาษี ด้านการป้ องกันและผูกขาด ฯลฯ

6. Chance เหตุสด
ุ วิสยั หรือโอกาส การเปลีย่ นแปลงและความเป็ นไปได้ทีอ
่ าจจะคาดการณ์ ล่วงหน้าไม่ได้
ล้วนมีผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

You might also like