You are on page 1of 4

ชาดก

ช า ด ก (สั น ส ก ฤ ต แ ล ะ บ า ลี : ज ा त क ) คื อ
เ รื่ อ ง ร า ว ห รื อ ชี ว ป ร ะ วั ติ ใ น ช า ติ ก่ อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ ้ า คื อ
ส มั ย ที่ พ ร ะ อ ง ค ์ เ ป็ น พ ร ะ โ พ ธิ สั ต ว ์ บ า เ พ็ ญ บ า ร มี เ พื่ อ ต ร ั ส รู ้ อ ยู่
พ ร ะ อ ง ค ์ ท ร ง น า ม า เ ล่ า ใ ห ้ พ ร ะ ส ง ฆ ์ ฟั ง ใ น โ อ ก า ส ต่ า ง ๆ

เรียกเรืองในอดี ตของพระองค ์นี ว่้ า ชาดก

ชาดกเป็ นเรืองเล่ าคล ้ายนิ ทาน บางครงจึ้ั งเรียกว่า นิ ทานชาดก แต่มค ี วาม
หมายแตกต่ า งจากนิ ทานที่ เล่ า กัน ทั่ วไป คื อ ชาดกเป็ นเรืองที ่ ่ เกิ ด ขึ นจริ
้ ง
่ แต่
แต่นิทานเป็ นเรืองที ่ งขึน้
ช า ด ก ที่ ท ร ง เ ล่ า นั้ น มี นั บ พั น เ รื่ อ ง ห ม า ย ถึ ง
พระองค ์ไดเ้ สวยพระชาติเป็ นพระโพธิสต ั ว ์นับพันชาติ โดยทรงเกิดเป็ นมนุ ษย ์บา้ ง
เ ป็ น สั ต ว ์ บ ้ า ง แ ต่ ที่ รู ้ จั ก กั น โ ด ย ทั่ ว ไ ป คื อ ๑ ๐
่ ยกว่า ทศชาติชาดก และชาติสุดท ้ายทีสุ
ชาติสุดท ้ายทีเรี ่ ดทีทรงเกิ
่ ดเป็ นพระเวสสัน

ดร จึงเรียกเรืองพระเวสสั นดรนี ว่้ า เวสสันดรชาดก
ความหมายของชาดก
คาว่า ชาตก หรือ ชาดก แปลว่า ผูเ้ กิด มีรากคามาจากธาตุ (Root) ว่า ชนฺ
แปลว่า “เกิด” แปลง ชนฺ ธาตุเป็ นชา ลง ต ปัจจัยในกิรยิ ากิตก ์ ต
้ าหนดใหแ้ ปลว่า “แล ้ว” มีรป
ปัจจัยตัวนี ก ู คาเป็ น “ชาต” แปลว่า เกิดแล ้ว
เสร็จแล ้วให ้ลง ก ปัจจัยต่อท ้ายอีกสาเร็จรูปเป็ น “ชาดก”
อ่านออกเสียงตามบาลีสน ั สกฤตว่า “ชา-ตะ-กะ” แปลว่าผูเ้ กิดแล ้ว
่ าคานี มาใช
เมือน ้ ้ในภาษาไทย เราออกเสียงเป็ น ชาดก โดยแปลง ต เป็ น ด และให ้
ก เป็ นตัวสะกดในแม่กก
ในความหมาย คือเล่าถึงการทีพระพุ่ ทธเจ ้าทรงเวียนว่ายตายเกิด
ถือเอากาเนิ ดในชาติตา่ งๆ ได ้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดบ ่ ้าง
ี ้างชัวบ
แต่ก็ได ้พยายามทาความดีตด ิ ต่อกันมากบา้ งน้อยบ ้างตลอดมา
จนเป็ นพระพุทธเจ ้าในชาติสุดท ้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ ง จะถือว่า เรืองชาดก

เป็ นวิวฒ
ั นาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ ้า
้ ยงั เป็ นพระโพธิสต
ตังแต่ ั ว ์อยู่ก็ได ้ ในอรรถกถาแสดงด ้วยว่า
ผูน้ ้ันผูน้ ี กลั
้ บชาติมาเกิดเป็ นใครในสมัยพระพุทธเจ ้า
แต่ในบาลีพระไตรปิ ฎกกล่าวถึงเพียงบางเรือง ่ เพราะฉะนั้น
สาระสาคัญจึงอยู่ทคุ ่ี ณงามความดีและอยู่ทคติ ่ี ธรรมในนิ ทานนั้นๆ
นัยยะหนึ่ งชาดก จึงหมายถึงเรืองราวของพระพุ
่ ทธเจ ้า

เมือคร ้ั เสวยพระชาติ
งที ่ เป็ นพระโพธิสต ั ว ์ พระองค ์เสวยพระชาติตา่ งๆ
เป็ นมนุ ษย ์บ ้าง อมนุ ษย ์บ ้าง เทวดาบ ้าง สัตว ์บ ้าง

เมือพระพุ ทธเจ ้าทรงแสดงธรรมแก่ผูใ้ ดจะทรงยกชาดก
่ นนิ ทานอิงธรรมมาเล่าเป็ นบุคคลาธิษฐาน
ซึงเป็
คือเป็ นวิธก
ี ารสอนแบบยกเอาเรืองราวนิ ่ ่
ทานมาประกอบ เพือให ผ
้ ูฟ
้ ังเข ้าใจง่าย

แทนทีจะสอนธรรมะกั นตรงๆ
ดร.สมิตธิพล เนตรนิ มต ่
ิ ให ้รายละเอียดเกียวกั บชาดกไว ้ว่า
่ ้กันทัวไป
ชาดก มีความหมายทีใช ่ ๒ อย่าง
(๑) หมายถึง เกิด เช่น
“ปร ับอาบัตท ่
ิ ุกกฏภิกษุผูแ้ สวงหามีดและขวานเพือจะตั ดต ้นไมแ้ ละเถาวัลย ์ทีเกิ ่ ดณ
่ ้น” (ตตฺถ ชาตกกฏฐลตาเฉทนตฺ
ทีนั ฺ ถ วาสิผรส) หรือ “ทีขึ่ นอยู
้ ่ี ้น ได ้แก่
่ทนั
่ ดบนหมอ้ ดินทีฝั
ทีเกิ ่ งไว ้นาน” (ตตฺถ ชาตกนฺ ติ จิรนิ หต
ิ าย กุมฺภย ิ า อุปริ ชาตก)
(๒) หมายถึง การบาเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระโพธิสต ั ว ์ก่อนตร ัสรู ้
(ชาต ภูต อตีต ภควโต จริย, ต กียติ กถียติ เอเตนาติ ชาตก)
ชาดกเป็ นพระพุทธพจน์ประเภททีไม่ ่ ใช่พระสูตร
เป็ นคาสอนทีมี ่ อท
ิ ธิพลต่อวิธส
ี อนธรรมในยุคต่อมา เป็ นการสอนอย่างเล่านิ ทาน
เหมาะกับผูฟ ่
้ ังทุกระดับ เป็ นเทคนิ คทีคงประสิ ทธิผลต่อผูฟ ้ ังมาทุกยุคสมัย
เพราะผูส้ อนมีความรู ้หลายด ้าน รู ้วิธน
ี าเสนอ มีวาทศิลป์

เชือมโยงให ้คนฟังมองเห็นภาพลักษณ์ชวนให ้น่ าติดตาม
ประเภทของชาดก
ประเภทของชาดก มี ๒ ประเภทคือ
๑.ชาดกนิ บาต ชาดกในนิ บาต หรือทีเรี ่ ยกว่า นิ บาตชาดก
หมายถึงชาดกทัง้ ๕๔๗ เรืองที ่ มี ่ อยู่ในคัมภีร ์- ขุททกนิ กาย ของพระสุตตันตปิ ฎก
หนึ่ งในตะกร ้า ๓ ใบ(พระไตรปิ ฎก)
นิ บาตชาดกแต่งเป็ นคาถาคือคาฉันท ์ล ้วนๆโดยจะมีการแต่งขยายความเป็ นร ้อยแก ้
ว เป็ นอรรถกถาชาดก เหตุทเรี ่ี ยกว่า นิ บาตชาดก ก็เพราะว่า
้ กจัดหมวดหมู่ตามจานวนคาถา มีทงหมด
ชาดกในพระไตรปิ ฎกนี จะถู ้ั ๒๒ หมวด
หรือ ๒๒ นิ บาต นิ บาตสุดท ้ายคือ นิ บาตที่ ๒๒ ประกอบด ้วยชาดก ๑๐ เรือง ่
่ ยกว่า "ทศชาติชาดก"
หรือทีเรี
พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๗ สุตตันตปิ ฎกที่ ๑๙ ขุททกนิ กายชาดก ภาค ๑
พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๗ เป็ นภาคแรกของชาดก
ได ้กล่าวถึงคาสอนทางพระพุทธศาสนา อันมีลก ั ษณะเป็ นนิ ทานสุภาษิต

แต่ในตัวพระไตรปิ ฎกไม่มเี ล่าเรืองไว ้ มีแต่คาสุภาษิต รวมทังค้ าโต ้ตอบในนิ ทาน

เรืองละเอียดมีเล่าไว ้ในอรรถกถา
คือหนังสือทีแต่่ งขึนอธิ
้ บายพระไตรปิ ฎกอีกต่อหนึ่ ง
อนึ่ ง เป็ นทีทราบกั
่ ้
นว่าชาดกทังหมดมี ่
๕๕๐ เรือง
่ ้ลองนับดูแล ้วปรากฏว่า
แต่เท่าทีได
ในเล่มที่ ๒๗ มี ๕๒๕ เรือง ่ ในเล่มที่ ๒๘ มี ๒๒ เรือง ่ รวมทังสิ้ นจึ ้ งเป็ น ๕๔๗
่ ขาดไป ๓ เรือง
เรือง ่ แต่การขาดไปนั้น
น่ าจะเป็ นด ้วยในบางเรืองมี ่ นิทานซ ้อนนิ ทาน
และไม่ได ้นับเรืองซ่ ้อนแยกออกไปก็เป็ นได ้ อย่างไรก็ตาม จานวนทีนั ่ บได ้
จัดว่าใกล ้เคียงมาก พระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๘ สุตตันตปิ ฎกที่ ๒๐ ขุททกนิ กายชาดก
ภาค ๒ ในพระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๗ เป็ นเล่มทีรวมเรื ่ ่
องชาดกที ่ ก ๆ น้อย ๆ
เล็
รวมกันถึง ๕๒๕ เรือง ่ แต่ในพระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๒๘ นี มี ้ เพียง ๒๒ เรือง ่

เพราะเป็ นเรืองยาว ้ ้น โดย ๑๒ เรืองแรกเป็
ๆ ทังนั ่ ่ มี
นเรืองที ่ คาฉันท ์ ส่วน ๑๐

เรืองหลั ่ เรี
ง คือเรืองที ่ ยกว่า มหานิ บาตชาดก แปลว่า ชาดกทีชุ ่ มนุ มเรืองใหญ่


หรือทีโบราณเรี ยกว่า ทศชาติ
๒. ชาดกนอกนิ บาต หมายถึง ชาดกทีไม่ ่ ปรากฎในคัมภีร ์พระไตรปิ ฎก
เป็ นชาดกทีภิ ่ กษุชาวเชียงใหม่ได ้รวบรวมเรืองราวมาจากนิ
่ ทานพืนบ้ ้านไทยมาแต่
งเป็ นชาดก ขึนเมื ้ อประมาณ
่ พ.ศ.๒๐๐๐-๒๒๐๐ ชาดกนี เรี ้ ยกอีกชือว่่ า
่ และรวมกับเรืองในปั
"ปัญญาสชาดก"แปลว่า ชาดก ๕๐ เรือง ่ จฉิ มภาคอีก ๑๑
่ รวมเป็ น ๖๑ เรือง
เรือง ่

รายชือชาดกเรื ่
องต่างๆ
๑. อปัณณกชาดก
๒. วัณณุ ปถชาดก
๓. เสรีววาณิ ชชาดก
๔. จุลลกเศรษฐีชาดก
๕. ตัณฑุลนาฬช ิ าดก
ทศชาติชาดก
1. เตมิยชาดก
2. ชนกชาดก
3. สุวณ ั ณสามชาดก
4. เนมิราชชาดก
5. มโหสถชาดก
6. ภูรท ิ ต
ั ชาดก
7. จันทชาดก
8. นารทชาดก
9. วิธรู ชาดก
10. มหาเวสสันดรชาดก

You might also like