You are on page 1of 25

นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 1

การประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ประเทศไทย

นพมาศ แซ่ต้ งั 5437646 ENTM/M


วท.ม. (เทคโนโลยีการบริ หารสิ่ งแวดล้อม) คณะสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะกรรมการที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์: ศันสนีย ์ ชูแวว, Ph.D., ราเมศ บุญรัตนะ, Ph.D.,


อุทยั วรรณ ภู่เทศ, Ph.D.

บทสรุปสาหรับผู้บริหาร

ความสาคัญของปัญหา
สื บเนื่องจากแผนนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 11 ปี 2555-2559 ระบุ
ประเด็นความสาคัญในด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว (สานักงานคณะกรรมการ
พัฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ , 2556) ซึ่ งเป็ นธุ ร กิ จ ที่ ส ร้ า งรายได้ใ ห้ แ ก่ ป ระเทศถึ ง
983,928.36 ล้านบาท (กรมการท่องเที่ยว, 2556) โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของ
แต่ละจังหวัดให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเพื่อ
กระตุน้ เศรษฐกิจภายในประเทศ ทาให้หลายปี ที่ผา่ นมาจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้เพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง จากการสารวจในปี 2555 มีนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติเพิ่มขึ้นถึง 22.4 ล้านคน (กรมการ
ท่องเที่ยว, 2556) ประกอบกับในปี 2558 ประเทศไทยเข้าร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่ งของ Asean Economic
Community หรื อ AEC นักท่องเที่ยวจากประเทศในกลุ่ม AEC จะเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศ
ไทยมากขึ้ น เนื่ องจากการเดิ นทางมายังประเทศไทยสะดวกขึ้นอีกทั้งยังได้รับการสนับสนุ นการ
ท่องเที่ยวจากทางภาครัฐ ทาให้มีการกระตุน้ การท่องเที่ยวจากกลุ่มประชากรภายในประเทศมากขึ้น
ส่ งผลทาให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอื่นๆ มากขึ้นตามไปด้วย ในขณะที่พ้ืนที่ท่องเที่ยวมีขีด
ความสามารถในการรองรับจานวนนักท่องเที่ยวเท่าเดิ ม ซึ่ งหากไม่มีการจัดการหรื อวางแผนการ
ท่องเที่ยวที่รัดกุมแล้วอาจก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อวัฒนธรรมท้องถิ่ นและระบบนิ เวศของชุ มชนนั้น
ได้ การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทยจึงริ เริ่ มกาหนดนโยบายการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศในปี 2541 (การ
ท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย, 2544) เพื่อเป็ นแนวทางในการวางแผนการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ ซึ่ งเป็ น
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 2

การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ ยวควบคู่ไปกับการอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม โดยรวมถึ งทรั พยากรทาง


ธรรมชาติ วัฒนธรรม และชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียงกับแหล่งท่องเที่ยว
บึ ง บอระเพ็ดเป็ นแหล่ ง ท่ องเที่ ย วเชิ ง นิ เวศทางธรรมชาติ แห่ ง หนึ่ ง ของประเทศไทยที่ มี
จานวนนักท่องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มาท่องเที่ ยวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ในปี 2555 มี
จานวนนักท่องเที่ยวเดิ นทางมาท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ดจานวน 180,905 คน (องค์การบริ หารส่ วน
จังหวัด, 2556) ทั้งนี้ บึงบอระเพ็ดได้รับการสนับสนุ นและพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวตั้งแต่ระดับ
ท้องถิ่นจนถึงระดับประเทศ เนื่ องจากบึงบอระเพ็ดเป็ นทะเลสาบน้ าจืดขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ
ไทย มีพ้นื ที่ 132,737 ไร่ หรื อ 212.4 ล้านตารางเมตร ตั้งอยูใ่ นตาแหน่งที่เดินทางเข้าถึงได้ง่าย และยัง
ตั้งอยูใ่ นบริ เวณที่เชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคต่างๆ และประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศพม่า ลาว และ
กัมพูชา (กรมการท่องเที่ยว, 2556) ซึ่ งมีความสาคัญทั้งในด้านของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม
เป็ นแหล่ งทรั พยากรทางธรรมชาติ ที่มีความหลากหลายทางชี วภาพ อันประกอบด้วยระบบนิ เวศ
พื้นที่ชุ่มน้ า พรรณไม้น้ า 23 ชนิด ปลาน้ าจืด 77 ชนิด และแหล่งที่อยูอ่ าศัยของนกประจาถิ่น 63 ชนิด
และเป็ นที่พกั ของนกอพยพ 32 ชนิ ด (กระทรวงทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม, 2546; ไกรรัตน์ เอี่ยม
อาไพ, 2549; ศันสนี ย ์ ชู แวว และคณะ, 2557) นอกจากนี้ บึงบอระเพ็ดเป็ นแหล่งทรัพยากรทาง
วัฒนธรรมที่ มีค วามสาคัญ มี เรื่ องราวของความเชื่ อ วิถีชีวิตท้องถิ่ น และเป็ นแหล่ งดารงชี พของ
ประชาชนที่ อาศัย อยู่รอบบึ ง ไม่ ว่า จะเป็ นการหาปลาและการเก็ บ ผลิ ตภัณฑ์ บ วั เพื่ อบริ โภคใน
ครั วเรื อน หรื อการเก็ บผลิ ตภัณฑ์เพื่อการประกอบอาชี พ ด้วยทรั พ ยากรทางธรรมชาติ และทาง
วัฒนธรรมดังกล่าวนี้ทาให้เกิดการท่องเที่ยวล่องเรื อชมทัศนี ยภาพของบึงบอระเพ็ดซึ่ งเป็ นที่นิยมใน
หมู่นกั ท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็ นอย่างมาก จะเห็ นได้ว่าการท่องเที่ยวโดยการ
ล่ องเรื อ ท าให้นัก ท่ องเที่ ย วได้เ ห็ นทัศ นี ย ภาพที่ ส วยงามของบึ ง ท าให้ นัก ท่ องเที่ ย วชื่ น ชอบ ได้
ประสบการณ์ และได้รับความรู ้ จากแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ ดังนั้นการล่องเรื อชมบึงบอระเพ็ดจึง
เป็ นกิจกรรมที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้แก่จงั หวัดนครสวรรค์สูงถึง 671.16 ล้านบาท โดย
แบ่งเป็ นรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทย 654.88 ล้านบาท และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 16.28 ล้าน
บาท (องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดนครสวรรค์, 2556) ในขณะเดียวกันการล่องเรื อท่องเที่ยวสามารถ
ส่ งผลกระทบต่อระบบนิ เวศของบึงบอระเพ็ด เช่ น การส่ งผลต่อความหลากหลายทางชี วภาพ การ
รบกวนการดารงชี วิตของนกน้ าและสัตว์น้ า การสร้างความเสี ยหายต่อที่อยูอ่ าศัยของนกน้ า สัตว์น้ า
และพรรณไม้น้ า เป็ นต้น
จะเห็ นได้ว่า การล่ องเรื อชมทัศนี ย ภาพในบึ งบอระเพ็ดจาเป็ นต้องมี ก ารจัดการและการ
วางแผนที่รัดกุมเพื่อรองรับ กับจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี และเพื่อลดผลกระทบต่อ
ระบบนิเวศให้นอ้ ยที่สุด อีกทั้งเป็ นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยูใ่ นบึงบอระเพ็ดอย่างคุม้ ค่า
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 3

ดังนั้นการวิจยั เรื่ องการประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิ เวศในบึงบอระเพ็ดจะเป็ นแนวทางใน


การจัดการและวางแผนการล่องเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ ทั้งนี้ การได้มาซึ่ งเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวที่
เหมาะสมนั้น อยู่ ภ ายใต้ห ลัก การของการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศเพื่ อ ให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ ไ ด้รั บ
ผลประโยชน์ จ ากการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศมากที่ สุ ด รวมถึ ง ท าการประเมิ น ความพึ ง พอใจของ
นักท่องเที่ยวที่มีต่อเส้นทางเดินเรื อนี้

วัตถุประสงค์ การวิจัย
เพื่อระบุและประเมิ นเส้นทางเดิ นเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศที่เหมาะสมในบึงบอระเพ็ด
โดยใช้เกณฑ์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ า

ขอบเขตการวิจัย
บึงบอระเพ็ดมีพ้ืนที่ติดต่อ 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมือง ชุ มแสง และท่าตะโก เส้นทาง
เดิ นเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศในบึงบอระเพ็ด 3 เส้นทางจะถู กระบุและประเมินโดยใช้ เกณฑ์การ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางน้ าเพื่อให้ได้เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่เหมาะสม

วิธีการศึกษาวิจัย
การวิจยั เรื่ องการประเมิ นเส้ นทางเดิ นเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศที่ บึงบอระเพ็ด จังหวัด
นครสวรรค์ ใช้วธิ ี การดังนี้
1) สัมภาษณ์เชิงลึกและประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศกับกลุ่มเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ในพื้นที่ ประชาชนในพื้นที่ ผูใ้ ห้บริ การเรื อท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด และนักวิชาการ เพื่อ
สรุ ปเส้นทางท่องเที่ยวที่ให้บริ การในปั จจุบนั 2 เส้นทาง และเส้นทางใหม่ 1 เส้นทาง
2) สารวจเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวทั้ง 3 เส้นทาง และถ่ายภาพทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยว
ในแต่ละเส้นทาง
3) นาภาพถ่ายที่ได้ในแต่ละเส้นทางให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญประเมินเพื่อคัดเลือกภาพที่มีคุณภาพและ
น่าสนใจมากที่สุด เพื่อประกอบการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
4) สัมภาษณ์และประเมินความพึงพอใจเส้นทางเดินเรื อ โดยใช้ภาพถ่าย กับกลุ่มนักท่องเที่ยว
ชาวไทย และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด
5) ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดระหว่างเดือนสิ งหาคม พ.ศ. 2557 ถึงเมษายน พ.ศ. 2558
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 4

วิธีการวิเคราะห์ ผล
วิเคราะห์ ค่า สถิ ติโดยใช้โปรแกรมส าเร็ จรู ป SPSS สถิ ติที่ใ ช้ในการนาเสนอผล
การศึ ก ษาได้แ ก่ ค่ า ร้ อ ยละ (percentage) ค่ า เฉลี่ ย (mean) และค่ า เบี่ ย งเบนมาตรฐาน (standard
deviation) วิเคราะห์หาค่าสหสัมพันธ์ของตัวแปร (Pearson Correlation Analysis) และวิเคราะห์การ
เปรี ยบเทียบระหว่างตัวแปร (Tukey’s HSD Multiple Comparison)

ผลการศึกษา
1. ผลการสารวจข้ อมูลทัว่ ไป การท่องเทีย่ วบึงบอระเพ็ด
แหล่งท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ดเปิ ดให้บริ การนักท่องเที่ยว 3 บริ เวณ คือ ฝั่งศูนย์บริ การ
นัก ท่ องเที่ ย วบึ ง บอระเพ็ด (อบจ.) ศู นย์พ ฒ
ั นาประมงน้ า จื ดบึ ง บอระเพ็ด และอุ ท ยานนกน้ า บึ ง
บอระเพ็ด โดยแต่ละที่มีแหล่งท่องเที่ยวบนบกที่แตกต่างกันและมีบริ การล่องเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ
ภายในบึงบอระเพ็ด การล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิ เวศเป็ นกิจกรรมทางน้ าชนิ ดหนึ่ งที่บึงบอระเพ็ด โดย
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติสามารถเรี ยนรู ้ และได้รับประสบการณ์ จากกิ จกรรมการ
ล่องเรื อภายในบึงบอระเพ็ด

2. การจัดการและการพัฒนาการล่องเรื อท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ


จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในด้านการจัดการและการพัฒนาการ
ล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สรุ ปประเด็นได้ ดังนี้
2.1 การวางแผนและการพัฒนาการล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ในการวางแผนและพัฒ นาการล่ อ งเรื อท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศจ าเป็ นต้ อ งค านึ ง ถึ ง
องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้
2.1.1 เส้นทางเดิ นเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ ประกอบด้วย แหล่งท่องเที่ยว
ในเส้นทางเดินเรื อ พื้นที่ เปราะบาง (เช่ น แหล่ งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า) และความปลอดภัยในการ
ล่องเรื อ
2.1.2 การบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวก ประกอบด้วย คุณภาพและ
ความปลอดภัยของท่าเรื อ เรื อ (ประกอบด้วยเสี ยงของเครื่ องยนต์ เสื้ อชู ชีพ อุปกรณ์ ช่วยชี วิต และ
อุปกรณ์ปฐมพยาบาล) การให้บริ การด้านข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว (เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ เว็บไซต์
รู ปภาพประกอบ เป็ นต้น) กิจกรรมขณะล่องเรื อ การเตรี ยมอุปกรณ์เก็บขยะบนเรื อ
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 5

2.1.3 การพัฒ นาบุ ค คลากร ประกอบด้ว ย ผู ใ้ ห้ บ ริ ก ารเรื อ ท่ อ งเที่ ย ว


จาเป็ นต้องมีความสามารถและทักษะในการขับเรื อ มีประสบการณ์ และความคุ น้ เคยในเส้นทาง
เดินเรื อ ขณะขับเรื อควบคุมระดับเสี ยงของเครื่ องยนต์เพื่อ ลดการรบกวนสัตว์ป่า มีความสุ ภาพขณะ
ให้บริ การนักท่องเที่ยว ไม่ดื่มสุ ราและสู บบุหรี่ ขณะขับเรื อ ได้รับการฝึ กอบรมและมีความรู ้ ในการ
ให้บริ การล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สามารถสื่ อความหมาย สามารถกูภ้ ยั ช่วยชี วิตกรณี ฉุกเฉิ น หมัน่
ตรวจสภาพเรื อเพื่อมัน่ ใจว่าควันจากเครื่ องยนต์และน้ ามันไม่รั่วซึ ม สามารถสร้างความตระหนัก
และปลู กจิ ตสานึ กด้านสิ่ งแวดล้อม สามารถสื่ อสารภาษาอังกฤษ มีทกั ษะในการแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้า การตั้งราคามาตรฐานสาหรับค่าบริ การล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทั้งนี้ ในการพัฒนาบุคคลากร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถช่วยพัฒนาโดยการฝึ กอบรมแก่ผใู ้ ห้บริ การเรื อท่องเที่ยว
2.1.4 นักท่องเที่ยว ควรมีพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น ไม่ทิ้งขยะลงแหล่ง
น้ าและไม่ส่งเสี ยงดังรบกวนนกน้ า
2.1.5 การมีส่วนร่ วมของชุ มชน โดยประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่ วมในกิ จ
กรรรมการล่ องเรื อท่ องเที่ ย วเชิ ง นิ เวศ เช่ น การให้ข้อมู ล ด้า นการท่ องเที่ ย ว หรื อเป็ นมัคคุ เทศน์
ท้องถิ่น
2.1.6 การสนับสนุ นโดยหน่ วยงานในพื้นที่และนักวิชาการ โดยการให้
ข้อมูลที่เป็ นปั จจุบนั แก่ผใู ้ ห้บริ การเรื อท่องเที่ยว ให้ความรู ้และฝึ กอบรมแก่ผใู ้ ห้บริ การเรื อท่องเที่ยว
2.1.7 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลาย
ทางชีวภาพจากทุกภาคส่ วน

2.2 การมีส่วนร่ วมของประชาชนในพืน้ ที่


2.2.1 กิจกรรมสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศทางเรื อโดยประชาชนใน
พื้นที่
กิ จกรรมที่ประชาชนในพื้นที่ สามารถมี ส่วนร่ วมและสร้ างรายได้เสริ ม
ได้แก่ การให้บริ การรถรับส่ ง การเป็ นมัคคุเทศน์ทอ้ งถิ่ น การเชิ ญชวนนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมชุ มชน
และร่ วมทากิจกรรมท้องถิ่น เช่น การออกหาปลาในบึงบอระเพ็ด การย่างปลาในเตาโบราณ รวมถึง
การให้บริ การโฮมสเตย์โดยชุ มชนท้องถิ่ น การรวมกลุ่มเพื่อผลิตสิ นค้าจากชุ มชน ขายของที่ระลึก
เช่ น ปลาหมัก ปลาย่าง ปลางตากแห้ง ปลาร้ า สิ นค้า OTOP และผลิตภัณฑ์จากบัวหลวง และขาย
อาหารและเครื่ องดื่ ม โดยกิจกรรมการผลิตและขายสิ นค้าเป็ นกิ จกรรมสนับสนุ นการท่องเที่ยวเชิ ง
นิเวศทางเรื อที่กลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักแนะนามากที่สุด
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 6

2.2.2 หมู่บา้ นที่มีศกั ยภาพในการมีส่วนร่ วมด้านการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ


ทางเรื อ
จากการศึ ก ษาพบว่ า หมู่ บ ้า นที่ มี ศ ัก ยภาพในการมี ส่ ว นร่ ว มกับ การ
ท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศทางเรื อ ได้แก่ บ้านแหลมทอง ตาบลท่าตะโก และ บ้านท่าดินแดง ตาบลเกรี ยง
ไกร มีศกั ยภาพในการให้บริ การการท่องเที่ยว เนื่ องจาก 2 หมู่บา้ นนี้ มีที่ต้ งั ติดต่อกับบึงบอระเพ็ด
และมีท่าเรื อที่สามารถเข้าถึงบึงบอระเพ็ด บ้านคลองขุด ตาบลพนมเศษ และ บ้านรางบัว ตาบลวัง
มหากร มี ศกั ยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศ ชุ มชนบ้านคลองขุดมีความสนใจในการ
ให้บริ การโฮมสเตย์ สาธิ ตการทากิจกรรมท้องถิ่นซึ่ งนักท่องเที่ยวสามารถร่ วมทาได้ เช่น การหมัก
อาหาร การทาขนมและของหวาน การเก็บพืชน้ าในบึงบอระเพ็ด และดู นก บ้านรางบัว ชุ มชนมี
ความสนใจในการให้บริ การล่ องเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศโดยเรื อท้องถิ่ น ให้บริ การมัคคุ เทศน์ นา
นักท่องเที่ยวไปดูนก ให้บริ การโฮมสเตย์
ชุ มชนเหล่านี้ มีศกั ยภาพสู งและควรได้โอกาสในการมีส่วนร่ วมในการวางแผน ร่ วม
ตัดสิ นใจ ติดตามผลและประเมินผลการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ และได้รับประโยชน์จากการพัฒนาการ
ล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

2.3 การระบุและประเมินเส้ นทางเดินเรื อท่ องเทีย่ วเชิ งนิเวศทีใ่ ช้ ในปัจจุบันและเส้ นทาง


ใหม่ ทศี่ ักยภาพในการพัฒนาเป็ นเส้ นทางท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ
จากการสัมภาษณ์เชิ งลึกและประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศสามารถสรุ ป
ได้ 3 เส้นทาง ดังนี้
เส้นทางที่ 1 เป็ นเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ า (ภาพที่ 1) ให้บริ การนักท่องเที่ยวในปั จจุบนั
เส้นทางที่ 2 เป็ นเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. (ภาพที่ 2)
เส้นทางที่ 3 เป็ นเส้นทางใหม่ฝั่งบ้านรางบัว ต.วังมหากร อ.ท่าตะโก (ภาพที่ 3)
ทั้ง 3 เส้ น ทาง ถู ก ประเมิ น โดยเกณฑ์ ก ารท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศทางน้ า 5 เกณฑ์
ประกอบด้วยเกณฑ์ดา้ นแหล่งท่องเที่ยว การบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวก การให้ความรู ้ ดา้ น
สิ่ งแวดล้อม การมีส่วนร่ วมของชุมชน และการอนุรักษ์

ผลการประเมินเส้นทางที่ 1 ฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. พบว่าการบริ การและสิ่ ง


อานวยความสะดวก และการมีส่วนร่ วมของชุ มชนมีความเหมาะสมต่อการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศทาง
เรื อ ค่ อ นข้า งมาก ในขณะที่ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว การให้ ค วามรู ้ ด้า นสิ่ ง แวดล้อ ม และการอนุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติมีความเหมาะสมปานกลาง
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 7

ภาพที่ 1 แผนที่เส้นทางเดินเรื อที่ 1 ฝั่งอุทยานนกน้ า

ผลการประเมินเส้นทางที่ 2 ฝั่งอุทยานนกน้ าพบว่า แหล่งท่องเที่ยว การบริ การและสิ่ ง


อานวยความสะดวก การให้ความรู ้ ดา้ นสิ่ งแวดล้อม และการอนุ รักษ์ทรั พยากรธรรมชาติ มีความ
เหมาะสมต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางเรื อค่อนข้างมาก มีเพียงเกณฑ์ดา้ นการมีส่วนร่ วมของชุ มชน
มีความเหมาะสมปานกลาง

ภาพที่ 2 แผนที่เส้นทางเดินเรื อที่ 2 ฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ.


นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 8

สาหรั บเส้ นทางเดิ นเรื อท่องเที่ ย วใหม่ ที่มีศ กั ยภาพได้จากการสัมภาษณ์ เชิ งลึ ก จาก
ประชาชนในพื้นที่บึงบอระเพ็ดซึ่ งได้แนะนาเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยว 11 เส้นทาง ผูว้ ิจยั สรุ ปและ
คัดเลือกเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่เหมาะสมที่สุดเหลือเพียง 1 เส้นทาง โดยใช้เกณฑ์ความ
ลึ ก ของน้ า ความปลอดภัย ในการล่ องเรื อ ระยะเวลาที่ เหมาะสมในการล่ องเรื อท่ องเที่ ยว แหล่ ง
ท่ องเที่ ย ว ความรู ้ และประสบการณ์ ที่ นัก ท่ องเที่ ย วจะได้รับ ฤดู ก าลที่ ดีที่ สุ ด ในการล่ องเรื อใน
เส้นทางใหม่ จานวนและความพร้อมของเรื อ ท่าเรื อ และคนขับเรื อ การเข้าถึง ความต้องการมีส่วน
ร่ วมของชุมชน และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 3 เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวใหม่ ฝั่งบ้านรางบัว ต.วังมหากร อ.ท่าตะโก

3. การประเมินภาพถ่ ายเส้ นทางเดินเรื อโดยผู้เชี่ ยวชาญ


จากผลการประเมินภาพถ่ายแหล่งท่องเที่ยวของเส้นทางเดินเรื อ (ตารางที่ 1-3) พบว่า
เส้นทางที่ 3 ฝั่งบ้านรางบัวได้รับคะแนนสู งสุ ด (121 คะแนน) ตามด้วยเส้นทางที่ 1 ฝั่งอุทยานนกน้ า
(117 คะแนน) และเส้นทางที่ 2 ฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. (107.5 คะแนน)
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 9

ตารางที่ 1 แหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางที่ 1 ฝั่งอุทยานนกน้ า

ภาพถ่ ายแหล่ งท่ องเทีย่ วในเส้ นทางเดินเรื อฝั่งอุทยานนกน้า

ภาพที่ 1.1 – ทัศนียภาพพระอาทิตย์ข้ ึน ภาพที่ 1.2 – ทัศนียภาพทะเลสาบ

ภาพที่ 1.3 – บัวสาย ภาพที่ 1.4 – เส้นทางน้ า

ภาพที่ 1.5 – ถิ่นที่อยูอ่ าศัยนกน้ า ภาพที่ 1.6 –พืชน้ า (สาหร่ ายข้าวเหนียว)

ภาพที่ 1.7 – วิถีชีวติ ท้องถิ่น (การประมงท้องถิ่น) ภาพที่ 1.8 – นกอพยพ (เป็ ดแดง)
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 10

ตารางที่ 2 แหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางที่ 2 ฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ.

ภาพถ่ ายแหล่งท่องเทีย่ วในเส้ นทางเดินเรื อฝั่ งศู นย์ บริการนักท่ องเทีย่ ว อบจ.

ภาพที่ 2.1 – แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์


ภาพที่ 2.2 – นกอพยพ (เหยีย่ วออสเปรย์)
(แพในสมัยรัชกาลที่ 7 เสด็จมาเยือนและประทับ)

ภาพที่ 2.3 - ทัศนียภาพทะเลสาบ ภาพที่ 2.4 – นกประจาถิ่น (นกกาน้ าเล็ก)

ภาพที่ 2.5 – ระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ า ภาพที่ 2.6 – พืชน้ า

ภาพที่ 2.7 – ทัศนียภาพเกาะ ภาพที่ 2.8 – เส้นทางน้ า


นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 11

ตารางที่ 3 แหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางที่ 3 ฝั่งบ้านรางบัว ต.วังมหากร อ.ท่าตะโก

ภาพถ่ ายแหล่งท่องเทีย่ วในเส้ นทางเดินเรื อใหม่ จากบ้ านรางบัว

ภาพที่ 3.2 – ทัศนียภาพความหลากหลายทางชีวภาพ


ภาพที่ 3.1 – เส้นทางน้ า
ในบึงบอระเพ็ด

ภาพที่ 3.3 – ฝูงนกอพยพ (เป็ ดแดง) ภาพที่ 3.4 – นกประจาถิ่น (นกกระยาง)

ภาพที่ 3.5 – ทุ่งบัวสาย ภาพที่ 3.6 – ดอกบัวหลวง

ภาพที่ 3.8 – วิถีชีวติ ภายในบึงบอระเพ็ด


ภาพที่ 3.7 – พืชน้ า (ผักบุง้ )
(การเก็บบัวสาย)
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 12

4. การประเมินความพึงพอใจต่ อเส้ นทางเดินเรื อท่ องเทีย่ วเชิงนิเวศโดยใช้ เกณฑ์ การ


ท่องเทีย่ วเชิงนิเวศทางนา้
เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศทั้ง 3 เส้นทาง ได้ประเมินโดยนักท่องเที่ยวชาวไทย
128 ราย และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 40 ราย รวมทั้งสิ้ น 168 ราย ใช้เกณฑ์การท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ
ทางน้ า ประกอบด้วย 4 เกณฑ์ โดยมี 14 ตัวชี้วดั ผลการประเมินสรุ ปได้ดงั นี้

4.1 เกณฑ์ ด้านแหล่งท่องเทีย่ ว ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วดั คือ


4.1.1 ความสวยงามของทัศนียภาพและแหล่งท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ “เห็ นด้วยอย่างยิ่ง” ต่อความ
สวยงามของทัศนียภาพและแหล่งท่องเที่ยวของเส้นทางเดินเรื อใหม่ (89%-90%) เส้นทางฝั่งอุทยาน
นกน้ า (<90%) และเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. (62%-82%) ตามลาดับ จากเกณฑ์ดา้ น
ความสวยงามของทัศนี ยภาพและแหล่ งท่ องเที่ ยวทั้ง 3 เส้นทางตอบสนองความพึงพอใจของ
นักท่องเที่ยวได้ ซึ่ งสอดคล้องกับรายงานสถิติของกรมการท่องเที่ยว (2556) เหตุผลที่นกั ท่องเที่ยว
เยี่ยมชมแหล่ งท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ เนื่ องจากความสวยงามของแหล่ งท่องเที่ ยว ทั้งนี้ เส้นทาง
เดินเรื อใหม่ฝั่งบ้านรางบัวมีศกั ยภาพในการพัฒนาการล่องเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ ในขณะเดียวกัน
ความสวยงามของทัศนียภาพและแหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางเดินเรื อฝั่งอุทยานนกน้ าและศูนย์บริ การ
นักท่องเที่ยว อบจ. ตอบสนองความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวเช่ นกัน ดังนั้นผูม้ ีส่วนร่ วมด้านการ
ท่องเที่ยวจาเป็ นต้องร่ วมกันรักษาสภาพแหล่งท่องเที่ยวให้คงอยูแ่ ละสวยงาม
4.1.2 ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น พืชพันธุ์และสัตว์ป่า
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติส่วนใหญ่ “เห็นด้วยมากที่สุดและ
เห็นด้วย” ต่อความหลากหลายทางชีวภาพในเส้นทางเดินเรื อใหม่ (85% - 89%) ตามด้วยเส้นทางฝั่ง
อุทยานนกน้ า (86% - 87.5%) และเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. (65% - 81%) ดังนั้นผูม้ ี
ส่ วนร่ วมด้ า นการท่ อ งเที่ ย วรวมถึ ง ประชาชนในพื้ น ที่ บึ ง บอระเพ็ ด ควรร่ วมกั น อนุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติในบึงบอระเพ็ด เช่ น การไม่รบกวนแหล่งทารังวางไข่นกน้ า การจับปลาในฤดู
วางไข่ หรื อการขุดลอกในพื้นที่เปราะบาง เป็ นต้น (ศันสนีย ์ ชูแวว และคณะ, 2557)
4.1.3 วัฒนธรรมและวิถีชีวติ เช่น การประมงท้องถิ่นและการเก็บพืชน้ า
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติส่วนใหญ่ (>80%) “เห็ นด้วยอย่าง
ยิ่งและเห็ นด้วย” ต่อเส้ นทางเดิ นเรื อใหม่ในการนาเสนอวิถีชีวิตภายในบึงบอระเพ็ด เส้ นทางฝั่ ง
อุทยานนกน้ า (<80%) และเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. (<60%) ตามลาดับ นอกจากนี้
จากผลการศึ กษาพบว่านักท่องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าสามารถมี
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 13

โอกาสพบเห็ นและเรี ย นรู ้ วิถี ชี วิตท้องถิ่ น จากการล่ องเรื อท่ องเที่ ย วในบึ งบอระเพ็ด ดัง นั้นการ
โฆษณาประชาสั ม พัน ธ์ ก ารล่ อ งเรื อ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศในบึ ง บอระเพ็ดอาจเพิ่ ม เติ ม ข้อ มู ล ด้า น
วัฒนธรรมและวิถี ชีวิตท้องถิ่ นเพื่ อเป็ นการดึ ง ดู ดนักท่ องเที่ ย ว และตอบสนองนโยบายด้านการ
ท่องเที่ยว
4.1.4 ความหลากหลายของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
นักท่องเที่ ยวชาวไทยส่ วนใหญ่ (>90%) และนักท่องเที่ ยวชาวต่างชาติ
(ประมาณ 90%) ส่ วนใหญ่ “เห็นด้วยอย่างยิ่งและเห็นด้วย” ว่าสามารถทากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิ ง
นิเวศได้หลากหลายหากล่องเรื อท่องเที่ยวในเส้นทางใหม่ ตามด้วยเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ า (<90%)
และเส้ นทางฝั่ งศู นย์บริ การนัก ท่องเที่ ย ว อบจ. (71%-75%) ตามล าดับ ซึ่ งความหลากหลายของ
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็ นจุดแข็งในการประชาสัมพันธ์บึงบอระเพ็ด
4.1.5 ความสะอาดของเส้นทางน้ า
นัก ท่ องเที่ ย วชาวไทย (>80%) และนัก ท่ องเที่ ย วชาวต่ า งชาติ (>80%)
ส่ วนใหญ่ “เห็ นด้วยอย่างยิ่งและเห็ นด้วย” ต่อความสะอาดของเส้นทางน้ าในเส้นทางเดิ นเรื อใหม่
เส้ นทางฝั่ งศู นย์บริ ก ารนักท่องเที่ ยว และเส้ นทางฝั่ งอุ ท ยานนกน้ า ตามลาดับ ทั้งนี้ นักท่ องเที่ ย ว
ชาวต่างชาติบางราย (18%) ระบุวา่ เส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ าหญ้ารก และผูใ้ ห้บริ การเรื อท่องเที่ยวได้
ระบุว่าในช่ วงฤดู แล้งบางพื้นที่ ในบึงบอระเพ็ดไม่มีน้ าเป็ นเวลาหลายเดื อนต่อเนื่ องจึงทาให้หญ้า
แพร่ กระจายบริ เวณกว้าง จากการศึกษาของสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งชาติ (2533)
พบว่าความสะอาดของแหล่งน้ ามีผลต่อการตัดสิ นใจล่องเรื อท่องเที่ยว ทั้งนี้ รายงานการวิจยั ของ
ศันสนีย ์ ชูแววและคณะ (2557) แนะนาการรักษาระดับน้ าในบึงบอระเพ็ดเพื่อรักษาระบบนิ เวศ
4.1.6 เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวมีการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
นัก ท่ องเที่ ย วชาวต่ า งชาติ ส่ วนใหญ่ “ไม่ เห็ นด้วยอย่า งยิ่ง ” ว่า พบการ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ เส้นทางเดิ นเรื อท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ด โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วน
ใหญ่มาท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด (70%) จากคาแนะนาของเพื่อนและญาติ ในขณะที่นกั ท่องเที่ยวชาว
ไทย (>65%) พบเห็ นโฆษณาและประชาสั ม พัน ธ์ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อท่ องเที่ ย วที่ บึ ง บอระเพ็ด ซึ่ ง
นักท่องเที่ยวชาวไทย (42%) เป็ นชาวจังหวัดนครสวรรค์รู้จกั บึงบอระเพ็ดอยูแ่ ล้ว และประมาณ 40%
ของนักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางมาจากจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ อุทยั ธานี ชัยนาท สิ งห์บุรี พิษณุ โลก
และกาแพงเพชร ดังนั้นเพื่อตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยวของอบจ.นครสวรรค์
และการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทยในการดึงดู ดจานวนนักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวและล่องเรื อที่บึง
บอระเพ็ดมากขึ้น ผูม้ ีส่วนร่ วมด้านการท่องเที่ ยวอาจพิจารณาการเพิ่มการประชาสัมพันธ์หรื อจัด
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 14

กิ จกรรมที่ บึงบอระเพ็ดเพื่อเกิ ดการกระตุ น้ การรับรู ้ ของประชาชนและนักท่องเที่ ยว (อุทยั วรรณ


ลิมปชยาพร, 2551)
4.1.7 ความคุม้ ค่าที่จะจ่ายเพื่อล่องเรื อท่องเที่ยว (500 บาทต่อลา โดยสาร
ได้ 10 คน)
นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (>85%) “เห็นด้วยอย่าง
ยิ่งและเห็ นด้วย” ต่อความคุ ม้ ค่าในการล่องเรื อท่องเที่ยวในเส้นทางเดินเรื อใหม่ในราคา 500 บาท
สาหรับระยะเวลา 1-1.5 ชัว่ โมง ตามด้วยเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ า (ประมาณ 85%) และเส้นทางฝั่ง
ศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว (<80%) นอกจากนี้ นกั ท่องเที่ยวชาวไทยบางราย (ประมาณ 5%) ระบุว่า
เส้ น ทางเดิ น เรื อ ฝั่ ง ศู น ย์บ ริ ก ารนัก ท่ อ งเที่ ย ว (อบจ.) ไม่ น่ า สนใจเนื่ อ งจากไม่ มี ทุ่ ง บัว สายเมื่ อ
เปรี ยบเทียบกับเส้นทางเดินเรื อฝั่งอุทยานนกน้ าและเส้นทางเดินเรื อใหม่
จากผลการประเมินเกณฑ์ด้านแหล่ งท่องเที่ยว ทั้งสามเส้นทางเดิ นเรื อท่องเที่ยวเชิ ง
นิ เวศในบึ งบอระเพ็ดมี ความคุ ม้ ค่าต่อเงิ นที่นักท่องเที่ยวจะจ่ายเพื่อล่ องเรื อท่องเที่ ยวเนื่ องจากบึ ง
บอระเพ็ดมีทศั นี ยภาพที่สวยงาม มีความหลากหลายทางชี วภาพ มีวฒั นธรรมและวิถีชีวิตท้องถิ่ น
แหล่ งน้ าสะอาด และมีกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศที่ หลากหลาย แต่เมื่อเปรี ยบเที ยบในแต่ละ
เส้ นทาง พบว่า เส้ นทางเดิ นเรื อใหม่ ไ ด้ค ะแนนสู ง สุ ด ตามด้วยเส้ นทางเดิ นเรื อฝั่ ง อุ ท ยานนกน้ า
ในขณะที่ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อ ที่ ใ ช้ ใ นปั จ จุ บ ัน ฝั่ ง ศู น ย์บ ริ ก ารนัก ท่ อ งเที่ ย ว อบจ. ได้ค ะแนนต่ า สุ ด
เนื่ องจากมีทรัพยากรจากัดและตั้งอยู่เขตอนุ รักษ์นกั ท่องเที่ยวจึงไม่สามารถพบเห็ นวัฒนธรรมและ
วิถีชีวติ ท้องถิ่น

4.2 เกณฑ์ ด้านการบริการและสิ่ งอานวยความสะดวก ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วดั ดังนี้


4.2.1 คุณภาพและความปลอดภัยของเรื อ
นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (>80%) “เห็นด้วยอย่าง
ยิง่ และเห็นด้วย” ต่อคุณภาพและความปลอดภัยของเรื อท่องเที่ยวหรื อเรื อโป๊ ะเหล็กที่ใช้ในเส้นทาง
เดิ นเรื อฝั่ งอุ ทยานนกน้ าและฝั่ งศู นย์บริ การนักท่องเที่ ยวอบจ. (ภาพที่ 4) ส่ วนเรื อหัวดาบที่ใช้ใน
เส้นทางเดิ นเรื อใหม่ (ภาพที่ 5) นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ (ประมาณ 60%) “เห็นด้วย
อย่างยิง่ และเห็นด้วย” ต่อคุณภาพและความปลอดภัยของเรื อหัวดาบ อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์
นัก ท่ อ งเที่ ย วพบว่า นัก ท่ อ งเที่ ย วบางรายมี ค วามกัง วลเรื่ องของความปลอดภัย ของเรื อหัว ดาบ
เนื่ องจาก ณ เวลาที่ ทาการศึ กษายังไม่มีเสื้ อชู ชีพให้บริ การ และการล่ องเรื อโดยเรื อหัวดาบอาจ
เหมาะสมกับนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการประสบการณ์ทอ้ งถิ่นและใกล้ชิดธรรมชาติ
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 15

ภาพที่ 4 เรื อท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด ภาพที่ 5 เรื อหัวดาบ


หรื อเรื อโป๊ ะเหล็ก หรื อเรื อท้องถิ่น

4.2.2) คุณภาพและความปลอดภัยของท่าเรื อ
จากการประเมินคุ ณภาพและความปลอดภัยของท่าเรื อพบว่า ส่ วนใหญ่
นักท่องเที่ยวชาวไทย และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ “เห็นด้วยอย่างยิง่ และเห็นด้วย” ต่อคุณภาพและ
ความปลอดภัยของท่าเรื อบริ เวณอุทยานนกน้ าบึงบอระเพ็ด (ประมาณ 85 %) (ภาพที่ 7) ท่าเรื อ
บริ เวณศู นย์บ ริ การนักท่องเที่ ย วบึ งบอระเพ็ด (76-85%) (ภาพที่ 6) และท่าเรื อที่ บา้ นรางบัว (57-
65%) (ภาพที่ 8) แม้วา่ นักท่องเที่ยวชาวไทย (ประมาณ 10%) และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (17.5%)
“ไม่เห็ นด้วย” ต่อคุ ณภาพและความปลอดภัยของท่าเรื อบ้านรางบัวส าหรั บเส้ นทางเดิ นเรื อใหม่
อย่างไรก็ตามท่าเรื อที่บา้ นรางบัวมีขอ้ จากัดในการพัฒนาเนื่ องจากระดับน้ าในบึงบอระเพ็ดแต่ละ
ฤดูกาลหรื อแต่ละปี ไม่แน่ นอน ดังนั้นบริ เวณที่สามารถจอดเรื อได้จะไม่แน่ นอน และการใช้ท่าเรื อ
บ้านรางบัวอาจเหมาะกับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการความเป็ นวิถีแบบท้องถิ่นและไม่ตอ้ งการความ
สะดวกสบาย

ภาพที่ 6 ท่าเรื อท่องเที่ยว ภาพที่ 7 ท่าเรื อท่องเที่ยว


บริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ด อบจ. บริ เวณอุทยานนกน้ าบึงบอระเพ็ด
(เดือนธันวาคมปี 2557) (เดือนธันวาคม ปี 2557)
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 16

ภาพที่ 8 ท่าเรื อ บ้านรางบัว ต.วังมหากร อ.ท่าตะโก (เดือนธันวาคม ปี 2557)

4.2.3 คุณภาพและความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรื อ
นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ (ประมาณ 80%) “เห็นด้วยอย่างยิ่ง
และเห็นด้วย” ต่อคุณภาพและความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรื อทั้ง 3 เส้นทาง นักท่องเที่ยวทั้งชาว
ไทย (45%) และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (34%) เคยล่องเรื อท่องเที่ยวภายในบึงบอระเพ็ดจึงมีความ
เชื่ อมัน่ ต่อความปลอดภัย นอกจากนี้ นกั ท่องเที่ยวที่มีความสนใจล่องเรื อในเส้นทางใหม่ เนื่ องจาก
ต้องการประสบการณ์และความแตกต่างจากเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ าและศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว
อบจ. ดังนั้นในการพัฒนาเส้นทางใหม่ที่บา้ นรางบัวไม่มีความจาเป็ นต้องขุดลอกเพื่อขยายเส้นทาง
น้ า นอกจากนี้การขยายเส้นทางน้ าจะเป็ นการขุดทาลายพืชน้ าและทาให้ปริ มาณความหนาแน่นและ
ความหลากหลายทางชีวภาพที่นกั ท่องเที่ยวต้องการชมลดลง
4.2.4 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการล่องเรื อท่องเที่ยว (1-1.5 ชัว่ โมง)
นักท่องเที่ยวชาวไทย (>80%) และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (80%) ส่ วน
ใหญ่ “เห็ นด้วยอย่างยิ่งและเห็ นด้วย” กับระยะเวลา 1-1.5 ชั่วโมงในทั้ง 3 เส้นทาง สาหรั บ
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ประมาณ 50% มาล่องเรื อในบึงบอระเพ็ดเพื่อดูนก ดังนั้นนักท่องเที่ยวบาง
รายจึงต้องการล่ องเรื อภายในบึ งบอระเพ็ดนานกว่า 1-1.5 ชัว่ โมง สามารถสรุ ปได้ว่าระยะเวลา
ล่องเรื อที่เหมาะสมสาหรับนักท่องเที่ยวทัว่ ไปทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติคือ 1-1.5 ชัว่ โมง ซึ่ งมี
ความสอดคล้องกับรายงายการวิจยั ของสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2533) ว่าการ
ล่องเรื อด้วยเวลา 1-2 ชัว่ โมงเป็ นการล่องเรื อระยะสั้นเหมาะสาหรับนักท่องเที่ยวทัว่ ไป
ในภาพรวมคุ ณภาพและความปลอดภัยของเรื อและท่า เรื อท่ องเที่ ย วในเส้ นทางฝั่ ง
อุทยานนกน้ าและศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ.อยู่ในเกณฑ์คุณภาพดี และมีความปลอดภัย แม้ว่า
นักท่องเที่ ยวบางรายกังวลเรื่ องคุ ณภาพและความปลอดภัยของเรื อและท่าเรื อท้องถิ่ นในเส้นทาง
เดิ นเรื อใหม่ อย่า งไรก็ ตามการใช้เรื อท้องถิ่ น มี ค วามเหมาะสมส าหรั บ ล่ องเรื อในเส้ นทางใหม่
เนื่ องจากเป็ นรู ปแบบเฉพาะสาหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจและต้องการใกล้ชิดธรรมชาติ
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 17

หากรู ปแบบเรื อท้องถิ่นเปลี่ยนเป็ นเรื อโป๊ ะเหล็ก เส้นทางใหม่น้ ี จะมีความคล้ายคลึงกับเส้นทางฝั่ ง


อุทยานนกน้ าซึ่ งทาให้เส้นทางใหม่ไม่เกิดความแตกต่าง ดังนั้นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการบริ การและสิ่ ง
อานวยความสะดวกของเส้นทางเดิ นเรื อใหม่น้ ี คื อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ถึงสิ่ งอานวยความ
สะดวกที่มีอยูเ่ พื่อนักท่องเที่ยวได้ทราบถึงรู ปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในชุมชนบ้านรางบัว

4.3 เกณฑ์ ด้านการให้ ความรู้ ด้านสิ่ งแวดล้ อม ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วดั ดังนี้


4.3.1 ความรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อมจากทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (72% - 90%) “เห็น
ด้วยอย่างยิง่ และเห็นด้วย” ว่าทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางเดินใหม่สามารถให้ความรู ้แก่
นักท่องเที่ยวได้ ตามด้วยเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ า (70%-84%) และเส้นทางศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว
(57%-84%) ซึ่ งมีความสอดคล้องกับ ศันสนี ย ์ ชู แวว และคณะ (2557) และอุทยั วรรณ ลิมปชยาพร
(2551) กล่าวว่าบึงบอระเพ็ดไม่เพียงแต่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสวยงาม ความหลากหลายของ
ทรัพยากรธรรมชาติในบึงบอระเพ็ดทาให้บึงบอระเพ็ดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
4.3.2 ความจาเป็ นที่มีสื่อให้ความรู ้ แก่นกั ท่องเที่ยว เช่ น แผ่นพับและ
กระดานให้ขอ้ มูล
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ “เห็นด้วยอย่างยิง่ และเห็นด้วย”
ว่าแต่ละเส้ นทางเดิ นเรื อจาเป็ นต้องมีสื่อให้ความรู ้ แก่นักท่องเที่ ยว ซึ่ งมี ความสอดคล้องกับการ
ท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย (2544) และอรุ โณทัย คอวนิ ช (2545) กล่าวว่าการจัดการการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศต้องสนับสนุนการให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวโดยใช้สื่อประกอบ เช่น คู่มือ การให้ขอ้ มูลสื่ อ
ความหมาย เป็ นต้น เพื่อให้นกั ท่องเที่ยวได้ความรู ้และรับประสบการณ์ จากการท่องเที่ยว และเป็ น
การสร้างความตระหนักด้านสิ่ งแวดล้อม
ทรั พ ยากรและแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในเส้ น ทางเดิ น เรื อ ทั้ง สามสามารถให้ ค วามรู ้ ด้า น
สิ่ งแวดล้อมแก่นกั ท่องเที่ยวได้ อย่างไรก็ตามสื่ อความรู ้ประกอบการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศยังคงจาเป็ น
นอกจากนี้ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. ศูนย์วิจยั และพัฒนาประมงน้ า
จืดบึงบอระเพ็ด ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด และอุทยานนกน้ าบึงบอระเพ็ด ควร
ร่ วมกันพัฒนาสื่ อความรู ้ให้แก่นกั ท่องเที่ยว
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 18

4.4 เกณฑ์ ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วดั คือ


4.4.1 เส้นทางเดินเรื อสามารถสื่ อถึงความสาคัญของระบบนิเวศและควร
ค่าแก่การอนุรักษ์
จากผลการศึกษาพบว่านักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติส่วนใหญ่
“เห็นด้วยอย่างยิ่ง” ว่าทรัพยากรธรรมชาติในเส้นทางเดินเรื อทั้ง 3 เส้นทางภายในบึงบอระเพ็ดควร
ค่าแก่ การอนุ รักษ์ ซึ งสอดคล้องกับรายงานวิจยั ของศันสนี ย ์ ชู แวว และคณะ (2557) Schuhmann
(2013) กล่าวว่าการคงอยู่ของทรัพยากรธรรมชาติมีผลต่อการตัดสิ นใจกลับมาท่องเที่ยวในแหล่ ง
ท่องเที่ยวธรรมชาติ
การประเมินเส้นทางเดิ นเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศโดยนักท่องเที่ยวไม่ได้ใช้เกณฑ์การมี
ส่ วนร่ วมของชุ มชนเนื่ องจากผูป้ ระเมินต้องมีความรู ้ ความเข้าใจถึ งบริ บทของการมีส่วนร่ วมของ
ชุมชน

5. การวิเคราะห์ ค่าสหสั มพันธ์ ทางสถิติ (Pearson Correlation Analysis)


จากการประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ทาง
สถิติที่ระดับความเชื่ อมัน่ ที่ 95% สามารถสรุ ปได้วา่ เกณฑ์การท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศและตัวชี้ วดั ที่มีผล
ต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวได้แก่ 1) เกณฑ์ดา้ นแหล่งท่องเที่ยว และตัวชี้ วดั ที่มีผลนัยสาคัญ
คื อ ทัศ นี ย ภาพและความสวยงามของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว และความหลากหลายของกิ จกรรมการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2) เกณฑ์ดา้ นการบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวก และตัวชี้ วดั ที่มีผลนัยสาคัญ
คือ ระยะเวลาที่เหมาะสมในการล่องเรื อท่องเที่ยว และ 3) เกณฑ์ดา้ นการให้ความรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อม
และตัวชี้ วดั ที่มีผลนัยสาคัญ คือ ความรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อมจากทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยว ผูม้ ีส่วน
ร่ วมด้านการท่องเที่ยวสามารถนาผลการศึกษาที่ได้น้ ี ไปใช้ในการวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศทางน้ า และรักษาคุณภาพตัวชี้วดั เหล่านี้เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มา
บึงบอระเพ็ดและเป็ นการช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรบึงบอระเพ็ดในเวลาเดียวกัน

6. การเปรี ยบเทียบความแตกต่ างระหว่ างเส้ นทางเดินเรื อท่ องเที่ยวทั้งสามเส้ นทาง


(Tukey’s HSD Multiple Comparison Test)
เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศที่ทาการศึกษาทั้ง 3 เส้นทาง เมื่อนามาเปรี ยบเทียบ
ทางสถิ ติที่ระดับความเชื่ อมัน่ ที่ 95% พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ โดยมีตวั ชี้ วดั ด้าน
ความสวยงามของทัศนี ยภาพและแหล่งท่องเที่ยว ความหลากหลายทางชี วภาพ วัฒนธรรมและวิถี
ชี วิตท้องถิ่น ความหลากหลายของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ คุณภาพและความปลอดภัยของ
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 19

เรื อและท่าเรื อ และความต้องการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ตัวชี้ วดั เหล่านี้ สามารถนามาพัฒนา


และใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศทางเรื อเพื่อดึ งดู ดกลุ่ มนักท่องเที่ ย ว
เป้าหมาย

7. การกลับมาเทีย่ วซ้า
7.1 เส้ นทางเดินเรื อทีน่ ักท่องเทีย่ วต้ องการกลับมาล่องเรื อในบึงบอระเพ็ด
จากผลการสัมภาษณ์นกั ท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติพบว่า นักท่องเที่ยวชาวไทย
หากกลับมาท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ดมีความต้องการล่องเรื อท่องเที่ยวในเส้นทางเดินเรื อใหม่ฝั่งบ้าน
รางบัวมากที่สุด (42%) ตามด้วยเส้นทางเดินเรื อฝั่งอุทยานนกน้ า (31%) และเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การ
นักท่องเที่ยว อบจ. (27%) สาเหตุที่นกั ท่องเที่ยวชาวไทยส่ วนใหญ่ตอ้ งการล่องเรื อในเส้นทางใหม่
เนื่ องจากนัก ท่ องเที่ ย วชาวไทย (45%) เคยมาล่ องเรื อในบึ ง บอระเพ็ดและอยากเปลี่ ย นเส้ นทาง
ล่องเรื อ สาหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยบางรายต้องการกลับมาเส้นทางฝั่ งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว
อบจ. เนื่องจากบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเที่ยวมีกิจกรรมท่องเที่ยวบนบกที่หลากหลาย มีสิ่งอานวย
ความสะดวก และเข้า ถึ ง ได้ง่ า ย ดัง นั้นผูม้ ี ส่ วนร่ วมด้า นการท่ องเที่ ย วอาจพิ จารณาถึ ง การรั ก ษา
คุณภาพของกิจกรรมบนบกและสิ่ งอานวยความสะดวกในบริ เวณนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุ รักษ์
และฟื้ นฟูสภาพระบบนิเวศในเส้นทางฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว อบจ. เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวร่ วม
กิจกรรมการล่องเรื อ
สาหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่ (50%) ต้องการกลับมาล่องเรื อในเส้นทาง
ฝั่ งอุ ทยานนกน้ า ตามด้วยเส้ นทางเดิ นเรื อใหม่ฝั่ง บ้านรางบัว (33%) และเส้ นทางฝั่ งศู นย์บริ การ
นัก ท่ องเที่ ย ว อบจ. (17%) (ภาพที่ 10) แม้ว่า ผลการประเมิ น เกณฑ์ ด้า นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วโดย
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีความเห็ นด้วยอย่างยิ่งต่อทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวในเส้นทางใหม่ แต่
เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่มาบึงบอระเพ็ดเพื่อดูนก และเส้นทางฝั่งอุทยานนกน้ ามี
ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านนกน้ าจึงมีผลต่อการกลับมาล่องเรื อซ้ า ดังนั้นในการพัฒนาเส้นทางเดินเรื อใหม่ฝั่ง
บ้า นรางบัว อาจพิ จ ารณาการฝึ กอบรมและให้ข ้อมู ล เรื่ อ งระบบนิ เ วศนกน้ า ในบึ ง บอระเพ็ด แก่
ประชาชนที่จะมีส่วนร่ วมการล่องเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ เนื่ องจากเส้นทางเดิ นเรื อใหม่พบปริ มาณ
นกน้ าค่อนข้างหนาแน่น จึงเป็ นโอกาสในการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการดูนก
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 20

60
50%
42.2%
40 33%
30.5%
27.3%

20 17%

0
เส้นทางเดินเรื อฝั่งอุทยานนกน้ า เส้นทางเดินเรื อฝั่งศูนย์ฯ อบจ. เส้นทางเดินเรื อใหม่ฝั่งบ้านรางบัว
นักท่องเที่ยวชาวไทย (n=128) นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (n=40)

ภาพที่ 9 เส้นทางเดินเรื อที่นกั ท่องเที่ยวต้องการกลับมาล่องเรื อในบึงบอระเพ็ด

7.2 การกลับมาล่องเรื อในเส้ นทางใหม่ ฝั่งบ้ านรางบัว


จากผลการศึ ก ษาพบว่ า หากเส้ น ทางเดิ น เรื อใหม่ ไ ด้ พ ัฒ นาและเปิ ดให้ บ ริ การ
นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ (>45%) จะกลับมาล่องเรื อ และเกือบ 50% ของ
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติอาจจะมาล่องเรื อในเส้นทางใหม่ มีเพียงนักท่องเที่ยวส่ วน
น้อยมากที่จะไม่มาล่องเรื อแน่นอนเนื่องจากอยากไปแหล่งท่องเที่ยวอื่น

60.0
47.6% 48.4% 50%
46.1%
40.0

20.0
5.5%
2.4%
.0
จะกลับมาล่องเรื อ อาจจะกลับมาล่องเรื อ ไม่กลับมาล่องเรื อ
นักท่องเที่ยวชาวไทย (n=128) นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (n=40)

ภาพที่ 10 โอกาสในการกลับมาล่องเรื อในเส้นทางเดินเรื อใหม่ฝั่งบ้านรางบัว


นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 21

สรุ ปผลการศึกษา
การวิจยั เรื่ องการประเมิ นเส้ นทางเดิ นเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศที่ บึงบอระเพ็ด จังหวัด
นครสวรรค์ มีวตั ถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศที่เหมาะสมโดย
ใช้เกณฑ์การท่ องเที่ ยวเชิ งนิ เวศทางน้ า ในการวิจยั ครั้ งนี้ ประกอบด้วยการสัมภาษณ์ เชิ งลึ กและ
ประเมินความเหมาะสมของเส้นทางเดิ นเรื อโดยผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักจานวน 22 ราย ประกอบด้วย
เจ้า หน้า ที่ จ ากหน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้อ ง ผู ใ้ ห้บ ริ ก ารเรื อ ท่ อ งเที่ ย วที่ บึ ง บอระเพ็ด นัก วิ ช าการ และ
ประชาชนในพื้นที่บึงบอระเพ็ด เพื่อระบุเส้นทางเดินเรื อที่ใช้ในปั จจุบนั และเส้นทางเดินเรื อใหม่ที่มี
ศัก ยภาพ และเพื่ อ ยื น ยัน ว่ า เส้ น ทางเดิ น เรื อ ท่ อ งเที่ ย วที่ ท าการศึ ก ษาสร้ า งความพึ ง พอใจต่ อ
นักท่องเที่ ยว งานวิจยั นี้ จึงใช้การสัมภาษณ์ โดยใช้ภาพถ่ ายของแหล่ งท่องเที่ ยวในแต่ละเส้ นทาง
เดิ นเรื อประกอบการประเมินเส้นทางเดิ นเรื อกับนักท่องเที่ยวชาวไทย 128 ราย และนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติ 40 ราย ที่เดินทางมาท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด
จากผลการศึกษาสามารถระบุ เส้นทางเดิ นเรื อ 3 เส้นทาง เป็ นเส้นทางที่ ให้บริ การ
นักท่องเที่ยวในปั จจุบนั 2 เส้นทาง และเส้นทางใหม่ที่มีศกั ยภาพ 1 เส้นทาง เมื่อประเมินตามเกณฑ์
การท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศทางน้ าประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยว การบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวก
ความรู ้ ดา้ นสิ่ งแวดล้อม การมี ส่วนร่ วมของชุ มชน และการอนุ รักษ์ พบว่าทั้ง 3 เส้นทางมีความ
เหมาะสมต่อการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ โดยมีความเหมาะสมค่อนข้างมากต่อการเป็ นเส้นทางเดิ นเรื อ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติมีความพึงพอใจค่อนข้างมากต่อเส้นทางเดินเรื อ
ที่ทาการศึกษา เส้น ทางที่ 1 ฝั่ งอุ ทยานนกน้ า และเส้นทางที่ 3 ฝั่ งบ้านรางบัวมี ทรั พยากรแหล่ ง
ท่องเที่ยวที่คล้ายคลึงกัน เช่น พืชพรรณสัตว์ป่าและวิถีชีวิต อย่างไรก็ตามเส้นทางที่ 3 มีปริ มาณพืช
พรรณและสัตว์ป่าหนาแน่นมากกว่าเส้นทางที่ 1 ในขณะที่เส้นทางที่ 2 ฝั่งศูนย์บริ การนักท่องเที่ยว
(อบจ.) พบพืชน้ าที่มีสีสันสวยงาม เช่น บัวสาย ค่อนข้างน้อย แต่สามารถพบเหยี่ยวออสเปรย์ในช่วง
ฤดูกาลนกอพยพ ในการประเมินเส้นทางเดินเรื อ ความสวยงามของทัศนี ยภาพ ความหลากหลาย
ของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ความรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อม คุณภาพและความปลอดภัยของเรื อและ
ท่าเรื อเป็ นตัวชี้ วดั ที่มีความสาคัญต่อการเลือกเส้นทางเพื่อล่องเรื อท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด ผลการ
เปรี ยบเทียบเส้นทางเดินเรื อทั้ง 3 เส้นทางพบว่า แต่ละเส้นทางมีตวั ชี้ วดั ที่มีความแตกต่างกันอย่างมี
นัย ส าคัญที่ ระดับ ความเชื่ อมัน่ 95% ได้แก่ ความสวยงามของทัศ นี ย ภาพ ความหลากหลายทาง
ชี วภาพ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ความหลากหลายของกิ จกรรมการท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศ คุ ณภาพเรื อ
และท่าเรื อ และความต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติ ผลการประเมินเส้นทางเดินเรื อและ
การเปรี ยบเทียบความแตกต่างของเส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ ผูม้ ี
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 22

ส่ วนเกี่ ยวข้องสามารถนาไปใช้เพื่อพัฒนาและรั ก ษาคุ ณภาพของตัวชี้ วดั ของแหล่ งท่องเที่ ยวบึ ง


บอระเพ็ดเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้ าหมาย เส้นทางเดินเรื อท่องเที่ยวเส้นทางใหม่เป็ นทางเลือก
หนึ่ งในการรองรับการท่องเที่ยวในอนาคต และชุ มชนในพื้นที่มีโอกาสได้เรี ยนรู ้ และพัฒนาทักษะ
ในการให้ บ ริ ก ารด้า นการท่ อ งเที่ ย ว และมี ร ายได้เ สริ ม จากการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศทางเรื อ การ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยเรื อนั้นจาเป็ นต้องมีการประเมินและติดตามผลอย่างต่อเนื่ อง รวมถึงแนวโน้ม
และการเปลี่ ยนแปลงของการท่ องเที่ ย ว การมี ส่ วนร่ วมจากผูม้ ี ส่ วนร่ วมด้านการท่ องเที่ ย วที่ บึ ง
บอระเพ็ด ทั้งหมดนี้จะช่วยในการรักษาคุณภาพการล่องเรื อท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้

ข้ อเสนอแนะทัว่ ไป
1. บึงบอระเพ็ดควรมีการประชาสัมพันธ์และโฆษณาแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ซึ่ งมีผล
ต่ อ การเพิ่ ม จานวนนัก ท่ อ งเที่ ย วที่ จะมาเยือ นบึ ง บอระเพ็ดและล่ อ งเรื อ ท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ งจะมี ค วาม
สอดคล้องกับ นโยบายจัง หวัดนครสวรรค์ที่ ใ ห้ค วามส าคัญแก่ ก ารท่ องเที่ ย ว นอกจากนี้ ก ารสื่ อ
ความหมายทางธรรมชาติควรมีท้ งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. เส้ น ทางเดิ น เรื อ ใหม่ ที่ มี ศ ัก ยภาพในการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศเป็ นเส้ น ทางที่
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติให้ความสนใจในการกลับมาท่องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด แต่
นักท่องเที่ ยวมี ความกังวลเรื่ องความปลอดภัยในการล่ องเรื อ ดังนั้นจึงจาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ ด้าน
ความปลอดภัย เช่น เสื้ อชูชีพ ให้แก่นกั ท่องเที่ยว
3. ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในบึงบอระเพ็ดควรคงอยูอ่ ย่างสมบูรณ์
และทาหน้าที่เป็ นทรัพยากรและแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ

ข้ อเสนอแนะสาหรับการศึกษาวิจัย
1. การศึ ก ษาและประเมิ นเส้ นทางเดิ นเรื อท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศจากจุ ดลงเรื ออื่ นในบึ ง
บอระเพ็ด
2. การศึ กษาเกี่ ยวกับ การท่ องเที่ ยวอาจศึ กษาเกี่ ยวกับแหล่ งท่องเที่ ยวทางบก เช่ น
หมู่บา้ นที่มีพ้ืนที่ติดต่อกับบึงบอระเพ็ด และการเชื่ อมต่อกิ จกรรมการท่องเที่ยวบนบกกับกิ จกรรม
การล่องเรื อท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด
3. สาหรับเรื อที่ประชาชนในพื้นที่ใช้ในบึงบอระเพ็ด (เรื อหัวดาบและเรื อตะเฆ่) และ
เรื อ ท่ อ งเที่ ย ว (เรื อ โป๊ ะเหล็ ก ) ควรท าการวิ จ ัย ในเรื่ องของเครื่ อ งยนต์ ข องเรื อที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ
สิ่ งแวดล้อมและต้นทุนเครื่ องยนต์ เช่ น เครื่ องยนต์ที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และมีน้ าหนักเบา เป็ น
ต้น
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 23

4. ทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ใ นบึ ง บอระเพ็ดเป็ นทรั พ ยากรท่ องเที่ ย วเช่ นกัน เมื่ อ
ทรัพยากรถู กทาลายหรื อได้รับความเสี ยหายสามารถส่ งผลต่อความสวยงามของทัศนี ยภาพในบึ ง
บอระเพ็ ด ดั ง นั้ นในการวิ จ ั ย ในอนาคตควรท าการศึ ก ษาการคงสภาพหรื อเพิ่ ม ปริ มาณ
ทรัพยากรธรรมชาติ
5. การประเมินมูลค่าจากการใช้ประโยชน์ดา้ นนันทนาการและการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ
ที่บึงบอระเพ็ด
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 24

บรรณาณุกรม

กรมการท่องเที่ยว. (2556). รายงานสรุ ปสถิตินักท่ องเที่ยวต่ างชาติปี 2556, กระทรวงการท่ องเที่ยว


และกี ฬ า. [สื บ ค้น ออนไลน์ ]. เมื่ อ 3 ธัน วาคม 2556 จากเว็บ ไซต์
http://tourism.go.th/uploads/Stat/247.pdf.
กรมการท่องเที่ยว. (2554). มาตรฐานการท่ องเที่ยวประเทศไทย: มาตรฐานเรื อท่ องเที่ยว. (พิมพ์ครั้ง
ที่ 2). กรุ งเทพมหานคร: กรมการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กระทรวงทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม สานักแผนและนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ. (2546). ความ
หลากหลายทางชีวภาพในพืน้ ที่ช่ ุมนา้ บึงบอระเพ็ด. กรุ งเทพฯ.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการท่ องเที่ยวแห่ งชาติปี 2555-2559. [สื บค้น
ออนไลน์]. เมื่อ8 สิ งหาคม 2556 จากเว็บไซต์ http://www.mots.go.th.
การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย. (2538). นโยบายและแนวทาง: การพัฒนาการท่ องเที่ยวเชิ งนิเวศ
(1995-1996) โดยการท่ องเที่ยวแห่ งประเทศไทย. กรุ งเทพมหานคร: อมริ นทร์ ปริ้ นติ้ง
และพลับบิชชิ่งพับบลิคคอมพานีลิมิดเท็ด.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2544). การจัดการการท่ องเที่ยวและสิ่ งแวดล้ อม. กรุ งเทพมหานคร:
กองสถิติและงานวิจยั , การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2544). แผนปฏิ บัติการการท่ องเที่ยวเชิ งนิเวศแห่ งชาติ . (พิมพ์ครั้งที่
1). กรุ งเทพมหานคร.
ไกรรัตน์ เอี่ยมอาไพ. (2549). การทารังวางไข่ของนกน้ าในพื้นที่ชุ่มน้ าบึงบอระเพ็ด. หน้า 91-110.
ใน ผลงานวิจัยและรายงานความก้ าวหน้ า งานวิจัยประจาปี 2548. กลุ่มงานวิจยั สัตว์ป่า
, สานักอนุรักษ์สัตว์ป่า, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุ งเทพฯ.
ศันสนีย ์ ชูแวว รัฐชา ชัยชนะ รัตนวัฒน์ ไชยรัตน์ กาญจนา นาคะภากร นริ นทร์ บุญตานนท์ สมพงษ์
ยูงทอง อดิ ศกั ดิ์ จันทวิชานุ วงษ์ นิ วตั ิ อุณฑพันธุ์ ณพล อนุ ตตรังกูร ปิ ยะเทพ อาวะกุล
และศักดิ์ชยั ชิดเชื้อ. (2557). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การวิจัยแบบมีส่วนร่ วมเพื่อ
การจัดการอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ พืน้ ที่ช่ ุ มนา้ บึ งบอระเพ็ดอย่ างยั่งยื น . นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหิดล.
นพมาศ แซ่ต้ งั บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร / 25

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งชาติ. (2533). รายงานฉบับสุ ดท้ าย: การศึ กษาการ
พัฒนาการท่ องเที่ยวทางนา้ ประเภทแม่ นา้ และลาคลองในกรุ งเทพมหานครและภาค
กลาง. น าเสนอการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย เดื อ นพฤษภาคม 2533.
กรุ งเทพมหานคร.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ. (2556). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559.
สานักงานสถิ ติจงั หวัดนครสวรรค์ . (2556). จานวนห้ องพัก นักท่ องเที่ยว และรายได้ จากการ
ท่ องเที่ยวรายจังหวัด. [สื บค้นออนไลน์]. เมื่อ 17 กรกฎาคม 2556 จากเว็บไซต์
http://nksawan.nso.go.th/nso/project/search_option/.
สานักงานสถิติแห่ งชาติ. (2556). ข้ อมูลสถิติ: จานวนนักท่ องเที่ยวรายภูมิภาคและจังหวัดปี 2549-
2554. [สื บ ค้น ออนไลน์ ]. เมื่ อ 17 กรกฎาคม 2556 จากเว็บ ไซต์
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/BaseStat/basestat.html.
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดนครสวรรค์. (n.d.). Development strategy: three year development
plan for 2554-2556. [สื บค้นออนไลน์]. เมื่อ 5 กันยายน 2556 จากเว็บไซต์
http://www.nakhonsawanpao.go.th/main/strategic.html.
องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดนครสวรรค์. (2556). จานวนนักท่ องเที่ยวที่บึงบอระเพ็ด. [เอกสาร].
อรุ โณทัย คอวนิช. (2545). การพัฒนาคู่มือสื่ อความหมายทางธรรมชาติและวิถีชีวิต เขตห้ ามล่ าสั ตว์
ป่ าบึงบอระเพ็ด. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. การศึกษาสิ่ งแวดล้อม.
มหาวิทยาลัยมหิดล.
อุ ท ัย วรรณ ลิ ม ปชยาพร. (2551). การจั ด การการท่ อ งเที่ ย ว กรณี ศึ ก ษาบึ ง บอระเพ็ด จั ง หวัด
นครสวรรค์ . วิท ยานิ พ นธ์ ปริ ญญาดุ ษฎี บณ
ั ฑิ ต. การพัฒนาชุ มชน. มหาวิทยาลัย
นเรศวร.
Schuhmann, P.W. (2013). Preferences and willingness to pay for coastal amenities in Barbados.
Monetary valuation of ecosystem services: case studies and lessons learned. In the
7th conference of the ecosystem services partnership local action for the common
good, Vol. Costa Rica.

You might also like