You are on page 1of 63

มีความสุขกับหุ้นปันผล By หมีส้ม

ลงทุนหุ้นปันผลด้วยความเข้าใจ
ถ่ายทอดความมังคังสู่ลูกหลาน

1|P a ge
สารบัญ
บทนํา หน้ าที 3
บทที 1 ทําไมเราไม่ควรฝากเงิ น (ทังหมด) ในธนาคาร หน้ าที 5
บทที 2 การลงทุนก็คือการลงทุน.. หน้ าที 8
บทที 3 ความแตกต่างของสิ นทรัพย์.. หน้ าที 10
บทที 4 เวลาหรือจังหวะทีเหมาะสม.. หน้ าที 13
บทที 5 ความเสียง.. หน้ าที 16
บทที 6 วางใจเป็ นกลาง อย่าเล็งผลเลิ ศ.. หน้ าที 19
บทที 7 สรุปแนวคิ ดพืนฐานในการลงทุน หน้ าที 21
บทที 8 ราคาของหุ้น (ราคาพาร์, ราคาทางบัญชี และราคาตลาด) หน้ าที 23
บทที 9 อัตราส่วนความคุ้มค่าในการลงทุน หน้ าที 26
บทที 10 องค์ประกอบของงบการเงิ น หน้ าที 28
บทที 11 รายละเอียดของสิ นทรัพย์บริ ษทั หน้ าที 32
บทที 12 รายละเอียดหนี สิ นและส่วนของผู้ถอื หุ้นบริ ษทั หน้ าที 35
บทที 13 งบกําไรขาดทุน หน้ าที 38
บทที 14 ลองวิ เคราะห์ห้นุ STOCK 1 หน้ าที 41
บทที 15 ลองวิ เคราะห์ห้นุ STOCK 2 หน้ าที 44
บทที 16 การมีส่วนได้เสียของกลุ่มผู้ถอื หุ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารบริ ษทั หน้ าที 52
บทที 17 ค้นหาหุ้นปันผลกันเถอะ หน้ าที 55
บทที 18 คัดสรรหุ้นเพือเข้าลงทุน หน้ าที 57
บทที 19 ค้นหาจังหวะทีเหมาะสมด้วย กราฟ Tecnical หน้ าที 58
บทที 20 บทส่งท้าย หน้ าที 63

2|P a ge
บทนํา
หนังสือเล่มนีเขียนขึนเนืองในโอกาสครบรอบอายุครบ 30 ปีของผมเอง หากชีวติ คนเรามีอายุ
ได้ซกั 60 ปี ผมก็คงจะเดินมาถึงครึงทางของชีวติ แล้ว จึงอยากเขียนหนังสือเล่มหนึงเกียวกับหลักการ
ลงทุน เพือเป็นอนุสรณ์ให้ผใู้ หญ่ 4 ท่าน คือ คุณพ่อ คุณแม่ ศาสตราจารย์ ดร.กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ
และดร.นิเวศน์ เหมวชิวรากร ด้วยความรูด้ า้ นการลงทุนทีผมพอจะมีอยูบ่ า้ ง

หนังสือเล่มนี ผมเพียงแค่มุ่งหวัง ให้คนทีอยากให้เงินเก็บเติบโตงอกเงย ได้มที างเลือกในการ


ลงทุนสร้างอนาคตให้ลกู หลาน โดยการ ”ลงทุนหุน้ ป ันผล” ในกิจการทีมีการเติบโตสมําเสมอ โดยเฉพาะ
คนทํางานอย่างเราๆ ควรมีความเข้าใจในการลงทุนทีถูกทาง สามารถทําให้เงินงอกเงยอย่างมีความสุข
เพราะหากเริมต้นอย่างผิดทางแล้วนัน จากการ “ลงทุน ” จะเป็น “เก็งกําไร” และสุดท้ายจะกลายเป็ น
“การพนั น ” ซึ งผมต้ อ งออกตัว ไว้ ก่ อ นว่ า “ศึ ก ษา” เพื อให้ เ ข้ า ใจ ถ้ า ไหวหรื อ พอรับ ได้
“ก็ค่อยๆ ทดลอง” ถ้าไม่ไหวหรือรับไม่ได้ก็ “ลืมๆมันไป”..

ผมขอเล่าให้ฟ ังถึงความพิเศษในการลงทุนในหุน้ ป ันผลทีดี โดยไม่ขายหุน้ ออกมาเลยตลอดเวลา


หลายสิบปี โดยขอยกตัวอย่างทีเกิดขึนจริงว่า “มีคนๆ หนึง ซือหุน้ ปูนซิเมนต์ เมือปี 2518 ในมูลค่ารวม
100,000 บาท และถือมาจนถึง ป ัจจุบนั เค้าได้ เฉพาะเงิน ป ันผลในป ัจจุบนั ปี ละประมาณหนึงล้า น
กว่าบาทกับมูลค่าหุ้น อีกนับไม่ถ้วน เพราะมูลค่าทางบัญ ชีของปู น ซิเมนต์ไ ทย 100 บาทในขณะนัน
เทียบกับมูลค่าทางบัญชีป ัจจุบนั คือ 11,300 บาท แต่ถ้าอยากจะซือในตอนนี จะต้องซือในราคาสูงถึง
324 บาทต่อหุน้ หรือเทียบเท่ากับ 32,400 บาท ในปี 2518 ทีเดียว ทําไมจึงเป็นเช่นนันได้ นันก็เพราะ
ความเข้มแข็งของธุรกิจ ซึงอาจจะโตเฉลียถึงปีละ 20% เค้าเอา 5% มาป ันผลให้เรา ในขณะทีเอา 15%
ไปลงทุนต่อ แน่นอนว่าอาจจะมีบางปีทผลประกอบการขาดทุ
ี น แต่ระยะยาวจะเติบโตขึนเรือยๆ ซึงคน
อ่านคงมีคําถามในใจว่า จะหาหุ้นเหล่านันเจอได้อย่างไร และจะป้ องกันความเสียงอย่างไร ถ้าอ่านไป
เรือยๆ จะเจอคําตอบ..

เพราะในความเป็นจริงนัน คนทีลงทุนในหุ้น 10 คน จะมีคนเดียวทีมีกําไร อีก 1 คนเสมอตัว


และอีก 8 คนขาดทุน แต่ผ มกล้าพูดว่า คนทีขาดทุน ส่วนใหญ่ มาจาก 2 สาเหตุ คือ ประการทีหนึง
ไม่มคี วามรู้ ไม่เข้าใจสิงทีตัวเองกําลังทํา ไม่รวู้ า่ ตัวเองกําลังซือหุน้ อะไร ไม่มหี ลักวิชา คิดว่าเป็นเรืองง่าย
และไม่ตอ้ งใช้ความพยายาม และประการทีสอง คือ โลภเกินความรู้ของตน ผันตัวเองจากนักลงทุนไป
เป็น ”นักเก็งกําไร” หรือ”นักพนัน” โดยคนส่วนใหญ่ไม่ได้เข้ามาลงทุนในตลาดหุน้ แต่เข้ามาเพือเก็งกําไร
และหวังจะได้กาํ ไรจนมากเกินกว่าทีควรจะได้รบั ในฐานะนักลงทุนทีตังใจเข้ามาถือหุน้ ในกิจการทีดี

3|P a ge
มีสุภาษิตจีนทีผมชอบอยูบ่ ทหนึง กล่าวว่าเวลาทําแท่นฝนหมึก จุดทีต้องทําให้แข็งแรงทีสุด ก็คอื
“ฐาน” ของแท่นฝนหมึก เพราะฐานของมันจะทําให้แท่นมันคง การฝนหมึกทําได้ราบรืน ซึงการศึกษาก็
เช่นเดียวกัน ผมขอเรียนว่าการลงทุนนัน ต้องอาศัยการศึกษาอย่างเป็นระบบ และใช้เวลาในการทําความ
เข้าใจ อาจจะเป็นเดือนถึงเป็นปี และต้องค่อยๆ ใช้เวลาทีละขันๆ

รายละเอียดในหนังสือนี จะแบ่งออกเป็นสามส่วน ได้แก่

ส่วนที 1 ตังแต่บทที 1 – 7 เป็นเรืองเกียวกับแนวความคิดทีดีในการลงทุน

ส่วนที 2 ตังแต่บทที 8 – 16 เป็นเรืองเกียวกับความรูพ้ นฐานในการเลื


ื อกหุน้ ป ันผล

ส่วนที 3 ตังแต่บทที 17 – 20 เป็นเรืองเกียวกับภาคปฏิบตั ใิ นการเข้าลงทุน

ซึงทังสามส่วนนี ผมเชือว่าน่ าจะครอบคลุมถึงเนือหาสําคัญในการลงทุนแล้ว ทังนีหากผู้อ่านมี


ความสนใจเพิมเติม ผมแนะนําให้อ่านหนัง สือของดร.นิเวศน์ เหมวชิวรากร ซึงเป็ นอาจารย์ด้านการ
วิเคราะห์มลู ค่าหุน้ ทีดีทสุี ดของไทยในเวลานี และเป็นอาจารย์คนแรกในการลงทุนของผม ผ่านหนังสือ
”ตีแตก” ทีท่านเขียนขึนครังแรกในปี 2542 ถ้าผมไม่ได้อ่านหนังสือเล่มนัน ในวันนีผมอาจจะเป็นนักพนัน
ในตลาดหุน้ ก็เป็นได้ ป ัจจุบนั หนังสือหุ้ นเล่มนันก็ยงั มีการปรับปรุงและพิมพ์จาํ หน่ายอย่างต่อเนือง..

อย่างไรก็ตาม หนังสือเล่มนี ผมจะพยายามเขียนออกมาให้อ่านง่ายทีสุดเท่าทีจะทําได้ และหวัง


ว่าคงจะมีประโยชน์กบั คนอืนๆ บ้าง เพราะอย่างน้อยสิงทีผมได้เล่าเรียนมาก็คงทําประโยชน์ให้แก่คนอืน
ได้บา้ งไม่มากก็น้อย..

วรชิต หอมโกศล

22 มกราคม 2555

4|P a ge
บทที 1 ทําไมเราไม่ควรฝากเงิ น (ทังหมด) ในธนาคาร
ผมจําได้วา่ เมือ 10 ปีทแล้
ี ว (2545) ผมทานข้าวกะเพราไก่แถวบ้านผม จานละ 20 บาท ไม่น่า
เชือจริงๆ ว่าป ัจจุบนั นี (2555) ราคาข้าวกะเพราไก่สงู ถึงจานละ 35 บาททีเดียว อะไรทีทําให้ราคามันถีบ
ตัวสูงขนาดนันล่ะ...

“เงินเฟ้ อ” ครับ มันคือเงินเฟ้ อ อธิบายง่ายๆ คือ ราคาสินค้าต่างๆ สูงขึน แต่ว่ามัน สูง ขึนเร็ว
เกินไปรึเปล่า แล้วมีผลกระทบอะไรกับเราล่ะ.. ผมอยากให้เรามาดูตรงนีกัน

ราคากะเพราไก่ทเพิ
ี มขึน ผมมานังคิดดูแล้ว ราคามันเพิมขึนอยู่ทราวๆ
ี 75% คิดเป็นอัตราทบ
ต้น 5.5% ต่อปี ในขณะทีถ้าผมฝากธนาคารกินดอกเบีย ผมฝากประจําโดยไม่ถอนเลย ผมได้ดอกเบีย
3% ต่อปี ทังๆทีผมเอาดอกเบียไปฝากต่อด้วยนะ เงินของผมจะต้องใช้เวลาถึง 19 ปี ถึงจะโตขึน 75%
เท่ากัน..

ใช่แล้วล่ะ.. ยิงผมฝากเงิน เงินของผมยิงด้อยค่าลง เพราะเงินมันเฟ้ อ.. บางคนอาจจะบอกว่า ไม่


จริงหรอก เพราะอัตราเงินเฟ้ อทีธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศ ไม่เคยจะถึง 5% แม้แต่ปีเดียว ผมก็
จะขอเรียนว่า นันเป็นเพราะเค้ารวมรายการสินค้าหลายๆ ประเภทเข้าไว้ดว้ ยกัน ซึงก็อาจจะรวมถึงอะไร
จิปาถะมากมาย แต่อย่างน้อย ผมรูว้ า่ สิงทีผมต้องกินทุกวัน ราคามันสูงทวีคณ
ู ขึนไปมากทีเดียว..

แล้วเราควรทําอย่างไร ควรลงทุนอะไร แล้วมันจะไม่เสียงเหรอ.. ในข้อนีผมคิดว่าฝากเงินเฉยๆ


ดังทีกล่าวมา มันก็คอื ความเสียงแล้ว แต่เป็นความเสียงโดยทีเราไม่รตู้ วั ก็เท่านันเอง แล้วถ้าจะลงทุน มัน
มีอะไรให้เราลงทุนบ้างล่ะ..

ผมนึกคร่าวๆ วิธที คนทั


ี งหลายลงทุนกัน (แบบถูกกฎหมายและไม่ต้องใช้ความสามารถพิเศษ)
เห็นจะมี ฝากเงินเผือเรียก ฝากประจํา ลงทุนพันธบัตร ลงทุนตราสารหนี ลงทุนกองทุนรวม ลงทุนใน
หลักทรัพย์หรือตราสารทุน ทีเราชอบเรียกกันว่า “หุน้ ” แล้วการลงทุนแต่ละประเภท ต่างกันอย่างไร..

ฝากเงินเผือเรียกกับฝากประจํา ผมคงไม่ต้องอธิบาย ผมข้ามมาลงทุนพันธบัตรกับตราสารหนี


เลยแล้วกัน พันธบัตรก็คอื ตราสารหนีทีรัฐบาลเป็นคนออก ส่วนตราสารหนีเอกชน เค้าก็เรียกสันๆ ว่า
“หุน้ กู”้ คือ มันไม่ได้เหมือนหุน้ ซะทีเดียว คือ มันมีลกั ษณะเหมือนซือสลากออมสิน คือมีเป็นก้อนเล็กๆ
ไม่กพัี นบาท ไปจนถึงก้อนใหญ่ๆ หลักพันล้านบาท แล้วก็ตอ้ งถือไว้จนครบกําหนดไถ่ถอน อาจจะมีแบบ
ระยะเวลา 3 เดือน ไปจนถึง 100 ปี (หุน้ กู้ ปตท. อายุ 100 ปี ดอกเบีย 5.9% ต่อปี น่าจะขายหมดไปแล้ว
คนทีซือก็น่าจะเป็นพวกสถาบันการเงินกว้านไปจนหมด) คือ ถ้าเราซือพันธบัตรหรือหุ้นกู้ เราก็จะได้
ดอกเบียในอัตราทีแน่นอน ซึงจะสูงกว่าดอกเบียเงินฝาก แต่จะเริมมีความเสียงสูงขึน จากการทีเราต้อง

5|P a ge
รับผิดชอบเงินของตัวเองแล้ว ไม่เหมือนเงินฝากทีมันจะไม่สญ ู ไป (ถ้าธนาคารไม่ลม้ ) ดังนันการลงทุนใน
พันธบัตรรัฐบาลความเสียงจึงน้อยทีสุด รองลงมาก็คอื หุ้นกู้ของกิจการขนาดใหญ่ ก็คอื พวก กลุ่มปตท.
หรือเครือปูนซิเมนต์ไทย

บางคนถามว่า แล้วถ้าเราร้อนเงินเราจะขายได้เหรอ คําตอบคือ มันมีตลาดเอาไว้ขาย เรียกว่า


ตลาดตราสารหนี (BEX) ซึงราคาของหุ้นกู้ท ีเราซือจะขึนหรือลงก็ขนอยู
ึ ่ก ับภาวะตลาดในขนาดนัน
ผมขออนุญาตเล่าให้เห็นภาพซักนิดนะครับ..

เมือช่วงก่อนปี 2540 ขณะนันประเทศไทยมีอตั ราการเจริญเติบโตสูง ดอกเบียเงินฝากเคยขึนไป


ถึง 9-15% ทีเดียว ขณะนันเข้าใจว่ามีพนั ธบัตรรัฐ บาล ดอกเบีย 10% ไม่มคี นซือเลย (ราคาหน้าตัว
1000 บาท ขายกันแค่ 800-900บาท ผมว่าน่าจะตัวเลขนี เพราะขณะทีผมอ่านนัน ผมยังเรียนอยู่มธั ยม
ต้น จึงจําไม่ค่อยได้ เอาเป็น concept ไปแล้วกัน) เพราะเห็นว่าฝากเงินธรรมดาก็ได้มากกว่าแล้ว แต่พอ
หลังจากทีฟองสบู่แตกได้ 1-2 ปี อัตราดอกเบียเงินฝากลดลงเหลือ 1-3% พันธบัตรฉบับนัน ผมไม่แน่ ใจ
ว่าราคามันเท่าไหร่ แต่ถ้ามันยังไม่ครบกําหนดไถ่ถอนมันคงราคาสูงกว่า 1,000 บาท แน่ๆ

คนอ่านคงมีคําถามในใจเพิมมาอีกแล้วว่า ทําไมราคาช่วงแรกจึงราคาตก แล้วทําไมราคาช่วง


หลังจึงน่าจะสูงกว่า 1,000 บาท คําตอบก็คอื การฝากเงินธรรมดา อยากถอนเมือไหร่กถ็ อนได้ เป็นสิงที
ความเสียงตําทีสุด ยังมีทรัสต์หรือบริษทั เงินทุนทีให้ดอกเบียถึง 13% ดังนันพันธบัตรรัฐบาลก็ควรจะมี
ผลตอบแทนอย่างน้อยเท่ากัน ในกรณีนีพันธบัตรให้อตั ราดอกเบียเพียง 10% จึงเกิดการ Discount ราคา
ลงมาจนเทียบเท่ากัน (ราคาหน้าตัว 1000 บาท อาจจะซือขายกันที 770บาท เพือให้อตั ราผลตอบแทน
อยูท่ ี 13%) ซึงในทางกลับกัน หลังฟองสบู่ปี 2540 แตกลง คนหาแหล่งเงินฝากทีปลอดภัยได้ดอกเบีย
เยอะๆ พันธบัตรฉบับนีจึงมีราคาสูงขึนนันเอง

ในขณะทีกองทุนรวม คือการทีเค้าบริหารเงินให้เรา โดยมืออาชีพ มีทงแบบที


ั ลงทุนในตราสาร
หนีล้วนๆ แบบลงทุนในตราสารทุน (หุน้ ) และแบบผสมผสาน โดยให้ผลตอบแทนคืนมาแก่เรา ในขณะที
เค้าเองก็คดิ ค่าบริหารนิดๆ หน่อยๆ การลงทุนในกองทุนรวมก็จะมีความเสียงสูงขึนมาอีกนิด

ส่วนการลงทุนในหลักทรัพย์ คือ การซือหุ้น หรือการทีเราเข้าไปเป็นส่วนหนึงในกิจการ ซึงมี


ความเสียงในระดับสูงทีสุด เพราะเป็นการทีเราลงทุนจริงๆ ดังนันนอกจากจะต้องคัดเลือกบริษทั ทีน่ า
ลงทุน ผู้บริห ารมีธรรมาภิบาล ทีการเติบโตและทีสําคัญคือมีป ันผลทุกปี แล้วนัน ยัง ต้องลงทุน ให้ถูก
ช่วงเวลาอีกด้วย ผมขอยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายๆ แล้วกันว่า โตโยต้า คัมรี ป้ ายแดง ราคา 3,000,000
บาท เทียบกับโตโยต้า โซลูน่า วีออสป้ ายแดง ราคา 200,000บาท ผมเดาว่าคนคงเลือกซือวีออสมาก

6|P a ge
กว่าจะซือคัมรี แต่ ใ นบางปี ค ัม รีอาจลดราคามาขายที 800,000บาท ขณะทีวีอ อสราคาขึนไปเป็ น
3,000,000 บาท ก็เป็นไปได้..

สิงทีผมกําลัง จะบอกคือ เมือเราดูส มรรถนะของมันว่าใช้ดีแล้วนัน ป ัญหาคือ เราควรจะซือ


เมือไหร่ ป ัญหามันไม่ได้อยูท่ คัี มรีหรือวีออส ป ัญหามันอยูท่ ราคาเท่
ี าไหร่ เท่านันเอง เบืองต้นในบท นีผม
บอกได้ว่า การลงทุน ในหุ้น ไม่ จําเป็ น จะต้องรีบซือ แต่ค วรซือในวัน ที คนร้อนเงิน (หรือเกิด วิกฤต
เศรษฐกิจ) ราคาจะลงมาตํา หรือเกิด discount นันเอง และทีสําคัญทีสุดคือ เราต้องลงทุนในวันทีเรา
พร้อม คือ มีความรูค้ วามเข้าใจทีดีพอแล้วเท่านัน ในบทนํานัน ผมเขียนว่าราคาตลาดของบริษทั ปูนซิ
เมนต์ไทย จํากัด อยูท่ ี 32,400 บาท (พาร์ 100) หรือ 324 บาท (พาร์ 1) ในป ัจจุบนั เชือหรือไม่ว่าในสิน
ปี 2551 นัน ราคาอยู่ท ี 79 บาท แต่ไม่มคี นกล้าซือในขณะทีผลตอบแทนทีเป็นเงินป ันผล สูงถึง 14%
เมือเทียบกับราคาปิดสินปี 2551 และเมือเทียบกับผลประกอบการปีล่าสุด ถ้าเราซือในราคา 79 บาท เรา
จะได้ป ันผล ในงวดปี 2553 คือ 12.50 บาท คิดเป็น 15.7% ทีเดียว โดยกําไรทีทําได้ราว 32 บาทต่อหุ้น
นัน นํามาป ันผลให้เรา 12.50 บาท และนําเกือบๆ 20 บาท ไปลงทุนต่อ ซึงหากเราซือในป ัจจุบนั ทีราคา
324 บาท มันก็เป็นเงินป ันผลเพียง 3.8% เท่านัน ต้นทุนซือทีต่างกัน ทําให้เราได้ผลตอบแทนทีต่างกัน
มากทีเดียว และจากตัวอย่างทีแสดงให้เห็น ก็ตอ้ งการจะบอกว่าการซือหุน้ ในระยะเวลาทีนานกว่าก็ไม่ได้
หมายความถึงผลตอบแทนทีดีกว่า ผลตอบแทนทีดีกว่าเกิดจากการเข้าซือในระดับราคาทีตํากว่า

สรุปความคิ ดในบทนี – เงิ นเฟ้ อกัดกร่อนเงิ นของเรา ถ้าเราทําให้เงิ นงอกเร็วกว่าเงิ นเฟ้ อ


ไม่ได้ เงิ นของเราก็ด้อยค่าลงนันเอง..

7|P a ge
บทที 2 การลงทุนก็คือการลงทุน..
ผมเชือว่าหลายๆ คน คงเคยคิดจะไปทํากิจการอะไรซักอย่างเพือให้เงิน เก็บงอกเงย และก็
สามารถทีจะเป็นรายได้เสริมนอกเหนือไปจากการทํางานประจํา และหลายๆคนก็คงเคยลองทีจะลงทุน
ทํากิจการ ผมเองก็เช่นเดียวกันทีลงทุนในกิจการต่างๆ หลายต่อหลายครัง และพบว่าเป็นเรืองทีเหนือย
หนักหนามากทีเดียว และส่วนมากทีผมลงทุนก็จะไม่ประสบความสําเร็จ..

ทําไมจึงเป็นเช่นนันเล่า ผมกลับมาย้อนนึกถึงวันทีผ่านไปและประสบการณ์ ทได้


ี จากการลงทุน
ผมพบว่าตัวเองมีขอ้ บกพร่องหลายๆ ประการ ดังนี

ข้อแรก คือ ผมไม่ได้มคี วามชํานาญอย่างแท้จริง ในสิงทีได้ลงทุน ไป หรืออาจจะเป็ นการขาด


ประสบการณ์ ถ้า ผมยัง เติมเงิน ใส่ ใ นกิจ การเรือยๆ บางทีอ าจจะประสบความสําเร็จ ก็ไ ด้ ถ้า ผมมี
ประสบการณ์มากพอ แต่คาํ ถามคือว่า มันจะเป็นเหตุผลนีแต่ประการเดียวจริงหรือ ทีจะทําให้ผมประสบ
ความสําเร็จ

ข้อสอง คือ ผมไม่ได้มคี วามได้เปรียบในการแข่งขัน หรืออาจพูดได้ว่า ในตลาดการค้าเดียวกัน


นัน อาจมีค่แู ข่งเป็นคนทีผูกขาดตลาดหรือมี connection ทีดี หรืออาจมีคนทีประสบการณ์สูง หรืออาจ
เป็นคนทีมีทุนหนามากๆ หรือเค้าอาจจะเป็นคนทีมีทงั 3 อย่างพร้อมกันเลย

ข้อสาม คือ การลงทุนทีผมได้ลงทุนไป อาจจะไม่ถูกกับ “จริต” ของผม ซึงผมว่ามีส่วนจริง เพราะ


ในรอบหลายปีทผ่ี านมา ผมแนะนําให้คนหลายคน ลงทุนในหลักทรัพย์ แม้ว่าจะแนะนําเหมือนๆกัน แต่
คนทีได้กาํ ไรก็จะได้กาํ ไรอย่างสมําเสมอ ในขณะทีคนทีขาดทุน ก็ขาดทุนอย่างสมําเสมอเช่นกัน ซึงผม
คาดว่าอาจจะมาจากพืนฐานการคิดทีแตกต่างกัน การลงทุนก็ไม่มถี ูกมีผดิ มันอยู่ทการคิ
ี ดอย่างเป็นเหตุ
เป็นผล คิดอย่างแยบคายหรือทีเรียกว่า “โยนิโสมนสิการ” และในวันนีก็เช่นกัน ผมก็ยงั คงแนะนําว่า การ
ลงทุนเป็นสิงทีต้องศึกษา ถ้ารับได้กล็ องดู ถ้ารับไม่ได้กไ็ ม่เป็นไร

จากเหตุผลทังสามข้อ ทําให้เรารูว้ า่ การลงทุนเป็นความเสียง โดยเฉพาะถ้าเราไปลงทุนกับอะไร


ทีเราไม่เคยทํา สถิตกิ บ็ อกไว้ชดั ว่าคนทีทํากิจการ 100 แห่ง ในช่วง 5 ปีแรกจะเหลือเพียง 5 แห่ง และ
พอครบ 20 ปี จะเหลือเพียงแห่งเดียว..

อ้าวแล้วถ้าแบบนัน เราควรจะทํายังไงกัน.. คําตอบในใจผมก็คอื แล้วทําไมเราถึงไม่ไปลงทุนใน


กิจการทีมันคง มีการผูกขาดตลาด ในขณะทีมีผู้บริหารมืออาชีพดูแลจัดการ และให้ป ันผลเราทุกปีใ น
ตลาดหุน้ ล่ะ..

8|P a ge
บางคนอาจจะถามต่ อ ว่า เราจะมันใจได้ย งั ไงว่า บริษ ัท ทีเราลงทุ น มัน ไว้ใ จได้ คํา ตอบคือ
ดูทประวั
ี ตกิ ารเติบโตย้อนหลังหลายๆ ปี และก็ดูผู้สอบบัญชี ถ้าเป็นผู้สอบบัญชีใหญ่ อย่างสํานักงาน
บัญชีเอินส์แอนด์ยงั อันนีก็จะเป็นเรืองทีดีทเี ดียว และถ้าเป็นรัฐวิสาหกิจ ผู้สอบบัญชีกจ็ ะเป็นสํานักงาน
ตรวจเงินแผ่นดิน ซึงทําการตรวจสอบอย่างเข้มข้นในแทบจะทุกบรรทัดของงบการเงินทีเดียว..

อ่านมาถึง ตรงนีแล้ว ผมก็ขอเรียนยําว่า สิงหนึงทีแสดงถึง ความมันคงของกิจการ คือความ


เข้มแข็งเหนือตลาด เป็นอันดับหนึงในประเทศในกิจการของมันเอง โดยมีการเติบโตของสินทรัพย์และ
เงินป ันผล และเราก็อาจจะมีเหตุผลทีดีพอทีร่วมเป็นส่วนหนึงของกิจการ ในวันทีราคาเหมาะสม ไม่แพง
จนเกินไป (ก็เราเลือกลงทุนได้นีนา ถ้าเราคิดว่าแพง เราก็แค่ไม่ซอ) ื หุน้ ทีป ันผลดีๆ สมําเสมอ ผมเชือว่า
น่าจะมีซกั 20-30 บริษทั และหุน้ ทีมีความสามารถในการผูกขาดตลาดด้วยความยิงใหญ่ของมันเอง ผม
ว่ามีถึง 5-10 บริษ ัท ทีเดียว ในช่วงเวลาหนึงๆ หุ้น เหล่านีจะมีร าคาแพงมหาศาล (รวมถึง ช่วงเวลา
ป ัจจุบนั ) แต่ในวันทีเกิดวิกฤตขนาดใหญ่ๆ ราคามันจะถูก Discount ลงมาให้เราซือได้โดยไม่มคี วาม
ลังเล แม้วา่ อาจจะต้องรอถึง 5-10 ปีกต็ าม สําคัญแต่ว่าในวันนันเราได้มคี วามเข้าใจมากพอทีจะลงทุน
หรือไม่ เพราะโอกาสจะเป็นของผูท้ อยูี ใ่ นจังหวะทีพร้อมจะฉกฉวยได้เท่านัน ในทีนีคือ มีเงินพร้อมทีจะ
ไปซือและมีความรูใ้ นการเลือกหุน้ .. ถ้าเปรียบเทียบก็เหมือนเวลาทีไข่ราคาสูง คนทีจะได้ประโยชน์ ก็คอื
คนทีเลียงไก่ไข่ ซึงมีความชํานาญและมีไก่ไข่อยูแ่ ล้วในมือ ไม่ใช่คนทีเพิงจะมาคิดได้ว่า ไข่ราคาสูงมาก
น่าจะเลียงไก่ไข่จงั เลย..

แนวคิดทีผมแนะนํา ก็เลยยังเป็นเหมือนเดิม คือ การลงทุนในหุน้ ป ันผล กินเงินป ันผล และปล่อย


ให้มนั เติบโตไปเรือยๆ ไม่ต้องไปขายเมือราคามันขึนไป และไม่ต้องกังวลเมือราคามันตกลงมา (ก็ใ น
ความเป็ น จริง ถ้ าเราจะลงทุ น ทํา อะไร เราจะขายมัน ทิงไปหรือ ถ้ ามัน มีก ารเติบโตอย่างต่ อเนื อง)
ดัง นัน“เราจึง ต้องการป ันผล ไม่ใ ช่ส่วนต่างของราคา ” ถ้าหุ้น ทีเราซือมีความสามารถในการแข่ง ขัน
เป็นเบอร์หนึงในตลาดจริงๆ ไม่วา่ จะมีวกิ ฤตหนักเท่าไหร่ มันก็ตอ้ งรอด เพราะบางคนอาจถามว่าแล้วมัน
จะเจ๊งหรือไม่ เพราะเราอาจจะวางเงินเก็บทังหมดไว้กบั มัน ผมก็จะอธิบายว่า เราไม่จาํ เป็นต้องซือหุ้นใน
บริษทั เดียว เราอาจจะกระจายไป 3 หรือ 5 หรือ 10 บริษทั ก็ได้ และถ้าเรายังไม่มนใจ
ั เราก็อาจจะไม่ตอ้ ง
ทุ่มทุนสร้างขนาดนัน คิดถึงเวลาทีเราเพิงหัดขับรถใหม่ๆ มีใครกล้าขับรถทีความเร็ว 160 กิโลเมตรต่อ
ชัวโมงบ้าง หลักการคิดเดียวกัน เมือเริมศึกษาและยังไม่ชาํ นาญ การค่อยเป็นค่อยไป น่าจะเป็นเรืองทีดี..

สรุ ป ความคิ ดในบทนี – การลงทุ น ในบริ ษั ท ที ประสบความสํ า เร็ จ แล้ ว และมี


ความสามารถในการผูกขาดตลาด น่ าจะดีกว่าเราไปลงทุนเอง แต่เราอาจจะควรกระจายความ
เสียง และรอซือในเวลาทีเหมาะสม..

9|P a ge
บทที 3 ความแตกต่างของสิ นทรัพย์..
ผมเชือว่าตอนนีหลายๆ คนทีได้อ่านมาถึงตอนนี คงเริมอยากทีจะมองหาการลงทุนทางเลือก
อืนๆ กันแล้ว แต่กอ็ ยากทีผมได้เรียนว่า การลงทุนด้วยความเข้าใจ จะนํามาซึงการประสบความสําเร็จ
และความสุข ในบทนี เราจะมาเรียนรูก้ นั ในเรืองของความแตกต่างของการลงทุนในสินทรัพย์แต่ละแบบ
กันอีกสักนิดหนึง เพือให้เกิดความเข้าใจทีชัดเจนมากขึน ในตอนนีอาจจะหนักหัวสักหน่อย แต่จะช่วยให้
เข้าใจ concept ในการลงทุนมากขึนทีเดียว..

ถ้าเรามองดีๆ เราจะเห็นว่าสินทรัพย์ในการลงทุนของเรา ไม่ว่าจะเป็นเงินสด เงินฝากธนาคาร


พัน ธบัตรรัฐ บาล ทองคํา หรือ แม้แ ต่หุ้น ป นั ผล มัน มีการเปลียนแปลงมูลค่ าในสองรูป แบบด้ว ยกัน
แบบทีหนึง ก็คอื การงอกเงยจากการทีตัวมันเองไปทําประโยชน์แล้วเกิดดอกผล เช่น ฝากธนาคารได้
ดอกเบีย หรือ ว่า ซือหุ้น แล้วได้ป ันผล เป็ น ต้น ส่ว นแบบทีสอง คือ การทีราคาของตัวมัน เองมีการ
เปลียนแปลงมูลค่า จากการทีมีการตีคุณค่าของมันในช่วงเวลาหนึงๆ ยกตัวอย่างเช่น การขึนราคาของ
ทองอย่างรวดเร็ว หรือการทีหุ้นขึนจากราคาทีเราซือ เป็นต้น ซึงการเปลียนแปลงในรูปแบบที สอง
มันก็เป็ นไปได้ทีว่ามันอาจจะมีมูลค่าลดลงก็เป็ นได้ จากความต้องการทีลดลง ซึงบางทีเรามองไม่
ถนัดนัก ก็เพราะทีจริงแล้วแม้แต่ค่าเงิน บาทก็ยงั มีการปรับตัวขึนและลง แต่เทียบกับเงินสกุลอืน มัน
เปลียนแปลงในทุกๆ วินาที แต่เราไม่ได้สงั เกตเพราะเรายังคงใช้เงินบาทซือสินค้าและไม่ได้ต้องการเงิน
สกุลอืน มันสะท้อนถึงความแน่ นอนของธรรมชาติในเรืองของ “ความไม่เทียง” นันเอง.. แล้วมันเกียว
อะไรกับการลงทุนล่ะ ทีมันเกียวก็คอื เราไม่ควรยึดติดกับอะไรเพียงประเภทหนึง ความกระจายความ
เสียงออกไปในหลายๆ ส่วน ไม่กองสิน ทรัพย์ทุกอย่างไว้ในรูปเดียวกับ เพราะหากเกิดเหตุการณ์ไ ม่
คาดคิดก็อาจทําให้เสียหายหนักได้...

และหากเรามองการเปลียนแปลงมูลค่าทังสองแบบแล้ว เราจะสังเกตเห็นว่าสินทรัพย์การลงทุน
บางอย่าง มีการเปลียนแปลงมูลค่าทังในแบบทีหนึงและแบบทีสอง ยกตัวอย่างเช่น ฝากเงิน หรือซือ
พันธบัตรได้ดอกเบีย ซือหุน้ ได้ป ันผล เป็นต้น แต่สนิ ทรัพย์บางอย่างมีการเปลียนแปลงเฉพาะในแบบที
สองเท่านัน เช่น ทองคําหรือโลหะต่างๆ หรือแม้แต่อญ ั มณี เป็น ต้น ก็เพราะว่าตัวมันเองไม่ไ ด้ไ ปทํา
ประโยชน์อะไรให้เกิดรายได้ขนมาึ นอกเสียจากการเป็นสินค้าประเภทหนึงเท่านัน ราคาของมันจึงขึนอยู่
กับการตีความมูลค่าในช่วงเวลาหนึงๆ เท่านัน.. แล้วผมกําลังต้องการสือถึงอะไร..

ในช่วงตอนแรกๆ ผมกล่าวถึง “เงินเฟ้ อ” ซึงก็คอื การทีเงินลดมูลค่าลง มันมากัดกร่อนเงินใน


กระเป๋ าเรา จากการทีราคาสิน ค้าทีสูง ขึน ทุกวัน ทุกวัน ทุกวัน ..... เราก็คงพบว่าถ้าเราฝากเงิน ใน
ธนาคารหรือซือพันธบัตรนัน ต้นเงินของเราก็จะถูกเงินเฟ้ อกัดกร่อนมูลค่าของมันลงไปเรือยๆ คือเงินต้น

10 | P a g e
มันลดลง แต่เราก็ยงั ได้ดอกผลจากการทีเงินของเราไปสร้างประโยชน์ แต่เราก็ตอ้ งรอลุน้ ว่าเงินเฟ้ อมันจะ
วิงมาทันดอกผลทีงอกเลยหรือไม่ หรือว่ามันแซงไปแล้ว

ขณะทีการลงทุนในทองคําหรือโลหะหรืออัญมณี ก็ถือว่าเป็นสินค้าประเภทหนึง เช่นเดียวกับ


หมู เห็ด เป็ด ไก่ ทัวไป จึงเป็นสินทรัพย์ทสามารถป้
ี องกันอัตราเงินเฟ้ อได้ เพราะเงินเฟ้ อกัดกร่อนมูลค่า
ของเงิน พอเงินลดมูลค่าลง ก็ตอ้ งซือสินค้าแพงขึน ราคาทองคํา และอืนๆ ก็จะปรับตัวขึนโดยปริยาย แต่
ข้อเสียคือ ถ้าเราไม่นํามาแปรรูป หรือนํามาใช้ประโยชน์ มันก็จะไม่มดี อกผลให้เรา ดังเช่น การซือทองคํา
แท่ง หรือเพชร เก็บไว้ ซึงการเปลียนแปลงมูลค่าเป็นการเปลียนแปลงมักจะเป็นในทางทีเพิมขึน จาก
อัตราเงินเฟ้ อ และจากความต้องการทีมากขึนนันเอง ตอนนีบางคนคงเกิดคําถามในใจว่า ทําไมทองถึง
ขึนราคาเยอะล่ะ ทังๆทีอัตราเงินเฟ้ อก็ไม่ได้สงู ..

ย้อนกลับในช่วงปี 2554 เราจะเห็นว่า ทองราคาขึนจาก 17,000 บาทไปสูงสุดที 27,000 บาท


หรือมีราคาสูงขึนถึงร้อยละ 50-60 ทีเดียว ทังๆ ทีเงินเฟ้ อเพียงแค่รอ้ ยละ 2-3 เท่านัน (ถ้านําไม่ท่วมตอน
ปลายปี เงินอาจจะเฟ้ อถึงร้อยละ 4.5 ทีเดียว) ทีมันเป็นแบบนันก็เพราะว่า ในตลาดโลกนัน คนไม่ไว้ใจ
ในค่าเงิน โดยเฉพาะเงินเหรียญสหรัฐ และเงินยูโร จึงได้เก็บสินทรัพย์เอาไว้ในทองคําและโลหะมีค่าอืนๆ
(ซึงมีร าคาขึนเช่นเดียวกัน แต่ไม่ได้รบั ความนิยมเท่ากับทอง) การทีราคาพุ่งสูง ขึนนัน ทําให้เกิดการ
“เก็งกําไร” จากความต้องการทีสูงขึน นันคือ หากอัตราเงินเฟ้ อของโลกอยู่ทร้ี อยละ 2 โดยแท้จริงแล้ว
ทองคําควรมีราคาปรับตัวสูงขึนเพียงร้อยละ 2 แต่กลับขึนถึงร้อยละ 50-60 ซึงเป็น”แรงเก็งกําไร” คือมี
คนบางกลุ่มต้องการซือทองเพราะไม่อยากให้เงินตัวเองลดค่าลง ต่อมาก็มคี นอีกกลุ่มรูส้ กึ ว่าทองอาจจะมี
ความต้องการมากขึน จึงแห่ตามเข้าไปซือเพราะคิดว่าราคาจะขึน แล้วก็ตามเข้าไปๆๆ ประเด็นก็คอื ถ้า
เราตามไปซือสินทรัพย์เช่นทองคํา ในราคา 27,000 บาท แล้วราคาร่วงลงมาอยู่ท ี 23,000 บาท เงินของ
เราก็จะลดลงทันที นีแหละคือความน่ากลัวของการ “เก็งกําไร” ก็คอื “มีได้มเี สีย” นันเพราะว่าพอคนกลุ่ม
หนึงได้กาํ ไรจากราคาทองทีปรับตัวสูงขึน ก็จะขายออกมา จนทําให้เกิดการตืนตระหนกขายกันออกมา
เรือยๆ จนราคาร่วงลงมาดังกล่าว และถ้าหากเรามองย้อนหลังไป 50 ปีทผ่ี านมานัน ทองคํามีอตั ราปรัขนึ
เฉลียปีละ 3.72% เท่านัน

แต่ถ้าหากเรานําเงินฝากซึงโดนกัดกร่อนจากเงินเฟ้ อ มาลงทุนในหุ้นป ันผล หุ้นป ันผลของเรา


ประกอบกิจการต่างๆ ตามครรลองของมัน ซึงเมืออัตราเงินเฟ้ อสูงขึน ราคาสินค้าและบริการต่างๆ สูงขึน
กําไรจากการประกอบการก็จะมากขึนเป็นเงาตามตามตัว นอกจากทีตัวของหุ้นป ันผลเองสาม ารถรักษา
มูลค่าของมันได้แล้ว มันยังสามารถประกอบกิจการจนได้ดอกผลเฉกเช่นเดียวกับการฝากเงินหรือซือ
พันธบัตรด้วยซํา และถ้ายังจําได้ ผมบอกว่า “กิจการบางแห่งมีกําไรสมําเสมอทีอัตรา 20% ของเงิน
ลงทุน มันอาจจะป ันผลให้เรา 5% ส่วนอีก 15% นําไปลงทุนต่อให้ได้กาํ ไรงอกเงย” แต่อนั ทีจริงแล้วอัตรา
11 | P a g e
20% ทีมีกาํ ไรนัน มันได้รวมอัตราเงินเฟ้ อเข้าไปแล้วนันเอง ยกตัวอย่างว่าถ้าเราซือหุ้นมาม่า ถ้าอัตรา
เงินเฟ้ อสูงขึน มาม่าก็จะขึนราคา พอมันขึนราคากําไรก็สูง ขึนนันเอง ดังนันจึง กล่าวได้ว่า หุ้น ก็เป็น
สินทรัพย์ทป้ี องกันเงินเฟ้ อได้ดเี ช่นเดียวกัน แต่เราก็ตอ้ งไม่ลมื ว่าถ้าเราซือหุน้ ทีมี ”แรงเก็งกําไร” เข้าไป
หรือซือในช่วงเวลาทีไม่เหมาะสม เราก็อาจขาดทุนหรือหุน้ มีมลู ค่าลดลงได้เช่นเดียวกัน

สรุปความคิ ดในบทนี – สิ นทรัพย์บางอย่างมีผลตอบแทนที ดีสมําเสมอ แต่ไม่สามารถ


ป้ องกันอัตราเงิ นเฟ้ อได้ ในขณะที สิ นทรัพย์บางอย่ างสามารถป้ องกันอัตราเงิ นเฟ้ อได้ แต่ก็มี
ความเสียงจากการเก็งกําไร..

12 | P a g e
บทที 4 เวลาหรือจังหวะทีเหมาะสม..
ในชีวติ ผมมีเรืองสุด classic ในด้านการลงทุนอยูเ่ รืองหนึง ทีผมจําได้ไม่ลมื ทีเดียว เป็นเรืองของ
กิจการของบ้านเพือนผมเอง ทีทําโรงงานผลิตขนมส่งออก เรืองมันก็มอี ยูว่ า่ ..

เมือราวๆ 20 ปีทแล้
ี ว คุณพ่อของเพือนผมคนนี ได้ไปเช่าโรงงานไว้ และสนใจทีจะทําสิงทอหรือ
ทีเราเรียกกันว่า garment ซึงในขณะนันอยู่ในช่วงทีอุตสาหกรรมนีกําลังโรยรา แต่ด้วยความทีไปเซ้ง
โรงงานไว้แล้วถึง 30 ปี จึงต้องหากิจการอะไรซักอย่างมาทํา และดูเหมือนคุณพ่อของเพือผมจะมีโชค
จากโอกาสทีมาจากความล้มเหลวของบางคน นันก็คอื .. วันหนึงโรงงานขนมโรงงานหนึงเกิดไฟไหม้ ทํา
ให้กจิ การถูกไฟเผาจนหมด เจ้าของกิจการจึงไม่อยากลงทุนทํากิจการใหม่ จึงได้เลิกกิจการและประกาศ
ขายสินทรัพย์ออกมาทังหมด ในจํานวนนันมีเครืองจักรจากเยอรมัน ราคาถึงสิบล้านบาท (ในปี 2535)
แต่ถูกขายออกมาเป็นเศษเหล็ก เนืองจากไฟไหม้จนแทบใช้งานไม่ได้แล้ว ในวันนันคุณพ่อของเพือนผม
จึงไปขอซือต่อในราคาสองแสนบาท พร้อมกับซืออะไหล่และจ้างวิศวกรจากต่างประเทศมาซ่อมแซม รวม
ใช้เงินประมาณ สองล้านบาท ปรากฏว่าได้เครืองจักรจากเยอรมันมาใช้ แม้วา่ จะไม่ใช่ของใหม่แกะกล่อง
ก็ตาม.. ผลทีเกิดขึนคือเครืองจักรยังคงทํางานได้ดจี นถึงป ัจจุบนั ในขณะทีต้นทุนของโรงงานนีก็ตํามาก
จึง มีข้อได้เปรียบด้านต้น ทุน โดยสามารถขายได้ราคาถูกกว่ารายอืนๆ จากกรณีนี เราจะเห็น ได้ว่า
ตําแหน่ ง ในการลงทุนอยู่ในตําแหน่ งทีดี คือ ลงทุนเครืองจักรได้ใ นราคาตํา ทําให้ต้นทุนการผลิตตํา
สามารถตังราคาขายได้ในราคาตํา ในขณะทีหากการลงทุนผิดพลาดก็อาจจะไม่เจ็บตัวมาก ในขณะทีถ้า
หากมีคนจะขอซือเครืองจักรในราคาสูงกว่าสองล้านบาท ก็อาจจะสามารถขายได้โดยไม่ลงั เล..

แล้วมันเกียวอะไรกับการลงทุนล่ะ?? ทีมันเกียวก็เพราะว่ามันเกียวกับเวลาหรือจังหวะการลงทุน
ทีเหมาะสม ในการเข้าถือสินทรัพย์รวมถึงหุ้นป ันผลก็เช่นเดียวกัน เพราะราคาในแต่ละช่วงเวลามีการ
เปลียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ทําให้ต้นทุนทีลงทุนไป กับผลตอบแทนทีได้มคี วามแตกต่างกัน ดังทีผมได้
ยกตัวอย่างในบทก่อนๆ ว่า

“ในสินปี 2551 นัน ราคาอยูท่ ี 79 บาท แต่ไม่มคี นกล้าซือในขณะทีผลตอบแทนทีเป็นเงินป ันผล


สูงถึง 14% เมือเทียบกับราคาปิดสินปี 2551 และเมือเทียบกับปีล่าสุด เราซือในราคา 79 บาท เราจะได้
ป ันผล ในงวดปี 2553 คือ 12.50 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.7% ทีเดียว โดยกําไรทีทําได้ราว 32 บาทต่อ
หุน้ นัน นํามาป ันผลให้เรา 12.50 บาท และนําเกือบๆ 20 บาท ไปลงทุนต่อ ซึงหากเราซือในป ัจจุบนั ที
ราคา 324 บาท มันก็เป็นเงินป ันผลเพียง 3.8% เท่านัน..”

13 | P a g e
เพราะเราได้ทราบไปในบททีแล้ว ถึง “แรงเก็งกําไร” ทีทําให้สนิ ทรัพย์ ราคาพุ่งสูงขึน ซึงจริงๆ
แล้วยังมีแรงอีกแรงหนึง คือ “แรงขาย” นันเอง โดยที “แรงขาย” เกิดได้ในหลายสาเหตุ สาเหตุหลักๆ ก็
น่าจะมาจาก “ความกลัว” และ “ความจําเป็น”

ความกลัว ก็คอื ความกังวลว่าสินทรัพย์จะราคาลดลงไป ทังๆ ทีบางครังตัวสินทรัพย์เองไม่ได้มี


การเปลียนแปลงอะไรเลย แต่มาจากความกลัวอนาคต ความไม่แน่ น อนทีจะเกิดขึน ดังเช่น ช่วงการ
จลาจลในกลางปี 2553 ซึงราคาหุ้นร่วงระเนระนาด และกลับมายืนทีเดิมในอีก 2 เดือนถัดมา คนทีได้
ประโยชน์คอื คนทีเข้าไปซือกิจการในช่วงนัน ในขณะทีคนทีขาดทุน คือคนทีกลัวและขายออกมา ซึงก็
อย่างทีเราได้เคยคุยกัน “การลงทุนไม่มถี ูกมีผดิ ” การทีบางคนกลัวและขายออกมาก็เพือความสบายใจ
ของตน และความสบายใจก็อาจจะแลกกับการทีต้องซือกลับในราคาทีสูงขึน เพราะหากเรามองในเหตุ
ป ัจจัยแล้วนัน แม้ว่า จะเกิดจลาจล แต่บริษทั ปูน ซิเมนต์ไ ทย หรือปตท. ก็ยงั ดําเนิน กิจ การต่อไป แต่
ในช่ ว งเดือ นพฤษภาคม 2553 ทีเกิด จลาจลนัน ราคาหุ้น ของปูน ซิเมนต์ไ ทยลดลงถึง ร้อ ยละ 15
ขณะทีหุน้ ปตท.ลดลงร้อยละ 10

ความจําเป็ น ก็คอื ความร้อนเงิน จําเป็นต้องรีบใช้เงินในระยะเวลาหนึงๆ ทําให้ถูกบีบให้ขาย


ทังๆ ทีอาจจะไม่อยากขาย บางทีอาจเกิดขึนในระดับของบุคคล ซึงอาจจะส่งผลต่อระดับราคาเพียง
เล็กน้อย แต่บางครังก็เกิดจากสถาบันการเงินหรือกองทุนใหญ่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงกองทุนต่างชาติ ที
อาจจะต้องนําเงิน กลับไปแก้ป ัญหาในประเทศ ดังเช่นในช่วง สิง หาคม – ตุลาคม 2554 ทีผ่านมา ซึง
ระดับราคาหุ้น ของปูน ซิเมนต์ไ ทยและ ปตท. ลดลงถึง ร้อยละ 30 ซึงนอกจากความจําเป็ น ของเงิน
ต่างชาติทไหลกลั
ี บออกไปแล้วนัน ยังมี แรงขายจากความกลัวปะปนเข้ามาด้วย ราคาจึง ลดลงอย่าง
รวดเร็ว จนเมือเริมมีความชัดเจนในอนาคตมากขึน ราคาก็กลับมาทีเดิม

สิงทีผมเล่ามาทังหมด อยูใ่ นประเด็นเดียวก็คอื การลงทุนควรอยูใ่ นจังหวะทีเหมาะสม ในจังหวะ


ทีความเสียงตํา ซึงบางครังอาจจะต้องรอเวลาทีเหมาะสม บางคนอาจบอกว่า ถ้ารอนานไปก็อาจจะเสีย
โอกาสในการลงทุนไปเปล่าๆ แต่ผมเองก็ขอเรียนยําว่า “การลงทุนไม่มถี ูกมีผดิ ” และผมกําลังให้ความรู้
เกียวกับการลงทุนในสินทรัพย์เสียง ดังนัน ผมจึงต้องแนะนําการลงทุนในมุมของการ conservative ให้
มากทีสุดเท่าทีจะเป็นไปได้ และเน้นให้เกิดความเข้าใจ เพือให้ผู้อ่านนําไปประยุกต์และต่อยอดได้ต่อไป
ซึงถ้าหากเป็นตัวผมเอง ผมจะลงทุนในกิจการทีใหญ่โต มีการผูกการการตลาดจากความใหญ่โตของมัน
เอง มีธรรมาภิบาล และป ันผลต่อเนือง โดยเข้าซือในเวลาทีคนกลัวและขายออกมาในราคาตํา

หลายๆท่าน คงจะเริมสงสัยแล้วว่า เราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่าบริษทั ใดเหมาะในการลงทุน มีวธิ กี ารใด


ในการคัดเลือก สําหรับเรืองนี จะได้ถูกกล่าวถึงในบททีเกียวกับการวิเคราะห์หุ้นอย่างแน่ นอน นอกจาก

14 | P a g e
จะมีรายละเอียดในการวิเคราะห์หนุ้ แล้ว ก็จะยังมีวธิ กี ารสังเกตจังหวะหรือเวลาทีเหมาะสมในการลงทุน
ให้ได้เรียนรูก้ นั อีกด้วย..

สรุปความคิ ดในบทนี – การลงทุนในจังหวะเวลาที เหมาะสม ทําให้ไ ด้ เปรียบได้ด้ าน


ต้นทุนและผลตอบแทน ในขณะทีมีความสุขความสบายใจจากระดับต้นทุนทีตํา..

15 | P a g e
บทที 5 ความเสียง..
ข้อสังเกตอย่างหนึงของการทีเราฝากเงินในธนาคารแล้วกินดอกเบีย ทีจะแตกต่างกับการลงทุน
ในกิจการหรือสินทรัพย์ต่างๆ ก็คอื เรากลัว “ความเสียง” เพราะถึงแม้วา่ ผมจะได้อธิบายไปแล้วว่า แม้แต่
การฝากเงินไว้อย่างปลอดภัย แม้ตน้ เงินจะอยูค่ รบถ้วน แต่กย็ งั มีความเสียงในการทีจะถูก “เงินเฟ้ อ” กัด
กร่อนมูลค่าของมันลงไป ถ้าเป็นแบบนันแล้ว มีวธิ กี ารใดบ้างทีเราจะสามารถดูแลเงินของเราให้มมี ูลค่า
เติบโตอย่างยังยืนได้บา้ งล่ะ เพราะการลงทุนในรูปแบบต่างๆ มันก็มี “ความเสียง” ทังนัน แต่มนั มีหลักอยู่
อย่างหนึงซึงเป็นข้อเท็จจริงทีสําคัญ คือ เป็นเรืองทีหายากมาก ทีเราจะเจอคนรวยทีรวยจากการฝากเงิน
ในธนาคารเพียงอย่างเดียว โดยไม่ทําธุรกิจใดๆ เลย เพราะความเป็นไปได้จะอยู่แค่ในกลุ่มของผู้ทมีี
ทักษะสูงหรือเงินเดือนสูงเท่านัน ทีไม่ตอ้ งลงทุนก็รวยได้..

เราเคยสังเกตตัวเราเองหรือไม่ ว่าเราเองล้วนแต่เป็นนักวางแผน เช่นว่า “วันนีจะทําอะไร จะกิน


อะไรดี ตืนมาต้องรีบซักผ้าก่อนและเอาไปตาก จะได้ออกไปดูหนังแล้วกลับมาเก็บผ้าตอนเย็น แต่ถ้าฝน
ตกก็แย่ล่ะ สิ ต้องบอกแม่ไ ว้ก่อนว่าให้เก็บผ้าให้ด้วยถ้าฝนเริมลงเม็ด ” อะไรทํานองนี ซึงมัน ก็ไ ม่ไ ด้
แตกต่างจากการลงทุน ซึงตัวเราเองก็จะมีชุดความคิด (mind-set) ในหัวทีคล้ายๆ กัน ดังนี

เวลาทีเราจะลงทุนอะไรสักอย่างหนึง มักจะมีอยู่สงหนึ
ิ งทีเราต้องการรู้ก่อนทีจะลงทุน นันก็คอื
“เมือไหร่จะคืนทุน” หรือว่าเมือไหร่ทต้ี นเงินของเราจะกลับมาในกระเป๋ าเราครบ ซึงถ้าระยะเวลาคืนทุน
เร็ว ก็จะสร้างความสบายใจให้กบั เราได้มากขึน และถ้ายังจําได้ เมือตอนทีแล้วผมได้เรียนว่าการลงทุนใน
ต้นทุนทีตําทําให้เกิดความได้เปรียบ ทังได้แง่ของเม็ดเงินลงทุนทีน้อยกว่าและผลตอบแทนทีสูง ดังนัน
เราก็ตอ้ ง ”วางแผนการลงทุน”

เอ๊ะ!! นีมันเกียวกับ ”ความเสียง” หรือเปล่า.. คําตอบก็คอื เกียวข้องโดยตรงทีเดียว เพราะในช่วง


ต่อจากนีผมจะอธิบายถึงวิธีททํี าให้เสียงน้อยลง โดยการทําให้ “เกิดการคืนทุนทีเร็ว” และโดยการ ”
กระจายความเสียง” แต่ถ้าจะถามว่ามีอะไรที “ไม่เสียง” หรือไม่ ผมก็ตอบให้ได้ทนั ทีว่า “คงไม่ม”ี เพราะ
ทุกวันนีชีวติ ของเราทุกคนก็ยงั อยูท่ ่ามกลาง ”ความเสียง” ด้วยกันทังนัน จนกว่าทีเราจะรู้อนาคตได้ เรา
ถึงจะพูดได้วา่ “ไม่เสียง” แต่เราก็ยงั คงจํากัดความเสียงได้ จากการวางแผนทีดี..

กลับมาทีหลักของการ ”คืนทุน” สมมติวา่ เราพูดถึงเงินฝากประจํา 100 บาท ทีอัตราดอกเบียร้อย


ละ 3 ต่อปี ซึงไม่เสียงต่อการกินทุน (และไม่เอาเงิน เฟ้ อเข้ามาเกียวข้อง) นันก็ห มายความว่าเราได้
ผลตอบแทนทีร้อยละ 3 โดยไม่มคี วามเสียง ผมสมมติว่าเราเอาดอกเบียไปฝากทบต้นเพือกินดอกเบีย
เมือครบ 20 ปี เงินทีเราลงทุนทังหมดจะกลายเป็น 180 บาท หรืออัตรากําไรที 80% ในระยะเวลา 20 ปี
(ในขณะทีเงินเฟ้ อวิงนําหน้าไปเท่าแล้วก็ไม่ทราบได้)
16 | P a g e
ทีนีถ้าเรากลับมาทีการลงทุนในหุน้ ป ันผลบ้างล่ะ จะเป็นอย่างไร..

ถ้าเราลองพิจารณาดู การลงทุนในหุน้ นัน ราคาพร้อมจะปรับตัวขึนหรือลงได้ทุกเมือ เพือให้ง่าย


ต่อการทําความเข้าใจ ผมสมมติ ให้เราลงทุนไปแล้ว ไม่สามารถถอนได้อีกเลย คือทุนจมลงไปเลย
โดยลงทุนไป 100 บาท ในราคาของหุน้ ทีทําให้เราได้อตั ราการป ันผลทีร้อยละ 5 ต่อปี และหากบริษทั มี
การขยายงานออกไปทําให้บริษทั มีกําไรทีสูงขึน และป ันผลให้เราได้มากเพิมขึนอีกร้อยละ 1 ต่อปี นัน
หมายความว่า ในเวลา 20 ปี เราจะได้ เงินกลับคืนมาที 290 บาท หักต้นเงินออกไป 100 บาท เท่ากับว่า
เราจะได้กาํ ไรร้อยละ 190 ต่อการลงทุน 20 ปี ซึงมากกว่าดอกเบียของการฝากประจําถึง 2.3 เท่า และนี
ยังไม่นบั มูลค่าหุน้ ทีเราไม่ได้ขาย ซึงหากเราลงทุนในหุน้ ทีดีในเวลาทีเหมาะสมแล้ว มูลค่าของมันอาจจะ
ทวีค่าขึนไปได้อกี หลายเท่าตัวนัก ซึงโดยอัตราการเติบโตนี หากอัตราป ันผลเติบโตขึนในอัตราร้อยละ 1
มูลค่าหุ้นทีเราถืออาจสูง ได้ถึง 5 เท่า หรือร้อยละ 500 ในช่วงเวลา 20 ปี ทเี ดียว และอาจจะทํากําไร
ทังหมดได้ทอัี ตราร้อยละ 690 ต่อการลงทุน 20 ปี..

และหากถามว่าเรืองแบบนีเกิดขึนจริงได้หรือไม่ มันก็เป็นไปได้จากการซือหุ้นช่วงซัมเมอร์เซล
ทีผมได้เรียนไว้ในบทก่อนๆ แล้ว มิหนําซําอัตราการป ันผล อาจสูงได้ถงึ ร้อยละ 15 ต่อปีดว้ ยซําไป แต่ขอ
ยําว่าต้องซือให้ถูกช่วงเวลา ขนาดจะซือกระเป๋ าหรือเสือผ้า เรายังต้องรอให้มนั ลดกระหนําแล้วค่อยไปซือ
เลย นับประสาอะไรกับการลงทุนเพือความยังยืนในชีวติ ของเรา ตัวอย่างทีผมยกให้ดูในการลงทุนหุ้น
บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย ก็เป็นตัวอย่างทีดี นอกจากนียังมีการเติบโตของบริษทั ปตท. บริษทั บ้านปูซงขาย

ถ่านหิน บริษทั เครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือแม้แต่หนุ้ มาม่า ก็เป็นในลักษณะเดียวกัน แต่ไม่ได้ความว่าให้
ไปซือในราคาป ัจจุบนั นะครับ เพราะราคาตอนนี อาจไม่ทาํ ให้เราได้เปรียบในการลงทุน ดังทีได้เน้นยํากัน
มาในตอนก่อนๆ แล้ว..

ทีนีก็มาถึงช่วงสุดท้ายของตอนที 5 นี การลงทุนอย่างไรเสียก็ยงั วางใจไม่ได้ทงหมด


ั หากเรามี
ความต้องการลงทุนจริง ๆ สิงทีเราควรทําก็คอื การกระจายความเสียง การกระจายความเสียงในการ
ลงทุนในหุน้ ป ันผลลักษณะเดียวกัน หากเกิดการผิดพลาดทางเทคนิคกับหุ้นตัวใดตัวหนึงแล้ว ก็อาจทํา
ให้ผลตอบแทน ร้อยละ 190 (ของเวลา 20 ปี) หดตัวลงมาได้ หากผมสมมติว่าลงทุนในหุ้นทังสามตัว
เท่าๆ กัน หากมีการผิดพลาดตัวใดตัวหนึง ผลตอบแทนอาจหดตัวลงมาเหลือร้อยละ 120 ก็เป็นไปได้
แต่อย่างไรก็ตาม ผมเชือว่ากิจการทีเราลงทุนหรือสนใจจะลงทุน อาจจะเป็นกิจการธนาคารหรือปิโตรเคมี
ขนาดใหญ่ ทีมีอตั รากําไรทีสมําเสมอ มีการเติบโตทีมันคง และมีการบริหารทีเป็นมืออาชีพ ถ้าหากว่าเรา
ซึงเป็นผู้ถือหุ้นจะต้องสูญเงินไปจากกิจ การเหล่านีล้ม ผมว่าเงินฝากของเราในบัญชีกอ็ าจจะไม่รอดก็
เป็นได้ เพราะวิกฤตมันคงต้องถาโถมรุนแรงจริงๆ

17 | P a g e
ดังนันในบทนี ผมจึงต้องการจะนําเสนอแค่วา่ การลงทุนในหุ้นป ันผลทีดี ยิงระยะเ วลาผ่านไป ก็
จะยิงทําให้สนิ ทรัพย์ของเราทวีมูลค่ามากขึน เพราะเราลงทุนในกิจการโดยแท้จริง และถ้าท่านสังเกต
ทังหมดทีผมได้นําเสนอ ผมเน้นให้เกิดการลงทุน โดยได้ผลตอบแทนเป็ นเงิ นปันผล มิใช่การเก็งกําไร
ทีได้กาํ ไรจากการขายหุน้ ออกไป (แต่ถ้าอยากขายก็สามารถขายออกไปได้ ทังนีเป็นความสบายใจของ
แต่ละบุคคล ซึงไม่มถี ูกมีผดิ ) คือผมอยากให้เกิดการลงทุนด้วยความสุขทียังยืน โดยเราเองก็สามารถ
กระจายความเสียงได้ จากการลงทุนในหุน้ ป ันผลหลายๆตัว อดทนรอซือในช่วงทีเราพร้อมและเป็นช่วง
ลดราคา เพราะว่าบางครัง ป ัจจัยพืนฐานของกิจการทีเราจะไปลงทุนนัน ไม่ได้เปลียนแปลงอะไรเลย หรือ
เปลียนแปลงน้อยมาก แต่ระดับราคาลดลงตํากว่าครึงหนึง จากความกลัวและความจําเป็นต้องขายออก
ของนักลงทุนบางประเภท ซึงเป็นโอกาสทองในการลงทุน ซึงหากเราจะสามารถคว้าโอกาสนันได้ เราก็
คงต้องมีเงินทีนอนนิงๆ ในธนาคารทีพร้อมจะเข้าไปซือหุน้ ในราคาตํา และควรจะต้องเป็นเงินทีเย็นจริงๆ
คือ ไม่มภี าระทีจะต้องนําไปใช้จ่ายในระยะเวลาอันสัน เพือให้เราสามารถปล่อยให้เวลาช่วยเพิมมูลค่า
ให้กบั กองสินทรัพย์ของเรา

สรุปความคิ ด ในบทนี – บางครังการไม่ย อมเสี ยงอะไรเลย ก็อาจทําให้ เราต้ องเสี ยง


มากกว่าทีคิ ด แต่การเสียงจะต้องมาจากการวางแผนทีดี ควบคุมความเสียงในระดับที เรารับได้
ซึงหากทําได้ดี ความเสียงทีเกิ ดขึนอาจจะน้ อยมากกว่าทีเราคิ ดก็เป็ นได้..

18 | P a g e
บทที 6 วางใจเป็ นกลาง อย่าเล็งผลเลิ ศ..
เมือช่วงเริมต้นทีเขียน ผมได้กล่าวถึงประโยคทีว่า “คนทีลงทุนในหุ้น 10 คน จะมีคนเดียวทีมี
กําไร อีก 1 คนเสมอตัว และอีก 8 คนขาดทุน” ซึงแสดงว่ากําไรของคนๆหนึง อาจจะมาจากการขาดทุน
ของคนหลายๆ คน ซึงมันน่ าแปลกรึเปล่า ทีทุกคนเข้ามาในตลาดหุ้น โดยมีความมันใจว่าตัวเองจะได้
กําไร (เพราะถ้าไม่คดิ ว่าจะได้กาํ ไร คงไม่เข้ามาซือหุน้ เพราะคงไม่มใี ครทีอยากจะขาดทุน)

ถ้าเราลองคิดดูตามหลักของความเป็นจริง เราเองก็เป็ นคนๆหนึง ซึงไม่ไ ด้มีความรู้ด้านการ


ลงทุนสูงไปกว่าเจ้าหน้าทีกองทุนระดับสูง ถ้าเรามองในมุมนัน เราแทบจะไม่มโี อกาสได้กําไรเลยทีเดียว
แล้วเราจะล้มเหลวในการลงทุน.. อย่างนันใช่หรือเปล่า??

คําตอบของคําถามนีก็คอื มันอยูท่ มุี มมองของการลงทุน ซึงนําไปสู่พฤติกรรมการลงทุนของเรา


เอง โดยนักลงทุนส่วนมาก (หรือว่าจะเรียกว่านักเก็งกําไรดีนะ) หวังผลกําไรจากมูลค่าสินทรัพย์ทเพิ
ี มขึน
หรือลดลงเป็นหลัก โดยมองอัตราของการป ันผล เป็นเรืองรองลงมา หรืออาจไม่ได้คํานึงถึงเลยด้วยซํา
การคิดในลักษณะนี จะทําให้เกิดการเลือกหรือคัดสรรหุน้ ไปในทางทีมุ่งซือเพือหวังส่วนต่างกําไร ไม่ได้
คํานึงถึงสัดส่วนทางการเงินแบบละเอียด รวมไปถึงอาจไม่ได้สนใจศึกษารายละเอียดของตัวหุ้นทีทําการ
ลงทุนเลยด้วยซําไป การคาดหวังกําไรก็สงู ตามไปด้วย อาจคาดหวังสูงถึง 20-100% ต่อปีหรือมากกว่า
ซึงเป็นอัตราทีค่อนข้างสูง แล้วทุกอย่างมันก็มกั จะไม่ได้เป็นไปตามทีติด นันเป็นสิงทีนักลงทุนหลายๆ
ท่าน “เล็งผลเลิศ” จนมากเกินไป นันก็เพราะว่า การลงทุนนัน หากได้ผลตอบแทนซัก 5-10% ต่อปีได้
อย่างต่อเนืองก็เป็นสิงทีน่ายินดีมากแล้ว เมือเทียบกับการทีเราไม่ต้องเหน็ดเหนือยก่อตังบริษทั และมา
นังบริหารเอง..

ซึงการหวังผลในอัตราทีสูงในระยะเวลาทีรวดเร็ว ค่อนข้างจะแตกต่างจากแนวทางทีผมแนะนํา
อยูพ่ อสมควรทีเดียว แนวทางทีผมแนะนํา เป็นการซือหุน้ โดยมุ่งเน้นอัตราการป ันผลเป็นหลัก โดยทีการ
ป ันผลทีผ่านมา จะต้องสมําเสมอหรือมีความต่อเนือง ซึงนันหมายความว่างบการเงินของบริษ ัทต้อง
แข็งแรงและเติบโตอย่างต่อเนือง แม้วา่ ในบางปีทไม่
ี สามารถป ันผลได้ แต่ถ้าหากอยู่ในเหตุผลทียอมรับ
ได้ ยกตัวอย่างเช่น เกิดภาวะนําท่วม ทําให้ผลิตไม่ได้ หรือขายไม่ได้ อันนีเราก็จะพอเข้าใจได้ (แต่ถ้า
หากนําท่วมจนทําให้บริษทั เสียหาย จนไม่อาจฟืนฟูได้ อันนีเป็นอีกเรืองนะครับ) พอเรามีความตังใจใน
การเข้าซือโดยคิดจากอัตราเงินป ันผลทีมีต่อเนืองยาวนานแล้ว เราก็จะมองงบการเงินอย่างละเอียด โดย
เราอาศัยจังหวะการเข้าซือทีผมได้เน้นยํามาตลอดว่า เข้าซือในเวลาทีคนอืนขาย ในช่วงทีสภาวะตลาด
ถูกบิดเบือน จากการทีเกิดป ัจจัยทีไม่เกียวกับบริษทั ทําให้ระดับราคาลดตําลง และมันก็มกั จะเป็นกับ
บริษทั ใหญ่ๆ ทีเม็ดเงินจากต่างชาติเข้ามาลงทุน เพราะเวลาทีเงินย้ายออกไป ระดับราคาก็จะร่วงลงทันที

19 | P a g e
บางคนอาจสงสัยว่า เป็นเรืองทียากหรือไม่ทจะศึ
ี กษาและเรียนเรืองการลงทุน จนถึงขนาดทีว่า
สามารถเข้ามาลงทุนได้ ผมขอเล่าให้ฟ ังว่า ผมได้มคี นรู้จกั อยู่คนหนึง ซึงไม่ได้เรียนจบด้านบัญชี และ
ไม่ได้เก่งคณิตศาสตร์เลย อยากลิมลองทีจะลงทุน มีความเข้าใจเกียวกับตลาดหลักทรัพย์ว่า จะต้องซือ
มาขายไป หลักจากทีผมได้แนะนําและเค้าได้มคี วามตังใจจริงในการศึกษาเกียวกับหุน้ ป ันผล ทุกวันนีเค้า
มีความเข้าใจในการลงทุน และสามารถทํากําไรได้ตามอัตภาพ มีกองสินทรัพย์ทเติ ี บโตขึนตามกาลเวลา
ซึงทําให้เค้ามีกาํ ลังใจ และมีความสุขในการลงทุนอย่างมาก เพราะถึงแม้เค้าจะไม่ได้ทํากําไรในระดับสูง
เหมือนนักลงทุนทีมีพรสวรรค์หลายๆท่าน แต่เค้าก็ไม่ขาดทุนและมีความสุขกับเงินป ันผลทีเติบโตขึนทุก
วันๆ ในขณะทีดูหนุ้ ของตัวเองเติบใหญ่ขนเรื
ึ อยๆ จากความสําเร็จนํามาซึงความสุข ทําให้เกิดความรัก
ในการลงทุน เค้าทําการศึกษาเพิมเติมอย่างต่อเนืองจนสามารถอ่านและแกะงบการเงินในระดับพืนฐาน
ได้อย่างคล่องแคล่ว และก็มากเพียงพอทีจะใช้ตรวจสุขภาพของหุ้นทีตนเองถือไว้ และแน่ น อน เค้า
กระจายความเสียงโดยการลงทุนในหุน้ ป ันผล 5 ตัว ซึงทําให้เค้าสบายใจในการลงทุนเป็นอย่างมาก

จากทีผมกล่าวมาทังหมด เราก็อาจจะสรุปได้ว่า ในการลงทุน เราจะต้องวางใจเป็นกลาง อย่า


มองว่า อะไรยากเกิน ไป หรือ ว่ า ง่ า ยเกิน ไป และการคาดหวัง ในผลตอบแทนก็ค วรอยู่ใ นระดับ ที
สมเหตุสมผล การลงทุนทีอยูใ่ นระดับพอดีๆ ทําให้เรามีความสุข ซึงนันเป็นเหตุผลสําคัญทีเราต้องการ
ไม่ใช่หรือ และสิงทีผมได้อธิบายในบทนี ผมพยายามทีจะแยกพวกเราออกมาจากนักลงทุนทัวไป ทีมี
กําไร 1 คน เสมอตัว 1 คน และขาดทุน 8 คน นันเพราะเราไม่ได้มุ่งแสวงกําไรจากส่วนต่างจากราคา แต่
เราเป็นนักลงทุนโดยแท้จริงทีมุ่งลงทุนในกิจการทีดี มีเงินป ันผล และส่งต่อความมังคังให้แก่รุ่นลูกรุ่ น
หลานอย่างมีเสถียรภาพ..

สรุปความคิ ดในบทนี – ถ้าเราเป็นนักลงทุน โดยทีมุ่งเข้าไปลงทุนในกิจการอย่างแท้จริง หาก


ลงทุนด้วยความรอบคอบ จะนํามาซึงความสุข จากกองสินทรัพย์และเงินป ันผลทีงอกเงยตามกาลเวลา..

20 | P a g e
บทที 7 สรุปแนวคิ ดพืนฐานในการลงทุน
จากทีได้อ่า นมาทัง 6 บทแล้ว ผมเชือว่าผู้ท ีอ่ านจบมาถึง ตรงนี คงจะมีค วามสนใจลงทุ น
พอสมควรทีเดียว และผมขอเรียนยําว่า การลงทุ น เป็ น สิงทีต้องค่อยเป็ น ค่อยไป ไม่มีอะไรทีเราจะ
สามารถประสบความสําเร็จได้ในระยะเวลาทีรวดเร็ว โดยทีไม่ได้พยายามอะไรเลย เพราะหากการลงทุน
ทําได้ง่ายดายขนาดนัน เราคงเห็นแต่บุคคลทีประสบความสําเร็จในการลงทุนอย่างมากมาย

สิงต่อมาทีผมได้เน้นยํามาตลอดก็คอื การคาดหวังในอัตรากําไรทีจะเกิดขึน ถึงแม้ว่าเราจะได้


ทําการศึกษาเรืองการลงทุนมาเป็นอย่างดีแล้ว มันก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะสามารถทีจะสร้างผลกําไร
ได้มากกว่าคนอืน โดยการกินส่วนต่างราคาทีเพิมสูงขึน มิหนําซําอาจทําให้มูลค่าของหุ้นทีเราถือครอง
ลดตําลงไปด้วยซํา แต่อย่างน้อยทีสุด สิงๆ หนึงทีค่อนข้างมีความแน่นอน หากเราพิจารณาเลือกหุ้นป ัน
ผลอย่างถีถ้วน ก็คอื “เงินป ันผล” ทีกิจการจะจ่ายออกมาอย่างสมําเสมอ และเมือเปรียบเทียบกับการฝาก
เงินในธนาคารหรือการซือพันธบัตร สิงนีก็คอื “ดอกเบีย” นันเอง

แน่ น อนว่าการลงทุน ในหุ้น ป ันผล นํามาซึงความเสียงทีอาจจะดูมากกว่าการฝากเงิน เพือกิน


ดอกเบีย แต่เราต้องมองว่าการทีเราเข้าไปซือหุน้ ป ันผล ก็เปรียบได้กบั เราไปร่วมทุนประกอบกิจการ ซึง
เราเองก็ตอ้ งตรวจสอบสุขภาพของกิจการทีเราจะเข้าไปลงทุน โดยดูการประกอบการย้อนหลังหลายๆ ปี
มันก็คงคล้ายๆ กับการทีเราจะคบกับใครซักคนเพือแต่งงาน เราเองก็ยงั ต้องศึกษาอดีตและใช้เวลาซัก
ระยะในการคบกัน มันก็เป็นเหตุผลเดียวกับการลงทุน ซึงเราต้องวางเงินออมของเราเข้าไปลงทุน..

แต่แม้กระนันก็ตาม การลงทุนในหุ้นป ันผล ก็มีขอ้ ดีหลายๆอย่าง ซึงก็เป็นเหตุผลเดียวกันกับ


การทีคนหลายๆ คนอยากลงทุนมีกิจการของตนเอง สิงนันก็คอื “การเติบโตของกิจการนํามาซึงการ
เติบโตของกําไร” เพราะเป็นทีแน่ นอนว่าการลงทุนฝากเงินในธนาคารหรือการลงทุนในพันธบัตรคงไม่
สามารถสร้างให้ตน้ เงินงอกเงยออกมาได้ แต่ได้รบั เพียงดอกเบียเพียงเล็กน้อยซึงเป็นค่าตอบแทนของ
การทีให้ธนาคาร “ยืมเงินไปใช้” ซึงการทีผลตอบแทนตํา ก็มาจากการทีเราไม่ต้องเข้าไปเสียงอะไร และ
การไม่เสียง ก็นําไปสู่การถดถอยของมูลค่าทีบางครังเราเองอาจจะคาดไม่ถึง ก็คอื การเติบโตของอัตรา
เงินเฟ้ อซึงเราไม่สามารถหลีกเลียงได้ และเป็นประเด็นแรกๆ ทีผมได้นําเสนอทีเดียว..

อย่างไรก็ตาม การลงทุนในหุน้ ป ันผล ถึงแม้วา่ จะไม่ใช่ เรืองยาก แต่กไ็ ม่ใช่เรืองง่ายขนาดทีว่าจะ


ทําได้ในทันที แต่จะต้องทําความเข้าใจในระดับหนึงทีเดียว นันก็เพราะว่าผู้ลงทุนก็จะต้องเรียนรู้การ
คัดเลือกหุ้น ทีจะทําการลงทุน ซึงผมเน้น ยําว่า ควรสนใจเฉพาะ “หุ้นที มีขนาดใหญ่ มีการผูกขาด
การตลาดด้วยขนาดของมันเอง มีอตั ราการเติ บโตของบริ ษทั และอัตราการปันผลที เติ บโตอย่าง

21 | P a g e
ต่อเนื องสมําเสมอ” ซึงก็มอี ยูไ่ ม่น้อยทีเดียวในตลาดหุน้ ไทย และเมือเราพบเจอหุ้นป ันผลเหล่านันแล้ว
มันก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะต้องเข้าไปลงทุนในทันที..

นันก็เ พราะว่า ทุก คนในโลกนีก็เ ห็น ข้อมูล เดียวกับเรา วิเคราะห์ข้อ มูลได้เหมือนกับเรา


เพราะฉะนันการตีราคามูลค่า หรือการเก็งกําไรก็มกั จะทําให้หนุ้ ป ันผลทีเราสนใจเหล่านันมีราคาสูงจนทํา
ให้เราไม่ได้มคี วามคุม้ ค่าในการลงทุนมากนัก และสิงทีเราควรทําคือ “อยูเ่ ฉยๆ” หรือฝากเงินในธนาคาร
อย่างทีเราได้ทาํ มาโดยตลอด แต่เป็นการฝากเงินไว้ เพือรอจังหวะเวลาในการลงทุนทีดี..

และถ้ามองย้อนกลับไปในอดีตทีผ่านมา โอกาสการลงทุนมีเข้ามาเสมอ อาจจะเป็นโอกาสเล็กๆ


ในรอบ 3 ปี หรือโอกาสใหญ่ๆ ในรอบ 5-10 ปี ทีราคาของหุน้ ทีเราเฝ้ ามองมีระดับราคาทีตํากว่าช่วงเวลา
ปกติถงึ 20-80% ซึงก็ทาํ ให้เราเกิดความคุ้มค่าในการลงทุนเป็นอันมาก และแน่ นอนว่า หมายถึงความ
เสียงทีน้อยลงไปด้วย แต่ถ้าเราพิจ ารณาลงไปลึกๆ แล้ว เรายัง คงต้องระมัดระวัง ว่า ถ้าเรายัง ใช้ชุด
ความคิดเดิม ซึงก็คอื “คนในโลกนีก็เห็นข้อมูลเดียวกับเรา” เราก็ตอ้ งดูถงึ สาเหตุทระดั
ี บราคาตกลงมา ถ้า
หากเป็นเหตุการณ์ทเป็ ี นเรืองของความวุ่นวายทางเศรษฐกิจหรือการเมืองทีไม่ได้เกียวข้องโดยตรงกับ
หุน้ ป ันผลทีเราสนใจ มันก็จะเป็นโอกาสงามทีเดียวทีเราจะได้ลงทุน ภายใต้ความกลัวและความจํา เป็นที
จะต้องขายหุ้นของคนบางกลุ่ม เพราะในตลาดหุ้น นัน “บางคนไม่ได้ขายหุ้น เพราะว่าหุ้น ไม่ดี แต่ขาย
เพราะกลัวราคาจะตกลงไปจนทําให้ขาดทุน” และเมือทุกคนคิดไปในทางเดียวกัน คือมองว่าหุ้นมีโอกาส
ลง ทุกคนจะขาย และเป็นโอกาสดีทจะเข้ ี าซือหุน้ ป ันผล..

แต่บางครังหุ้นป ันผลทีระดับราคาลดลง ก็มสี าเหตุทเกิ


ี ดขึนจากตัวมันเอง คือ อาจจะไปลงทุน
ผิดพลาด หรืออาจจะเกิดภัยพิบตั ทิ ทํี าให้เกิดการขาดทุนต่อกิจการ หากเกิดกรณีนี เราต้องพิเคราะห์
อย่างละเอียดว่า สิงทีเกิดขึนนันจะส่งผลระยะสัน หรือส่งผลต่อโครงสร้างระยะยาวของบริษทั เพราะถ้า
มันส่งผลแค่ในระยะสันๆ ก็หมายความว่าปีต่อๆ ไปมันก็จะกลับมาเป็นหุน้ ทีดีได้ดงั เดิม และสิงทีเป็นอยู่
ตอนนีก็คอื โอกาสทองในการเข้าลงทุน ในขณะทีหากสิงทีเกิดขึนทําให้โครงสร้างของบริษทั เปลียนไปเรา
ก็อาจจะต้องมองหุน้ ป ันผลตัวนี ในอีกมุมมองหนึงทีแตกต่างกันออกไป

ซึงในบทต่อไปนี จะเริ มกล่าวถึงในเรืองของความรู้พืนฐานเกียวกับหุ้น ก็จะได้มีการเล่า


เรืองราวของการคัดเลือกหุ้น ทีเต็มไปด้วยความน่ าสนใจและไม่ได้ยากเหมือนทีหลายๆ คนคิ ด..

22 | P a g e
บทที 8 ราคาของหุ้น (ราคาพาร์, ราคาทางบัญชี และราคาตลาด)
ตังแต่บทนีเป็ นต้นไป จะเริมเข้าสู่เนือหาการลงทุนอย่างแท้จริงแล้ว ขอให้อดทนและใช้ความ
พยายามในการศึกษากันนะครับ ผมเชือว่าจะเกิดประโยชน์ในอนาคตอย่างแน่นอน..

ในการลงทุนนัน เราจะได้เจอกับราคาทังหมด 3 ตัวด้วยกัน ได้แก่ ราคาพาร์, ราคาทางบัญ ชี


(มูลค่าทางบัญชี) และราคาตลาด ซึงมักจะทําให้นกั ลงทุนสับสนกันอยูเ่ สมอๆ เพราะเหตุนีเอง ผมจึงต้อง
หยิบยกมาอธิบายตังแต่เริมต้นทีเดียว..

สมมติผมอยากทําโรงงานปลากระป๋ อง ผมได้ทาํ การศึกษาว่าโรงงานปลากระป๋ องต้องใช้เงินทุน


ถึง 100 ล้านบาททีเดียว เอาล่ะสิ.. ผมมีเงินเพียง 30 ล้านบาท ผมจะทํายังไงดีนะ..

ผมคิดออกมาได้วธิ หี นึงก็คือ เอาบริษ ัทเข้าตลาดหุ้น ดีกว่า โดยผมแบ่งหุ้นออกเป็น 10 ล้าน


หน่วย หน่วยละ 10 บาท รวมแล้วก็เป็นเงินทุน 100 ล้านบาทพอดี แล้วผมก็นําหุน้ ออกขายให้กบั คนรูจ้ กั
โดยผมเองถือ เอาไว้ 30 ล้ า นบาท ก็ร วมได้หุ้ น มา 3 ล้า นหุ้ น คิด เป็ น 30% ของหุ้ น ทังหมด
ส่วนอีก 7 ล้านหุน้ หรือ 70% ของหุน้ ทีเหลือ ผมก็ขายออกจนหมด...

ราคาเริมต้นหุน้ ละ 10 บาท นีคือ “ราคาพาร์” หมายถึงราคาทีผูล้ งทุนได้ลงเงินเริมต้นนันเอง..

ปีท ี 1 เงินลงทุน 100 ล้านบาท ปีแรกขายดี ได้กําไรมา 20 ล้านบาท (คิดเป็นกําไร 2 บาทต่อ


หุน้ ) เท่ากับว่าพอสินปีท ี 1 กิจการของผมทังบริษทั มีมูลค่ารวมทังหมด 120 ล้านบาท หุ้นมีอยู่ทงหมด

จํานวน 10 ล้านหน่วย แสดงว่าพอปีท ี 1 ผ่านพ้นไป หุน้ ของผมมีราคาทางบัญชี หรือมูลค่าทางบัญชี ถึง
12 บาทต่อหุน้ เลยทีเดียว (120ล้านบาท / 10ล้านหุน้ ) เป็นการเริมต้นทีสวยงามทีเดียว..

เพือเป็นการขอบคุณผูร้ ่วมลงทุน ผมได้ตดั สินใจป ันผลออกมา 5 ล้านบาท พอนําเงิน 5 ล้านบาท


มาแบ่งกันจํานวน 10 ล้านหน่ วย(หุ้น) ได้เงินป ันผลคนละ 0.5 บาทต่อหุ้น หรือว่า 5% จากนันผมก็นํา
กําไรทีเหลืออีก 15 ล้านบาท ทียังไม่ได้ป ันผล ไปลงทุนต่อ (15 ล้านบาทของบริษทั จะถูกบันทึกเอาไว้
ในงบการเงิน ในส่วนของกําไรสะสมนันเอง) อย่างไรก็ตาม จากการทีผมป ันผลไป 5 ล้านบาท ทําให้
มูลค่าทังบริษทั อยูท่ ี 115 ล้านบาท หรือ 11.5 บาทต่อหุน้ นันเอง

พอผ่านมาปี ท ี 2 จากกําไรในปี แรก ทําให้มีเงิน ทุน หมุน เวียนมากขึน ผมสามารถประหยัด


ดอกเบียเงินกูแ้ ละซือปลามาสต๊อกได้มากขึน ทําให้กาํ ไรสูงขึน ในสินปีท ี 2 ปรากฏว่ากําไรของบริษทั สูง
ถึง 23ล้านบาท (คิดเป็นกําไร 2.3 บาทต่อหุ้นทีเดียว เยอะกว่าปีท ี 1 ซึงทําได้ 2บาทต่อหุ้น จากการที
เงินลงทุนมากขึน) และเมือเทียบกับมูลค่าบริษทั ที 115 ล้านบาท ปีนีทํากําไรได้ 20% ของต้นเงินลงทุน

23 | P a g e
ทีเดียว ตอนนีบริษทั ของผมมีมลู ค่ารวมทังสิน 138 ล้านบาทแล้ว และมีมูลค่าทางบัญชีถึง 13.8 บาทต่อ
หุน้ ทีเดียว..

ผมสังเกตว่าผ่านไป 2 ปี กิจการกําไรดีมากและเป็นโอกาสทองทีจะขยายธุรกิจ ปีนีผมจึงแจ้งผู้


ถือหุน้ ทุกคนว่า ปีนีผมจะไม่ป ันผล แต่จะนําเงินไปลงทุนเพิม ผู้ถือหุ้นทุกคนยินยอม เพราะว่าหากปีนี
กําไรดีเหมือนสองปีทผ่ี านมา ก็จะทําให้ปีหน้ากําไรสูงกว่าปีนีซะอีก กําไรทีได้กเ็ หมือนเดิมคือจะต้องลง
ไปในกําไรสะสมรวมแล้ว 2 ปีทจํี านวน 38 ล้านบาท..

ปรากฏว่าเมือเริมต้นปีท ี 3 มีนกั ลงทุนต่างชาติสนใจในกิจการของผม จึงมาขอซือหุน้ ผมในราคา


20 บาทต่อหุ้น ทังๆทีมูลค่าทางบัญ ชี อยู่ท ี 13.8 บาทต่อหุ้น เท่านันเอง ผมเองก็เห็นว่าเป็ นราคาที
ค่อนข้างดีทเี ดียว ผมจึงขายออกจนหมด ทําให้ผมได้เงินทังหมด จากการลงทุน 2 ปี ดังต่อไปนี

จากการขายหุน้ จํานวน 3ล้านหุน้ * 20บาท คิดเป็นเงิน 60 ล้านบาท และจากป ันผลของหุ้นใน


สินปีท ี 1 จํานวน 3ล้านหุ้น * 0.5 คิดเป็นเงิน 1.5ล้านบาท รวม 2 ปี เงิ นลงทุนของผม 30 ล้านบาท
กลายเป็ น 61.5 ล้านบาท

ราคา 20 บาททีผมได้ขายไป นีคือ ”ราคาตลาด” นันเอง ซึงขึนอยู่กบั การตีมูลค่าของคนที


ต้องการซือและขายหุน้ ในช่วงเวลาหนึงๆ นันเอง

แต่วา่ พอผมขายบริษทั ไปแล้ว ผมก็ได้ลาออกจากการเป็นผูบ้ ริหารในทันที ผูบ้ ริหารคนใหม่ทเข้ ี า


มา มีหน้ าทีทีจะต้องนําบริษทั ทีมีมูลค่ารวมถึง 138 ล้านบาท ให้อยู่ร อดต่อไป.. แต่ว่าโชคร้ายทีเกิด
เหตุ ก ารณ์ นํ าท่ ว มขึน ทําให้โ รงงานไม่ ส ามารถผลิต ได้ และปลาทีสต๊ อ กเอาไว้ก็เ น่ า เสีย ทังหมด
ในสินปีท ี 3 ปรากฏว่าบริษทั ขาดทุน 68 ล้านบาท คิดเป็นอัตราขาดทุนทีสูงถึง 6.8 บาทต่อหุ้นทีเดียว
(68ล้านบาท/10ล้านหุน้ ) ตอนนีบริษทั นี มีมลู ค่าทังบริษทั เหลืออยูเ่ พียง 70 ล้านบาท หรือคิดเป็น 7 บาท
ต่อหุน้ เท่านัน (ทุน ณ สินปีท ี 2 คือ 138ล้านบาท - 68ล้านบาททีขาดทุนในปีล่าสุด) ในทางบัญชีตอนนี
จากทีบริษทั เคยมีกาํ ไรสะสมถึง 38 ล้านบาท ในวันนีจะต้องบันทึกกลับเป็นขาดทุนถึง 30 ล้านบาทแล้ว..

จากเหตุการณ์ดงั กล่าว บริษทั ทีเคยมีราคาตลาดถึง 20 บาทต่อหุน้ (เมือสินปีท ี 2) แต่ปรากฏว่า


ผู้ถือหุ้น ทังหลายไม่เชือมันในบริษ ัทอีกแล้ว จึง พากัน ขายหุ้นออก โดยยอมขายหุ้นในราคาเพียงแค่
5 บาทต่อหุน้ (แม้วา่ บริษทั จะยังมีมูลค่าทางบัญชีสูงถึง 7 บาทต่อหุ้น) ซึงผมเล็งเห็นว่าถ้าผมจะซือทัง
บริษทั ผมใช้เงินเพียง 50ล้านบาทเท่านัน (10ล้านหุ้น*5บาท) ผมจึงตังโต๊ะรับซือหุ้นทังหมดมาบริหาร
เอง โดยผมใช้เงินทังหมดเพียง 50ล้านบาท ในการซือหุน้ ของบริษทั ทีมีมลู ค่าจริงๆ ถึง 70 ล้านบาท

24 | P a g e
และด้วยความทีผมรูส้ กึ ว่าหุน้ มีขนาดใหญ่เกินไป คือ มีราคาถึงหุ้นละ 5 บาท (จํานวน 10 ล้าน
หุน้ ) จากพาร์ 10 บาทเมือเริมต้น ผมจึงขอทําการแตกพาร์ จากพาร์ 10 บาท เป็นพาร์ 1 บาท คือการทํา
ให้จํานวนหุ้น เพิมขึน ในสัดส่วนเดียวกันทีทําให้มูลค่าต่อหุ้นลดลง โดยเปลียนจาก “หุ้น ละ 5 บาท
จํานวน 10 ล้านหุน้ ” เป็น “หุน้ ราคา 0.5บาท จํานวน 100ล้านหุ้น” ตอนนีหุ้นผมมีราคาตลาดเปลียนไป
แล้วนะครับ ยําอีกที จาก 5 บาทต่อหุน้ เป็น 0.5 บาทต่อหุน้ แต่หนุ้ มีจาํ นวนเพิมขึนจาก 10 ล้านหุ้นเป็น
100 ล้านหุน้ ..

ในมุมของทางบัญชี มูลค่าทางบัญชีเดิมทีราคา 7 บาทต่อหุ้น ก็จะกลายเป็น 0.7 บาทต่อหุ้น


จากการทีแตกจํานวนหุน้ ลงมานันเอง โดยมูลค่ารวมทุง้ บริษทั มิได้ลดลงนะครับ..

หลักจากแตกพาร์เสร็จ ผมก็ทํากิจการต่อไป ปรากฏว่า กิจการของผมทํากําไรได้ถึง 35 ล้าน


บาท หรือคิดเป็น 0.35 บาทต่อหุ้น (35 ล้านบาท/100 ล้านหุ้น) ทีเดียว ทําให้มูลค่าของบริษทั เพิมขึน
จาก 70 ล้านบาทเป็น 105 ล้านบาท และในทางบัญชีจากทีต้องบันทึกขาดทุนสะสมในปีก่อนถึง 30 ล้าน
บาท ปีนีสามารถบันทึกกําไรได้เป็น 5 ล้านบาทแล้ว

เมือคิดกําไรจากต้นเงินของกิจการ ต้นเงินของกิจการในปีท ี 3 มีมลู ค่า 0.7 บาทต่อหุน้ กําไรทีได้


0.35 บาทต่อหุน้ คิดเป็น 50% เลยทีเดียว แต่เดียวก่อน ผมกําไรมากกว่านันนะ เพราะผมซือบริษทั นีมา
เพียงแค่ 0.5 บาทต่อหุ้นเท่ านัน (5 บาทก่อนแตกพาร์) ดัง นันปีนีหุ้นตัวนีทําให้เงิน ของผมเพิมขึนถึง
70% ของเงินลงทุนเริมต้น (ทีกลับเข้ามาซือหุน้ อีกครัง)

ผมตัดสินใจป ันผลออกมา 5 ล้านบาท หรือ 0.05 บาทต่อหุ้น คิดเป็นเพียงแค่ 7.1% เมือเทียบ


กับต้นเงินทีเป็นมูลค่าทางบัญชี แต่เมือเทียบกับต้นทุนทีผมได้ลงทุนซือหุน้ ตัวนีกลับมาอีกครัง ปีนีผมได้
ป ันผลถึง 10% ซึงเยอะจนน่าพอใจ ในขณะทีผมก็ยงั มีกจิ การทียังทํากําไรได้ต่อไป....

ทังหมดนีเป็นตัวอย่างทีอธิบายเกียวกับราคาพาร์ ราคาทางบัญ ชี และราคาตลาด อาจจะอ่าน


แล้วงงๆนิดหนึง แต่ขอให้ค่อยๆทบทวน จะเข้าใจได้ไม่ยากนัก..

สรุปความคิ ดในบทนี – ราคาพาร์ คือราคาคูณกับจํานวนหุ้นเริ มต้นลงทุน (บอกจํานวน


หุ้นทังหมด) ราคาทางบัญชี หรือมูลค่ าทางบัญชี คื อราคาของบริ ษัทเปรียบเสมือนเนื อแท้ ของ
บริ ษัท หากหารด้ว ยจํานวนหุ้นทังหมดจะได้ มูลค่ าทางบัญชี ต่อหุ้น และราคาตลาดซึงเป็ นค่ า
ความนิ ยมของบริ ษทั ในช่วงเวลาหนึ งๆ เป็ นราคาปัจจุบนั ของหุ้น

25 | P a g e
บทที 9 อัตราส่วนความคุ้มค่าในการลงทุน
(P/E ratio, P/BV ratio และ Divident yield)

บททีแล้วเราได้เรียนรูเ้ กียวกับราคาแล้ว ทําให้เราทราบว่า ราคาพาร์ ราคาทางบัญชี และราคา


ตลาด มีความหมายทีแตกต่างกัน ในบทนี เราจะพูดกันถึงอัตราส่วนทีแสดงถึงความคุม้ ค่าในการลงทุน

อัตราส่วนต่างๆ ทีเกียวกับความคุม้ ค่าในการลงทุนทีนิยมใช้ มี 3 ตัว ก็คอื

ตัวแรก เรียกกันว่า พีอเี รโช (P/E ratio) มีทมาจากการเอาราคา


ี (price) ทีเราซือหารด้วยกําไร
ต่อหุน้ (earning per share) ซึงหมายถึงว่า ราคาทีเราลงทุนไปนัน บริษทั ต้องทํากําไรกีรอบบัญชี (กีปี)
จึงจะมีกาํ ไรเทียบเท่ากับเงินทีเราลงทุนไป ยกตัวอย่างเช่น หุน้ ตัวหนึงราคา 20 บาท มีกําไรต่อหุ้นอยู่ท ี
2 บาทต่อหุน้ ก็หมายความว่า หุน้ ตัวนีมี P/E ratio อยูท่ ี 10 เท่า หรือว่าหุ้นอีกตัวหนึงราคา 40 บาท มี
กําไรต่อหุน้ อยูท่ ี 8 บาทต่อหุน้ ก็หมายความว่า หุน้ ตัวนีมี P/E ratio อยูท่ ี 5 เท่า เป็นต้น จากหุ้นสองตัว
ทีได้ยกตัวอย่างไปสังเกตได้วา่ แม้ตวั ทีสองจะมีราคาสูงกว่า แต่วา่ ก็มคี วามคุม้ ค่าในการลงทุนมากกว่าหุน้
ตัวแรก ซึงจะสังเกตได้วา่ P/E ratio แสดงถึงปริมาณกําไรต่อหุน้ เมือเทียบกับเงินทีเราลงทุนไป แต่การ
นําไปใช้ยงั มีขอ้ ทีต้องระวัง เนืองจากกําไรต่อหุน้ แต่ละตัว อาจไม่มคี วามสมําเสมอ และทําให้เราเข้าใจผิด
ในอัตรากําไรต่อหุน้ ได้

ตัวทีสอง เรียกกันว่า พีบเี รโช (P/BV ration) มีทมาจากการเอาราคา


ี (price) หารด้วยมูลค่าทาง
บัญชีต่อหุ้น (book value) หมายถึง การทีเราเทียบราคาทีซือหุ้นกับมูลค่าทางบัญชีของมัน เพือใช้ใน
การดูความคุม้ ค่าในการลงทุน ยกตัวอย่างเช่น หุ้นตัวแรกราคา 5 บาท มีมูลค่าทางบัญชีต่อหุ้น 2 บาท
แสดงว่า P/BV อยูท่ ี 2.5 เท่า หมายถึงเราซือในราคาทีแพงกว่ามูลค่าทางบัญชีถึง 2.5 เท่า หรือหุ้นตัว
สองราคา 50 บาท แต่มมี ลู ค่าทางบัญชี 100 บาท แสดงว่า P/BV อยูท่ ี 0.5 เท่า หมายความว่าเราซือหุ้น
ในราคาเพียงครึงเดียวของมูลค่าทางบัญชี ซึงมูลค่าทางบัญชีคอื มูลค่าทีแท้จริงของหุ้นตัวนันๆ ข้อควร
ระวังในการใช้ P/BV ก็คอื การทีเราต้องตรวจสอบว่าสินทรัพย์หรือหนีสิน ซึงนํามาคิดเป็นมูลค่าทาง
บัญชี มีการคิดคํานวณอย่างถูกต้อง หรือมีขอ้ สงสัยอะไรหรือไม่ ยกตัวอย่างการทีสินค้าบางอย่างซึง
ล้าสมัยได้ บันทึกลงไปในมูลค่าสินค้าคงคลัง เมือเวลาผ่านไปแล้วได้มกี ารหักค่าเสือมลงไปหรือไม่ เป็น
ต้น และนอกจากนี ถ้าเราคิดตามหลักของเหตุผ ล ของดีมกั ราคาไม่ถูก หุ้น ดี ก็ไม่ควรมี P/BV ทีตํา
เกินไปนัก ซึงการที P/BV ตํา เราต้องตรวจสอบว่าเกิดจากสาเหตุใด ซึงในบางครังทีตลาดตกตําอย่าง
หนัก ก็เป็นไปได้ทว่ี าหุ้นทีทํากําไรได้ดี จะมี P/BV ตํามากๆ ดังเช่น ช่วงวิกฤต subprime ในปี 2008

26 | P a g e
นันเอง แต่กไ็ ม่ไ ด้ห มายความว่า หุ้นที P/BV สูงจะเป็ นหุ้นดีเสมอไป เพราะมีหุ้น จํานวนมากมายที
เจ้าของหุน้ ทําราคาหุน้ ตัวเองให้สงู เพือขายออกให้กบั ประชาชนทัวไป ก่อนจะทุบราคากลับลงมา..

ตัวสุดท้าย ซึงเป็นสิงทีสําคัญทีสุดในการลงทุน ก็คอื dividend yield ซึงหมายถึง “อัตราเงินป ัน


ผลเมือเทียบกับราคาทีเราซือ” มาจากการเอาเงินป ันผลต่อหุ้นทีได้ มาหารกับราคาทีเราซือหุ้น (ต้นทุน
ของเรา) แล้วคูณด้วย 100 ยกตัวอย่างเช่น หุ้นตัวหนึง ป ันผล 5 บาทต่อหุ้นต่อปี ถ้าเราซือทีราคา 100
บาท หมายความว่าเราจะได้ป ันผลในอัตรา 5% ต่อปี (5/100 * 100) แต่ถ้าเราสามารถซือหุ้นตัวนีได้ใน
ราคา 50 บาท เราก็จะได้อตั ราเงินป ันผลถึง 10% ต่อปีทเี ดียว

จากอัตราส่วนทังหมดทีได้นําเสนอไป สังเกตได้วา่ ไม่มตี วั เลขใดเลย ทีมีความคงทีหรือแน่ นอน


ส่วนใหญ่กจ็ ะมีการเคลือนไหวอยูต่ ลอก ไม่วา่ จะเป็นราคาหุน้ กําไรต่อหุน้ ซึงกําไรต่อหุน้ ก็จะส่งผลถึงเงิน
ป ันผลและมูลค่าทางบัญชี .. พอผมกล่าวอย่างนีแล้วหลายๆ คนคงเริมท้อใจ ว่าจะทําอย่างไรกับสิงทีไม่
แน่นอนเหล่านี สุดท้ายการลงทุนก็คอื ความเสียงใช่หรือไม่..

คําตอบก็คอื ว่า มันก็เหมือนกับหลักการทัวๆไป คือ “ไม่มอี ะไรไม่เสียง” แต่เราต้องพยายามทํา


ให้ความเสียงมันลดน้อยลงให้ได้มากทีสุด แล้วอะไรล่ะคือความเสียง ความเสียงเกิดจากความไม่รู้ เราจึง
ต้องพยายามรูเ้ กียวกับสิงทีเราจะลงทุนให้มากทีสุด สิงหนึงทีช่วยได้กค็ อื “สถิตยิ อ้ นหลัง” หมายถึง ผล
ประกอบการย้อนหลังรวมไปถึงการจ่ายเงินป ันผลย้อนหลังไป 5-10 ปี ก็จะช่วยให้เราเข้าใจหุ้นทีเรา
สนใจจะลงทุนได้ เปรียบเสมือนกับการทีเราเฝ้ าดูพฤติกรรมของใครซักคนก่อนจะแต่งงาน ดูใจกันมา
5-10 ปี อะไรเทือกนัน แต่การลงทุน ง่ายกว่ามาก เพราะเราสามารถกดดูย้อนหลัง ได้ทนั ที ว่ามีกําไร
สมําเสมอหรือไม่ การป ันผลเป็นอย่างไร..

สมมติเราตรวจสอบย้อนหลัง เราเห็นหุน้ ตัวหนึงมีอตั ราการเติบโตส่วนของผูถ้ ือหุ้นที 15% ทุกปี


โดยป ันผลในอัตราปีละ 30% ของกําไร (ราวๆ 5% ของสัดส่วนผู้ถือหุ้น) อย่างต่อเนืองยาวนานกว่า 10
หรือ 20 ปี มันก็หมายความว่าในอนาคตมันก็อาจเป็นเช่นนันต่อไป ซึงก็ทําให้เรามีหุ้นในดวงใจทีสนใจ
จะเข้าซือแล้ว และก็จะมาถึงคําถามสุดท้ายว่าจะเข้าซือเมือไหร่ ซึงมาจากราคาทีขึนลงทุกวันๆ สิงทีควร
ทําก็คอื รอให้ราคาของหุ้นตกลงมาจนถึงอัตรา dividend yield สูงพอกับความต้องการของเราแล้วจึง
ค่อยเข้าซือ แต่ต้องอย่าลืมด้วยนะว่า การทีระดับราคาตกลงมา มาจากการตกตําของภาวะตลาดทุน
ชัวคราว ไม่ใช่มาจากการเปลียนแปลงโครงสร้างบริษทั ทีโรยรา..

สรุปความคิ ดในบทนี – สัดส่วนทางการเงิ น ทัง P/E ratio, P/BV ratio และ Divident yield
ช่วยให้เรามีเข็มทิ ศในการลงทุน และทําให้เราสามารถเข้าใจถึงการได้รบั ผลตอบแทนจากการ
ลงทุนในหุ้นปันผลง่ายขึนมากอีกด้วย..
27 | P a g e
บทที 10 องค์ประกอบของงบการเงิ น
(สิ นทรัพย์ หนี สิ น ส่วนของผูถ้ อื หุ้น และกําไรขาดทุน)

เวลาเราไปทานอาหารในเมนูทเราทํี าเองเป็น หรือทํากินบ่อยๆ สิงหนึงทีเราทราบก็คอื เรามักจะ


ทราบว่าพ่อครัวของภัตตาคารใส่เครืองปรุงอะไรลงไปบ้าง ซึงก็เป็นเพราะว่าตัวเรานันได้รู้ว่าอาหารทีเรา
ทานประกอบไปด้วยวัตถุดบิ และเครืองปรุงอะไรบ้าง ในการลงทุนก็เช่นเดียวกัน ในบทก่อนเราเพิงได้
เรียนรูเ้ กียวกับอัตราส่วนต่างๆ ทีเกียวข้องในการลงทุน แต่บางทีในวันนีเราก็ยงั ไม่รอู้ ยูด่ วี า่ มันมีทมาจาก

อะไร เรารู้เพียงตัวเลขจากการดูใน website ของตลาดหลักทรัพย์ (www.set.or.th) เท่านัน ในบทนี
เราจะมาเรียนรูก้ นั ว่า ตัวเลขทางการเงินทีมาประกอบเป็นอัตราส่วนทางการเงิน มีอะไรกันบ้าง

ก็คอื อันทีจริงแล้วสัดส่วนทางการเงิน มัน ประกอบไปด้วยราคาตลาดกับอะไรอีกซักอย่างสอง


อย่าง เช่น มูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ หรือกําไรต่อหุน้ ซึงเราก็ตอ้ งรูก้ ่อนว่าอะไรเหล่านีมันมาจากไหน จริงๆ
แล้วมันก็มาจากงบการเงิน และงบการเงินก็มรี ปู แบบของมัน มีมาตรฐานทางบัญชีทต้ี องได้มาตรฐานใน
ระดับสากลนะครับ

งบการเงิน ของบริษ ัท ในตลาดหลักทรัพย์ทุกๆ 3 เดือน เพราะถูกกําหนดไว้ว่าจะต้องส่ง งบ


การเงินรายไตรมาสภายใน 45 วันหลังจากสินไตรมาส และถ้าเป็นงบปีจะต้องส่งภายใน 60 วัน ยกเว้น
สถาบันการเงิน ทีตลาดหลักทรัพย์กําหนดให้ส่งเร็วกว่านัน คือภายใน 20 วันหลังจากสินไตรมาสและ
สินปีบญ
ั ชี ซึงก็สรุปว่าทุกๆ 3 เดือน จะมีกระดาษปึกหนึงส่งมาให้เราดาวน์โหลดไว้อ่านเล่นเสมอ

หลายคนคงถามว่ามีความน่าเชือถือแค่ไหนกับงบการเงินทีส่งมา ตัวเลขและรายละเอียดข้างใน
มีความถูกต้องเพีย งใด คําตอบก็คือ งบการเงิน จะถูก สอบโดยผู้ส อบบัญ ชีร ับอนุ ญ าต ดัง นันความ
น่ าเชือถือของงบการเงิน ก็หลีกเลียงไม่ได้ทจะขึ
ี นอยู่กบั ความน่ าเชือถือของผู้สอบบัญชีด้วย ยิงผู้สอบ
บัญชีเป็น บริษ ัททีมีชอเสี
ื ยงในระดับโลกก็จะยิงทําให้เรามีความสบายใจมากขึน และผู้สอบบัญชีของ
รัฐวิสาหกิจก็เป็นสํานักงานผูต้ รวจเงินแผ่นดินเสียด้วย..

สําหรับผูส้ อบบัญชีเองก็จะมีการให้ความเห็นเกียวกับงบการเงินใน 3 รูปแบบ ก็คอื แบบทีหนึง


รับรองงบการเงิน แบบไม่มีเงือนไข หมายความว่า “ไม่มีข้อสงสัยอะไร” แบบทีสอง ก็คือ รับรองงบ
การเงินแบบไม่มเี งือนไขแต่มขี อ้ สังเกต หมายความว่า “รับรองให้ แต่มบี างประเด็นทีผู้ใช้ขอ้ มูลควรเข้า
ไปดูขอ้ สังเกตของผูส้ อบบัญชีดว้ ย” และแบบทีสาม ก็คอื ไม่เชือมันในงบการเงิน หมายความว่า “ผู้สอบ
บัญชียงั ไม่กล้ารับรองเลยว่าข้อมูลทีใช้นํามาคํานวณงบการเงินจะถูกต้องเพียงพอ” ดังนันสิงทีเราควรให้

28 | P a g e
ความสนใจในประเด็นแรก อาจจะไม่ใช่ตวั เลขข้างใน แต่เป็นกระดาษแผ่นแรก ซึงก็คอื ความเห็นของ
ผูส้ อบบัญชีนนเอง

เมือเข้าไปดูรายละเอียดในงบการเงิน ก็จะมีองค์ประกอบต่างๆ ทีเป็นสาระสําคัญ ก็คอื ส่วนของ


สินทรัพย์, ส่วนของหนีสิน, ส่วนของผูถ้ อื หุน้ และส่วนของรายได้และกําไรขาดทุน ซึงผมจะขออธิบายใน
concept ของสิงเหล่านี ตามความเข้าใจของผม ก่อนทีจะลงเข้าไปในรายละเอียดต่อไป ในการนี หาก
ใครมีความสนใจในการวิเคราะห์งบการเงิน ผมแนะนําให้หาหนังสืออืนมาอ่านประกอบเพิมเติมนะครับ

สินทรัพย์ (asset) หมายถึง อะไรก็ตามทีเป็นของบริษทั ประกอบไปด้วย เงินสด เงินฝาก ลูกหนี


การค้า (ขายไปแล้วแต่ยงั เก็บเงินไม่ได้) เงินทีไปลงทุน ทีดิน เครืองจักร รวมไปถึงสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน
เช่น ค่าความนิยมต่างๆ เป็นต้น

หนีสิน (debt) หมายถึง หนีของบริษทั ประกอบไปด้วย เงินเบิกเกินบัญชี เจ้าหนีการค้า (เอา


ของเค้ามาขายแต่ยงั ไม่จ่ายตัง) หนีเงินกูร้ ะยะยาว ภาษีคา้ งจ่าย เป็นต้น

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ (equity) หมายถึง มูลค่าของบริษทั ทีแท้จริง จากการเอา สินทรัพย์มาหักกลบ


ลบหนีกับหนีสินของบริษทั เหลือเท่าไหร่กค็ อื ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เหมือนกับว่าหากเรามีตงั ในกระเป๋ า 500
บาท แต่เราเป็นหนีเพือน 450 บาท แสดงว่าเรามีตงั จริงๆแค่ 50 บาท และถ้าเพือนยังไม่เรียกตังคืน เรา
เองก็ตอ้ งเตรียมเงิน 450 บาทไว้จ่ายเพือน แต่ระหว่างทีจะครบกําหนดยืมตัง เราก็เอาตรงนีมาหมุนซือ
หมูปิงมาขายสร้างรายได้ เป็นต้น

ส่วนของรายได้และกําไรขาดทุน (revenue and net profit) หมายถึง รายได้ห รือยอดขาย


ทังหมดของบริษทั ซึงเมือหักลบกับต้นทุนต่างๆ ก็จะกลายเป็นกําไรหรือขาดทุน

ซึงหลังจากทีเราทราบ concept เหล่านีแล้ว เราก็จะได้อตั ราส่วนคร่าวๆ เกียวกับความสามารถ


ของบริษทั ซึงตัวทีเด่นๆ ก็คอื อัตรากําไรต่อสินทรัพย์ (return on asset ratio หรือ ROA), อัตรากําไร
ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (return on equity ratio หรือ ROE) และอัตรากําไรสุทธิ (profit margin) และ
อัตราส่วนหนีสินต่อทุน (debt on equity ratio) ซึงก็มรี ายละเอียดดังนี

อัตรากําไรต่อสินทรัพย์ (return on asset ratio หรือ ROA) คือ การเอากําไรทีได้มาหารด้วย


สินทรัพย์ของบริษทั ยกตัวอย่างเช่น บริษทั มีกําไรในปีนี 5,000 ล้านบาท แต่มสี นิ ทรัพย์ 20,000 ล้าน
บาท จะได้อตั รากําไรต่อสินทรัพย์ท ี 25% (5000/20000 * 100) หมายความว่าสินทรัพย์ของบริษทั ทุกๆ
100 บาท ทํากําไรได้ 25 บาท แสดงถึง ประสิทธิภาพในการใช้ทุน ของบริษ ัทว่ายังสามารถแข่งขันใน
ตลาดได้หรือไม่ โดยเอามาเทียบกับบริษทั ทีทํากิจการประเภทเดียวกันในตลาด

29 | P a g e
อัตรากําไรต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (return on equity ratio หรือ ROE) คือ การเอากําไรทีได้มาหาร
ด้วยส่วนของผูถ้ อื หุน้ ยกตัวอย่างเช่น บริษทั มีกาํ ไรในปีนี 5,000 ล้านบาท แต่มสี นิ ทรัพย์ 20,000 ล้าน
บาท แต่พอหักหนีสินของบริษทั ทีมีอยู่จํานวน 8,000 ล้านบาทออกไป ส่วนของผู้ถือหุ้นทีมีอยู่ 12,000
ล้า นบาท (20000-8000) จะได้อตั รากํา ไรต่อ ส่ ว นของผู้ถือ หุ้น ที 41.7% (5000/12000 * 100)
หมายความว่า ส่วนของผู้ถือหุ้นทุกๆ 100 บาท จะทํากําไรได้ถึง 41.7 บาท ซึงนีเองคือ “อัตราการ
เจริ ญเติ บโตของบริ ษทั ” ทีเราพูดถึงกันมาในบทก่อนๆ ซึงถ้าผูบ้ ริหารใจดี เค้าอาจจะป ันผลออกมาซัก
10% ของทุน และนําอีก 31.7% ไปลงทุนต่อ แต่ทงนี ั 10% ทีเค้าป ันผลออกมา จะมากจะน้อยก็ขนอยู ึ ก่ บั
ว่าเราซือหุน้ มาเท่าไหร่ แล้วถ้าหากเราซือหุน้ ได้ในราคาซัมเมอร์เซลล่ะ หมายความว่าซือใน P/BV ทีตํา
กว่า 1 เท่า ผมสมมติให้เป็น 0.5 เท่าแล้วกัน เท่ากับว่าเราซือส่วนของผู้ถือหุ้น 100 บาท ด้วยเงินเพียง
50 บาทเท่านัน และถ้าหากหุน้ ตัวนีทํากําไรต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ได้ถงึ 41.7 บาท ก็เท่ากับว่ามันสามารถ
ทํากําไรจากเงินลงทุนของเราได้ถึง 83.4% ทีเดียว (41.7/0.5) โดยเงินป ันผลทีได้อาจจะสูงถึง 20%
ทีเดียว แต่นนต้
ั องเป็นจังหวะซือทีดีมากจริงๆ และต้องมันใจว่ากิจการไม่ได้มปี ัญหาอะไร เหตุการณ์ทจะ ี
ทําให้เราสามารถทําแบบนันได้ คือ วิกฤตการณ์ทางการเงินระดับโลกครังสําคัญ เช่น วิกฤตต้มยํากุ้ง
ปี 1997 และวิกฤตซับไพร์ม ปี 2008 เป็นต้น

อัตรากําไรสุท ธิ (net profit margin) คือ การเอากําไรสุทธิมาหารกับรายได้สุท ธิ (ยอดขาย)


ยกตัวอย่างเช่น กําไร 5,000ล้านบาท มาจากรายได้ทงหมด ั 50,000ล้านบาท ก็หมายความว่าอัตรากําไร
สุทธิ อยู่ท ี 10% (5000/50000 * 100) หมายความว่าขายของ 100 บาท หักค่าใช้จ่ายทังหมดแล้ว จะ
เหลือกําไร 10 บาท ซึงกิจการแต่ละประเภทก็จะมีอตั รากําไรตรงนีทีแตกต่างกันตามแต่ละอุตสาหกรรม
สิน ค้าบางประเภทขายยาก อัตรากําไรสุท ธิก็จ ะสูง เช่ น พวกบ้านและคอนโด ในขณะทีสิน ค้าบาง
ประเภทขายง่ายและมีการตัดราคากันมาก อัตรากําไรสุทธิกจ็ ะตํา เช่น พวกค้าปลีก เป็นต้น

อัตราส่วนหนีสินต่อทุน (debt on equity ratio) หมายถึง การเอาหนีสินมาหารกับส่วนของผู้ถือ


หุน้ ซึงแสดงถึงความเสียงในการดําเนินการของเจ้าของกิจการ ยกตัวอย่างเช่น หนีสิน 8,000ล้านบาท
ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 12,000ล้านบาท เท่ากับว่าหนีสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น คือ 67% (8000/12000 * 100)
หมายความว่าส่วนของผู้ถือหุ้น 100 บาท มีความเสียงจากหนีถึง 67 บาท ซึงในบางอุตสาหกรรมมี
สัดส่ว นนีถึง 900-2000% เช่ น กิจ การธนาคารมีก ารระดมเงิน ฝากเข้ามา ซึงกิจ การสิน ทรัพย์ถึง
1,500,000ล้านบาท แต่มหี นีสิน (ซึงก็คอื เงินฝากทีมคี นนํามาฝาก) ถึง 1,450,000ล้านบาท ก็จะมีส่วน
ของผูถ้ อื หุน้ เพียง 50,000ล้านบาทเท่านัน จะเกิดอะไรขึนถ้าลูกหนีของธนาคารเกิดชักดาบขึนมา ดังเช่น
วิกฤตปี 2540 ซึงลูกหนี 20-70% ของแต่ละธนาคารไม่มเี งินมาคืนธนาคาร ผลทีเกิดขึนก็คอื อัตราการ

30 | P a g e
ขาดทุนสูงขนาดทีว่ากินทุนจนหมดสินนันเอง ดังนัน กิจการทีหนีน้อยๆ หรือมีอตั ราส่วนหนีสินต่อทุนที
น้อย ก็จะมีความเสียงทีน้อยกว่านันเอง

สรุปความคิ ดในบทนี – การทราบรายละเอียดเบืองต้นในงบการเงิน จะทําให้เราเข้าใจในตัว


ธุรกิจมากขึน ก่อนทีจะเข้าไปเจาะลึกความสามารถของบริษทั ในรายละเอียดต่อไป..

31 | P a g e
บทที 11 รายละเอียดของสิ นทรัพย์บริ ษทั (asset on balance sheet)
ขณะนีเราได้เดินทางมากันครึงทางแล้ว สําหรับการเรียนรู้เรืองการลงทุน ในหุ้น ป ันผล ขอให้
อดทนศึกษาอีกนิดหนึงนะครับ สําหรับส่วนนี เราจะพูดถึง “สินทรัพย์” ซึงถ้าเราเข้าไปดูใน website ของ
ตลาดหลักทรัพย์ เราก็จะพบว่า ในส่วนของสินทรัพย์ทอยู ี ่ในงบดุล (balance sheet) ของบริษทั จะมี
รายละเอียดของสินทรัพย์อยูค่ ่อนข้างมากทีเดียว ความสําคัญทีเราจะต้องเข้าไปดูสนิ ทรัพย์ ก็เหมือนกับ
การทีเราจะลงทุนกิจการอย่างใดอย่างหนึง ทีเราต้องดูว่าบริษทั ทีเราจะเข้าไปลงทุนนัน มีอะไรทีเป็ น
มูลค่าอยู่บ้าง และสิงทีเป็น มูลค่าเหล่านัน มีลกั ษณะเป็น อย่างไร เชือถือได้ห รือไม่ เราจะมาดูกนั ว่า
รายละเอียดในข้อมูลสินทรัพย์ มันหมายถึงอะไรบ้าง

สินทรัพย์ ก็คอื สิงทีเป็นของบริษทั ไม่วา่ จะได้มาโดยยืมเงินเค้ามาซือหรือซือด้วยเงินของบริษทั


เอง มันก็คอื “สินทรัพย์” ทังนัน โดยแบ่งออกเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน และสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน มีหวั ข้อ
ของสินทรัพย์ต่อไปนี

สินทรัพย์หมุนเวียน หมายถึง สินทรัพย์ทหมุ


ี นเวียนเป็นเงินสดได้ง่าย เป็นเหมือน cash flow ใน
การดําเนินกิจการ มีรายละเอียด ดังนี

- เงินสดและส่วนทีเทียบเท่าเงินสด ตรงตัวครับ คือ เงินสดหรือเงินฝาก ทีนําไปใช้ได้ง่าย


ทําให้กจิ การคล่องตัวขึน และยังได้ดอกเบียอีกด้วยครับ กิจการบางประเภทเช่นพวกค้า
ปลีกหรือซุปเปอร์สโตร์ เวลารับเงินรับเป็นเงินสด แต่มกี ําหนดจ่ายเงินลูกค้า 3-6 เดือน
หลังจากทีขายได้แล้ว เงินตรงนีก็เอามาสร้างรายได้ต่อ ถือว่าเป็นความได้เปรียบในการ
ทําธุรกิจครับ
- เงินลงทุนระยะสัน หมายถึง เงินทีบริษทั เอาไปลงทุนทีไม่ใช่การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
สามารถถอนคืนกลับมาเป็นเงินสดได้ง่าย เช่น ลงทุนในหุ้นหรือพันธบัตร ซึงรายการนี
ถ้ามีมากเกิน ไปก็อาจไม่ส่ง ผลดีนัก เพราะอาจจะเกิดการนําเงิน ไปใช้ใ นสิงทีไม่เป็ น
ประโยชน์ แก่กิจ การได้ เพราะเราต้องไม่ ลืมว่า คนทีตัดสิน ใจเรืองเงิน ๆ ทองๆ คือ
ผู้บริหาร และกว่าทีเราจะรู้ว่าเงินของเราละลายไปกับสิงทีไม่เป็นประโยชน์ มันก็สาย
เกินไปแล้ว
- เงินให้กู้ร ะยะสันแก่บุคคลอืน หมายถึง การนําเงินบริษทั ไปให้บุคคลอืนกู้ยมื โดยได้
ประโยชน์จากดอกเบียหรือการร่วมค้าขาย เป็นส่วนของสินทรัพย์ทน่ี ากังวลทีสุด เพราะ
การนําเงินบริษทั ไปให้บุคคลอืนหยิบยืมถือว่ามีความเสียง ต้องระวังรายการนีทีสุด

32 | P a g e
- ลูกหนีการค้า หมายถึง การทีเราส่งของไปแล้วแต่ยงั เก็บเงินไม่ได้ และไม่ได้ดอกเบีย
ด้วยสิ เพราะเป็นสิงทีเรายอมลูกค้า เพือให้สนิ ค้าขายได้ ซึงเมือเราเข้าไปดูในงบการเงิน
ฉบับเต็ม จะมีแยกประเภทไว้ด้วยว่า ค้างชําระอย่างไร มีการจัดประเภทลูกค้าทีค้าง
ชําระชัดเจน เนืองจากหากค้างชําระเกิน 3 เดือน จะต้องบันทึกเป็นหนีเผือสงสัยจะสูญ
อาจจะทําให้งบในไตรมาสนันขาดทุนได้ ในขณะทีพอเก็บหนีได้กจ็ ะมีการโอนกลับมา
เป็นกําไร ผู้บริห ารบางบริษทั ก็ใ ช้กลยุทธ์นีตบแต่ง บัญชีให้ดูเหมือนขาดทุ น แล้วค่อย
บันทึกกําไรภายหลัง เพือกําหนดราคาหุน้ ในตลาดได้
- สินค้าคงคลัง หมายถึง มูลค่าสินค้าทียังค้างอยูแ่ ละยังไมได้ขายออกไป ประกอบไปด้วย
วัตถุดบิ งานทีอยูร่ ะหว่างทํา รวมไปถึงสินค้าสําเร็จรูปต่างๆ ถ้าเป็นสินค้าหรือวัตถุดบิ ที
มีราคาขึนลงหวือหวา ก็อาจเกิดกําไรขาดทุนในแต่ละไตรมาส เนืองจากต้องบันทึกราคา
สินทรัพย์ตามราคาตลาด และมีขอ้ สังเกตอยู่อกี นิดว่า ถ้าสินค้าคงคลังเหลือมากๆ เมือ
เทียบกับยอดขาย ก็น่ากังวลอยูเ่ หมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าสินค้าคงคลังมีอยู่ 2,500
ล้านบาท ในขณะทียอดขายทังปีอยู่ท ี 2,000ล้านบาท เราก็ต้องสงสัยว่าทําไมถึงสต๊อก
สินค้ามากขนาดนัน ถ้าเป็นบริษทั อสังหาริมทรัพย์ทใช้ ี เวลาในการสร้างและขาย เราก็ยงั
พอยอมรับได้ แต่ถ้าเป็นสินค้าประเภท electronic ซึงล้าสมัยเร็ว หรือว่าพวกอาหารที
เน่าเสียได้ล่ะ เราก็ตอ้ งระวังว่าสินค้าคงคลังดังกล่าวอาจจะเสือมมูลค่าไปแล้วก็ได้
- สินทรัพย์หมุนเวียนอืนๆ หมายถึง สินทรัพย์รปู แบบอืนๆ ทีเปลียนเป็นเงินสดได้ไม่ยาก
หากมีมากเกินไปก็ไม่ดเี ช่นกัน เพราะอาจจะไม่เกียวกับการดําเนินงานของกิจการ แต่
กลับเป็นอะไรๆ ทีผูบ้ ริหารอยากได้หรืออยากสะสม แล้วใช้เงินบริษทั ซือเข้ามา

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หมายถึง สินทรัพย์เพือการประกอบกิจการทีไม่สามารถเปลียนเป็นเงิน


สดได้ง่าย หรือว่าหากกิจการขาดสภาพคล่อง สินทรัพย์เหล่านีอาจไม่สามารถนํามาแปรผันเป็นเงินเพือ
ช่วยเหลือกิจการใดทันที มีหวั ข้อของสินทรัพย์ ดังต่อไปนี

- เงินลงทุนในบริษทั ร่วม/กิจการร่วมค้า หมายถึง เงินลงทุนในบริษทั ย่อยหรือบริษทั ใน


เครือ ในบางบริษทั มีสนิ ทรัพย์ส่วนนีมากกว่าสินทรัพย์เพือการผลิตของบริษทั เอง นันก็
หมายความว่าบริษทั นีอาจจะเป็นบริษทั เพือการลงทุน (holding company) ซึงกําไรหรือ
ขาดทุนของบริษทั ก็จะมีความเชือมโยงกับผลประกอบการของบริษทั ทีเข้าลงทุนด้วย
- เงินลงทุนระยะยาว / บันทึกราคาทุน หมายถึง เงินลงทุนในหุ้นหรือสินทรัพย์ระยะยาว
อืนๆ ซึงบ่อยครังจะบันทึกโดยวิธรี าคาทุน คือบันทึกมูลค่าทีเข้าลงทุน แม้ว่าสินทรัพย์

33 | P a g e
ดัง กล่ า วจะมีร าคาขึนลงเพีย งใดก็จ ะไม่ มีก ารเปลียนแปลงมูล ค่า ในงบดุล โดยจะ
เปลียนแปลงก็ต่อเมือขายสินทรัพย์นนออกไป
ั หากขายได้มากกว่าราคาทีลงทุนไป ก็จะ
บันทึกเป็นกําไร แต่ถ้าขายได้น้อยกว่าราคาทีลงทุนไป ก็จะบันทึกเป็นขาดทุน
- อสังหาริมทรัพย์เพือการลงทุน หมายถึง มูลค่าการซือสินทรัพย์เพือกิจการของบริษทั
หากมีมากเกิน ความจําเป็ น ก็จ ะไม่ดีนัก เพราะอาจจะเป็ น การเก็ง กํา ไรทีดิน ซึงไม่
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจการ นอกจากนียังหมายความได้ถงึ การทีผูบ้ ริหารแอบ
เอาทีดินของตนเอง (ซึงโดยมากจะอยูใ่ นชือกรรมสิทธิของบุคคลอืน) มาขายให้บริษทั ใน
ราคาทีบริษทั เสียเปรียบก็เป็นไปได้
- ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง ตัวสถานประกอบการ และเครืองจักรต่างๆ ทีใช้ใน
การดําเนินกิจการ ในบางกิจการมีการลงทุนในรายการนีสูงมาก ซึงอาจหมายความว่า
จะทําให้ผทู้ เข้
ี ามาในตลาดรายใหม่ๆ จะต้องลงทุนสูงและไม่อยากเข้ามาแข่งขัน แต่ใน
อีกแง่หนึงคือ เป็นกิจการทีต้องลงทุนสูงซึงมีความเสียงในด้านการลงทุน หากเครืองจักร
มีความล้าสมัยและต้องลงทุนใหม่
- สินทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน หมายถึง มูลค่าของสัญญาสัมปทานทียังเหลืออยู่ตาม
ราคาประเมิน หากรายการนีสูงมากหรือมีหลายสัญญาสัมปทาน เราต้องพิเคราะห์ว่า
หากสัญญาเหล่านีหมดแล้ว ผูบ้ ริหารมีแผนในการประกอบกิจการในอนาคตอย่างไร
- ค่าความนิยม หมายถึง ค่าตราสินค้าต่างๆ ทีถูกตีเป็นมูลค่า ซึงถ้าตีราคาไว้สูง ก็จะทํา
ให้เกิดการเข้าใจผิดในตัวสินทรัพย์ได้ เพราะรายการนี จริงๆแล้วไม่มอี ยู่จริงและพร้อม
จะลดลงได้ทุกเมือ หากเกิดป ัญหาด้านความน่าเชือถือของกิจการ
- สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน หมายถึง สินทรัพย์ทจัี บต้องไม่ได้แต่มมี ลู ค่า เช่น ลิขสิทธิ software
คอมพิวเตอร์ หรือลิขสิทธิในหนังสือหรือการถ่ายทอดสดต่างๆ เป็นต้น
- สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หมายถึง เงินทีเตรียมไว้เพือจ่ายภาษี
- สินทรัพย์ไ ม่หมุนเวียนอืนๆ หมายถึง สินทรัพย์จปิ าถะอืนๆ ทีไม่ไ ด้เกียวข้องกับการ
ดําเนินงานและเปลียนเป็นเงินสดได้ยาก เช่น รถยนต์ผู้บริหาร รูปภาพติดห้องประชุม
เป็นต้น

สรุปความคิ ดในบทนี – สินทรัพย์เป็นสิงทีทําให้เรารู้ว่าบริษทั ทีเราจะเข้าลงทุน มีกรรมสิทธิ


อะไรบ้าง และมีจุดใดทีอาจจะเกิดความรัวไหลในการใช้ทุนของบริษทั ซึงหากเราเข้าใจในความหมาย
ของแต่ละรายการก็จะทําให้เราพอจะทราบได้วา่ สิงทีบริษทั ได้ลงทุนไป มีความคุม้ ค่ามากน้อยเพียงใด

34 | P a g e
บทที 12 รายละเอียดหนี สิ นและส่วนของผู้ถอื หุ้นบริ ษทั
(debt and equity on balance sheet)

หลังจากทีเราได้รเู้ กียวกับรายละเอียดของสินทรัพย์แล้ว อีกสองส่วนทีเป็นสาระสําคัญ ทีนํามา


ประกอบเพือให้ ค รบเป็ น งบดุ ล ของบริ ษ ัท ก็คือ หนี สิน (debt) และส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น (equity)
มีรายละเอียด ดังต่อไปนี

หนีสิน (debt) หมายถึง “ภาระของบริษทั ” ทีมีต่อบรรดาเจ้าหนีทังหลาย ถ้าบริษทั มีหนีสินน้อย


หรือไม่มเี ลย ก็จะนับได้วา่ มีฐานะทางการเงินทีดีหรือแข็งแกร่ง เพราะหากกิจการไม่มกี ําไร ก็อาจจะไม่
เสียหายมากนัก เนืองจากไม่มภี าระทีต้องจ่ายต่อเจ้าหนีทังหลาย แต่ถ้ามีหนีสินในระดับสูงก็จะทําให้
กิจการมีความเสียงได้ เพราะเหมือนกับเป็นการกดดันว่าบริษทั จะต้องพยายามสร้างกําไรขึนมาเพือจ่าย
ต้นเงินทีกูย้ มื มา แม้วา่ กําไรทีบริษทั ทําได้จะเพียงพอในการจ่ายดอกเบียก็ตาม แต่ภาระต่อต้นเงินก็จะ
บีบคันบริษทั ให้ตอ้ งพยายามหากําไรให้มากขึนเพียงพอกับทีต้องจ่าย และอาจนําไปสู่ความเสียงในการ
ประกอบกิจการได้ อย่างน้อยทีสุดภาระดอกเบียก็ทาํ ให้ความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนกับบริษทั
อืนๆ ในอุตสาหกรรมลดลง สําหรับรายละเอียดของหนีสิน มีดงั ต่อไปนี

- เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสันจากสถาบันการเงิน หมายถึง เงินทีบริษทั หยิบยืม


มาจากสถาบันการเงิน ทีมีกําหนดจ่ายไม่เกิน 12 เดือน หากมีมากเกิน ไปจะส่ง ผล
กระทบต่อกระแสเงินสดของบริษทั เป็นอย่างมาก และทําให้ทราบถึงป ัญหาทางการเงิน
ของบริษทั ในเบืองต้นได้อกี ด้วย
- เจ้าหนีและตัวเงินจ่ายการค้าสุทธิ หมายถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการทีบริษทั ได้รบั มา
ก่อน เป็นภาระทีจะต้องจ่ายทีอาจกําหนดเวลาไว้แน่ นอนหรืออาจไม่มกี ําหนดเวลาก็ได้
ดูคล้ายกับเป็นความได้เปรียบของบริษทั คือ เป็นการนําสินค้าหรือบริการมาใช้ก่อนโดย
ไม่เสียดอกเบีย แต่อกี มุมหนึงก็สะท้อนว่าบริษทั อาจมีป ัญหาด้านการชําระเงินต่อเจ้าหนี
การค้าทังหลาย
- เจ้าหนีระยะสัน หมายถึง เจ้าหนีทีมิใช่สถาบันการเงิน ยกตัวอย่างเช่น เงินทีกรรมการ
ให้กแู้ ก่บริษทั ซึงบริษทั ได้ทาํ การกูย้ มื เงินไว้ ในมุมของการประกอบการถือว่าดี เพราะ
หากบุค คลอืนๆ หรือกรรมการบริษ ัท นํ า เงิน ของตนมาให้บ ริษ ัท กู้ย ืม โดยทีอัต รา
ดอกเบียหรือภาระคําประกันไม่สงู เกินไป ก็ทาํ ให้เรามันใจได้วา่ ผูบ้ ริหารมีความตังใจจริง
ในการดําเนินงาน แต่อย่างไรก็ตาม การเป็นหนีก็คงทําให้บริษทั มีความลําบากมากขึน

35 | P a g e
- ส่วนของหนีสินระยะยาวทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี หมายถึง ส่วนของเงินกู้ระยะ
ยาว ทีถึง กําหนดชําระในรอบบัญชีป ัจจุบนั ซึงทําการแยกออกมาจากเงิน กู้ ระยะสัน
เพือให้เกิดความชัดเจนในทางบัญชี
- หนีสินหมุนเวียนอืน หมายถึง หนีสินจิปาถะอืนๆ ทีเป็นภาระของบริษทั มีกําหนดครบ
ชําระภายใน 12 เดือน ซึงถ้ารายการนีมีมากจนเกินไป ก็อาจแสดงถึง การใช้เงิน ผิด
วัตถุประสงค์ของบริษทั ได้
- หนีสินระยะยาวหักลบสุทธิจากส่วนทีถึง กําหนดชําระภายในหนึงปี หมายถึง หนีสิน
ระยะยาวทีครบกําหนดคืนเงินเกินกว่า 12 เดือน โดยหักเป็นยอดคงเหลือจากส่วนทีถึง
กําหนดชําระในรอบปีป ัจจุบนั แล้ว
- หนีสินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หมายถึง ภาษีคา้ งจ่ายของบริษทั
- หนีสินไม่หมุนเวียนอืน หมายถึง หนีสินจิปาถะอืนๆ ทีเป็นภาระของบริษทั มีกําหนด
ครบชําระเกินกว่า 12 เดือน เช่น เงินมัดจําทางการค้าหรือเงินคําประกันทีลูกค้าวางไว้
ให้แก่บริษทั เป็นต้น

จากทีได้อธิบายทังหมดนี เราสรุปได้วา่ หนีสินของบริษทั อธิบายได้ง่ายๆ ว่ามีทงที


ั เป็น
เงินร้อนและเงินเย็น คือมีทงแบบต้
ั องรีบคืนและไม่ต้องรีบคืน ซึงส่งผลต่อภาระทางการเงิน หรือกระแส
เงินสดทังในระยะสันและระยะยาวของบริษทั

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ (equity) ก็คอื การนําเอาสินทรัพย์มาหักลบกับหนีสิน ทําให้เราทราบคร่าวๆ


ว่า หากมีการหักภาระทางการเงินต่างๆ ออกจากสินทรัพย์แล้ว ส่วนทีเป็นของผูถ้ อื หุน้ จริงๆ แล้วมีมลู ค่า
เท่าใด เพือใช้ในการวิเคราะห์การเติบโตในการประกอบกิจการ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี

- ทุนจดทะเบียน หมายถึง ทุนจดทะเบียนหุน้ ทังหมดของบริษทั เพือกําหนดว่าบริษทั จะมี


หุน้ ทังหมดกีหุน้ ซึงอาจจะยังไม่ตอ้ งชําระทังหมดก็ได้ เนืองจากในบางครังบริษทั จะต้อง
ออกหุน้ เพือรองรับสิทธิต่างๆ ในการแปลงจากทุนเป็นหุน้ ในอนาคต
- ทุนทีออกและชําระเต็มมูลค่าแล้ว หมายถึง ส่วนของทุนจดทะเบียนทีได้ชําระแล้ว หรือ
กลายเป็นหุน้ ทีมีสทิ ธิในกิจการตามกฎหมายแล้ว
- ส่วนเกิน (ตํากว่า) มูลค่าหุน้ หมายถึง การขายหุน้ แล้วมีกาํ ไรหรือขาดทุน เช่น การขาย
หุน้ เริมแรกในราคาพาร์ 10 บาท ถ้าเราเสนอขายได้ถึง 12 บาท กําไรทีได้มา 2 บาท
จะเข้าบริษทั และถูกบันทึกเป็นส่วนเกินมูลค่าหุน้ ในขณะทีหากขายได้ตํากว่าราคาทุน
ก็จะทําให้เกิดส่วนทีตํากว่าราคาทุน
36 | P a g e
- กําไร (ขาดทุน) สะสม หมายถึง ตังแต่บริษทั เริมประกอบกิจการ มีกําไรหรือขาดทุน
เท่าไหร่ ยกตัวอย่างเช่น มูลค่าลงทุนเริมต้นของบริษทั คือ 100 ล้านบาท ผ่านไปสิบปี
มีมลู ค่าทังบริษทั 900 ล้านบาท แสดงว่ามีกาํ ไรสะสมอยูท่ ี 800 ล้านบาท
- กําไรสะสม – จัดสรรแล้ว หมายถึง กําไรของบริษทั ทีได้มีการนําไปใช้เพือประโยชน์
บางอย่างแล้ว เช่น นําไปสํารองไว้ตามกฏหมาย ยกตัวอย่างเช่น กําไรสะสมทังหมด
800ล้านบาท แต่อาจจะต้องตังสํารองไว้เพือเป็นหลักประกันในการประมูลงาน 300 ล้าน
บาท ทําให้กาํ ไรสะสมทีเราจะใช้ได้โดยอิสระ เหลือเพียง 500 ล้านบาทเท่านัน เป็นต้น
- กําไร (ขาดทุน) สะสม – ยังไม่ได้จดั สรร หมายถึง กําไรทียังอยู่ในบริษทั และยังไม่ได้
วัตถุประสงค์จะนําไปใช้ทาํ อะไร ซึงเงินจํานวนนีอาจถูกเปลียนเป็นทีดิน เครืองจักร หรือ
อืนๆ เพือประโยชน์ของบริษทั
- รวมส่วนของผูถ้ อื หุ้น หมายถึง การเอาสินทรัพย์รวมมาหักลบหนีสินรวมแบบหยาบๆ
เพือให้ท ราบว่ามูลค่าของผู้ถือหุ้น จริง ๆ แล้วมีอยู่เท่าไหร่ ซึงในบทหลัง ๆ จะมีการ
วิเคราะห์ว่าส่วนของผู้ถือหุ้นทีมาก บางครังอาจไม่ดเี สมอไป เพราะรายการทีเป็นทุน
อาจจะเป็ น พวกเครืองจัก รหรือสิน ค้า ล้า สมัย ในขณะทีเงิน กู้ม ารบกวนรุม เร้า การ
ประกอบกิจการอย่างต่อเนืองก็เป็นได้

สรุปความคิ ดในบทนี – หนีสินแสดงถึงภาระของบริษทั ทีต้องรับผิดชอบ จากการทีกู้มาจัดหา


สินทรัพย์เพือดําเนินกิจการ หากมีมากเกินไปอาจส่งผลถึงกระแสเงินสดได้ อย่างไรก็ตามบริษ ทั ก็อาจมี
ความจําเป็นต้องกูย้ มื เพือมาลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาวของบริษทั เพือสร้างความได้เปรียบทางการค้า
ในขณะทีส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทําให้ทราบว่าจริงๆ แล้ว เราเป็นเจ้าของกิจการในมูลค่าเท่าใด

37 | P a g e
บทที 13 งบกําไรขาดทุน
(statement of income)

ถ้าเปรียบว่าบริษทั เป็นลูกโป่ง การทีเราใส่เงินลงทุนเริมต้นก็เหมือนเราใส่ลมเข้าไปประเดิม ถ้า


กิจการมีกาํ ไร ลูกโป่ งก็จะพองขึนๆ เพราะมีลมเข้ามามากขึน ในขณะทีถ้าขาดทุน ลูกโป่ งก็จะแฟบลง
แต่ในความเป็นจริงแล้ว ลูกโป่งบริษทั มีทงลมเข้
ั าและออกอยูต่ ลอดเวลา เพียงแต่ถ้าลมเข้ามากกว่ามันก็
จะยิงใหญ่ขนๆ ึ รายรับของบริษทั ก็คอื ลมทีเข้ามา และรายจ่ายจิปาถะของบริษทั ก็คอื ลมทีไหลออกมา
นันเอง เราจะมาดูกนั ว่าเราจะดูลมทีเข้า-ออกในลูกโป่งบริษทั อย่างไร

งบกําไรขาดทุนของบริษทั คือ งบทีแสดงออกถึงความสามารถของบริษทั ว่าสามารถทํากําไร


หรือขาดทุนได้เท่าไร และค่าใช้จ่ายของบริษทั หมดไปกับอะไรบ้าง มีรายการดังนี

- รายได้จากการขายและหรือการให้บริการ หมายถึง รายได้ทบริ ี ษทั ทําได้จากการขาย


หรือให้บริการในกิจการหลักของบริษทั
- รายได้อืน หมายถึง รายได้อืนๆ จิป าถะ ซึงอาจเป็ น ชัวครังชัวคราว เช่น การขาย
สินทรัพย์ของบริษทั ออกไปได้กาํ ไร หรือการรับจ้างอืนๆ ซึงอาจจะนานๆ ครัง สําหรับ
รายการนี หากมีมากเกินไปก็อาจจะมองได้วา่ บริษทั ไปเน้นทํากิจกรรมหารายได้ทางอืน
ทีไม่เกียวข้องกับบริษทั เท่าใดนัก
- ต้นทุนขายสินค้าและหรือต้นทุนการให้บริการ หมายถึง ต้นทุนทีใช้ในการซือวัตถุดบิ
หรือให้บริการอืนๆ
- ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการทําการตลาด ค่าเงินเดือน
พนักงาน ค่านํา ค่าไฟ เป็นต้น
- ค่าใช้จ่ายอืน หมายถึง ค่าใช้จ่ ายอืนๆ เช่น การทําประกัน ค่าเงิน หรือว่าการจ้า ง
สํานักงานกฎหมาย เป็นต้น
- ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร หมายถึง ค่าใช้จ่ายเงินเดือนทีเกียวข้องกับผู้บริหาร
รายการนีแยกออกมาเพือให้เห็นชัดเจนว่าผูบ้ ริหารบริษทั มีเงินเดือนทีสูงเกินไปหรือไม่
- กําไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงิน ค่าเสือมราคาและภาษีเงินได้ หมายถึง กําไรที
บริ ษ ัท ทํ า ได้ โดยทียัง ไม่ นํ า มาคิ ด ต้ น ทุ น ทางการเงิ น ค่ า เสื อมราคาและภาษี
ความหมายแบบอธิบายง่ายๆ คือ ถ้ามีเงิน มาเปิดบริษ ัทโดยทีไม่ต้องกู้เงินมาลงทุน
กิจการจะสามารถทํากําไรได้หรือไม่ เพราะถ้าหากไม่สามารถทํากําไรได้แสดงว่าบริษทั
ไม่มคี วามสามารถในการแข่งขัน
38 | P a g e
- ค่าเสือมราคา หมายถึง การทีสินทรัพย์ของบริษทั ถูกปรับราคาลง จากการทีมีอายุการ
ใช้ง านนานขึน ซึงการตัด ค่า เสือมมีห ลายวิธี แต่โ ดยมากมัก ใช้วธิ ีต ัดเท่ า กัน ทุ ก ปี
ยกตัวอย่างเช่น รถขนของราคา 5,000,000 บาท หักค่าเสือม 5 ปี ปีละ 1,000,000 บาท
ก็จะทําให้บริษทั มีรายจ่ายปีละ 1,000,000 บาท แม้ว่าอาจจะไม่ได้เสียเงินไปจริงๆ ก็
ตาม (ข้อเท็จจริงคือ เราจ่ายตังไปแล้ว ตังแต่ซอรถมา)

- ต้นทุนทางการเงิน หมายถึง ต้นทุนค่าดอกเบียต่างๆ ซึงบางบริษทั สามารถทํากําไรได้ดี
แต่เสียดอกเบียสูงมากจนทําให้กจิ การกําไรน้อยลงมากหรือขาดทุน
- ภาษีเงินได้ หมายถึง ภาษีต่างๆ ทีบริษทั จะต้องจ่ายให้กบั รัฐบาล ซึงในบางกิจการอาจ
ได้รบั ยกเว้นภาษีบางอย่าง เช่น การได้รบั สิทธิในการส่งเสริมการลงทุน หรือ BOI
- กําไร (ขาดทุน ) สุทธิ หมายถึง กําไรทีแท้จ ริง ทีบริษทั ทําได้ หลังจากหักค่าใช้จ่าย
ทังหมดออกไปแล้ว คือลมทีเป่าเข้าไปสู่ลกู โป่งบริษทั นันเอง
- กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขันพืนฐาน หมายถึง การนํากําไรมาหารกับจํานวนหุ้นทังหมด
ทําให้ทราบว่ากําไรต่อ 1 หุน้ เป็นเท่าไหร่
- กําไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด หมายถึง การนํากําไรมาหารกับจํานวนหุ้นทังหมด รวม
ไปถึงสิทธิในการแปลงหุน้ สามัญต่างๆ ทียังไม่ได้ใช้สทิ ธิ ถ้าหากเกิดการใช้สทิ ธิจนครบ
การใช้สทิ ธิต่างๆ ทีทําให้จาํ นวนหุน้ เพิมขึนจะทําให้กาํ ไรต่อ 1 หุน้ เป็นเท่าไหร่

หลังจากทีเราทราบความหมายในงบกําไร-ขาดทุน ในทุกส่วนแล้ว ถ้าเรานําความหายของ


แต่ละบรรทัดมาพิจารณาดู เราก็จะพบสาระสําคัญบางอย่างของกิจการได้ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเรานํ า
รายได้ของบริษทั มาหักลบกับต้นทุนสินค้าหรือบริการ แล้วปรากฏว่าขาดทุน เราก็จะพบว่าแค่เราขาย
ของ โดยทียังไม่คดิ ค่าบริหารก็ขาดทุนแล้ว สู้ฝากเงินไว้เฉยๆ ยังดีเสียกว่า เว้น เสียแต่ว่าผลดังกล่าว
เกิดขึนเพียงชัวคราวจากการขาดทุน สตอกสินค้า ดังเช่นในช่วงปี 2551 ทีราคานํามันดิบกลางปีสูงถึง
147 เหรียญต่อบาร์เรล และเมือสินปีราคาตกลงมาที 40 เหรียญต่อบาร์เรล บริษทั นํามันซึงทังหลายใน
ไทย ซึงต้องซือนํามันมาแปรรูปจึงขาดทุนด้านวัตถุดบิ จากราคาขายทีร่วงลงมาเร็วมาก ซึงทําให้กําไร
จากการขายติดลบได้ เป็นต้น
แต่ถ้าเราขายของมีกาํ ไร แต่ว่าพอเอามาหักกับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร แล้วปรากฏว่า
ขาดทุน เราก็ต้องมาพิจารณาดูว่า จะลดค่าใช้จ่ายทางการตลาดหรือค่าใช้จ่ายเกียวกับพนักงานลงได้
หรือไม่ ซึงหากทําได้กจ็ ะทําให้กจิ การมีฐานะทางการเงินทีดีขนึ

39 | P a g e
แต่ถ้าสุดท้ายคือ ขายของหักกับค่าใช้จ่ายทังหมดยังมีกําไร แต่ต้องเอากําไรไปจ่ายดอกเบียจน
หมดหรือบางปีขาดทุน ผูบ้ ริหารก็คงต้องหาทางกําจัดต้นทุนตรงนีออกไปโดยการเพิมทุน (เอาเงินใส่เข้า
ไปเพิม แต่จะทําให้หนุ้ มีจาํ นวนมากขึน) หรือ refinance ให้ได้ดอกเบียทีลดลง

ดังนันตัวเลขแต่ละบรรทัดก็จะมีความหมายของมันทีสามารถนํามาตรวจสุขภาพของบริษทั ได้
โดยเฉพาะบรรทัดสุดท้าย ซึงก็คอื บริษทั มีกาํ ไรต่อหุน้ หรือไม่ และสุดท้ายกําไรหรือขาดทุนทีเกิดขึน จะ
ถูกนําไปรวมในงบดุล ซึงทําให้สนิ ทรัพย์ของบริษทั เพิมมากขึนหรือลดลงนันเอง

สรุปความคิ ดในบทนี – งบกําไรขาดทุนจะช่วยให้เราทราบว่าประสิทธิภาพการดําเนินงานของ


บริษทั ดีมากน้อยเพียงไร และหากพิจารณาลงในรายละเอียดก็จะยิงทําให้เราทราบว่ากําไรของบริษทั มา
จากจุดใด และจุดใดทีเป็นรายจ่ายหลักทีทําให้กาํ ไรลดลงหรือขาดทุน

40 | P a g e
บทที 14 ลองวิ เคราะห์ห้นุ STOCK 1
จากทีได้นําเสนอวิธกี าร หรือตัวเลขทางการเงินอะไรมาทังหมด เชือว่าหลายคนคงยังไม่เห็น
ภาพ เนืองจากไม่มตี วั อย่างให้ดู จึงทําให้ยงั สงสัยว่าเราจะหาหุน้ ป ันผลทีดีและสมําเสมอยังไง บทนีเราจะ
มาลองเอาตัวเลขจริงมาวิเคราะห์คร่าวๆ กันนะครับ

หุน้ ตัวแรกทีนํามาวิเคราะห์ (ซึงไม่ได้เปิดเผยชือหุน้ ) ผมเรียกว่า STOCK 1 แล้วกัน เรามาดูกนั


ว่าหุน้ STOCK 1 จะตรงตาม concept หุน้ ป ันผลทีเราตังไว้หรือไม่

เราเริมต้นสแกนหุ้นคร่าวๆ จาก Company Hilight ดูก่อน.. ซึงข้อมูลตรงนีหาได้จาก website


ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก็คอื www.set.or.th

41 | P a g e
เมือเราดูใน STOCK 1 Summary เราจะเห็นได้วา่ หุน้ ตัวนีเป็นหุ้นทีตัวใหญ่ทเี ดียว มีสนิ ทรัพย์
รวมถึง 1.36 ล้านล้านบาท แต่จากการทีเราต้องการหาหุน้ ป ันผล เราก็จะเข้ามาดูเงินป ันผลของมันก่อน
เลยเป็นอันดับแรก

ถ้าเราดูอตั ราส่วนเงินป ันผลตอบแทนในบรรทัดสุดท้าย อัตรานีอ้างอิงกับราคาปิดสุดท้ายของปี


หรือราคาล่าสุดของแต่ละปี เทียบกับเงินป ันผลปีก่อนหน้านัน ซึงอาจจะทําให้เราสับสน สิงทีเราควรต้อง
ทําเป็นอันดับแรก ก็คอื ดูจาํ นวนเงินป ันผลในแต่ละปี จาก website ตลาดหลักทรัพย์ แล้วกดไปทีหัวข้อ
“ข้อมูลสิทธิประโยชน์” ซึงจะทําให้เราทราบถึงเงินป ันผลในแต่ละปี ซึงเราจะได้ขอ้ มู ล ดังนี
ปนผล
ั วันที 23 ก.ย. 2554 เงินปนผล
ั 6.00 บาทต่อหุน้ รอบประกอบการ 01 ม.ค. 2554 - 30 มิ.ย. 2554

ปนผล
ั วันที 18 มี.ค. 2554 เงินปนผล
ั 5.5 บาทต่อหุน้ รอบประกอบการ 01 ก.ค. 2553 - 31 ธ.ค. 2553

ปนผล
ั วันที 10 ก.ย. 2553 เงินปนผล
ั 4.75 บาทต่อหุน้ รอบประกอบการ 01 ม.ค. 2553 - 30 มิ.ย. 2553

ปนผล
ั วันที 30 เม.ย. 2553 เงินปนผล
ั 4.50 บาทต่อหุน้ รอบประกอบการ 01 ก.ค. 2552 - 31 ธ.ค. 2552

ปนผล
ั วันที 07 ก.ย. 2552 เงินปนผล
ั 4.00 บาทต่อหุน้ รอบประกอบการ 01 ม.ค. 2552 - 30 มิ.ย. 2552

ดูคร่าวๆ ก็จะทราบได้วา่ หุน้ ตัวนีมีอตั ราเงินป ันผลย้อนหลังทีสมําเสมอ เราจะสังเกตได้ว่า หุ้นที


ป ันผลสมําเสมอ ก็จะป ันผลไม่เคยขาด แต่หุ้นทีป ันผลไม่ส มําเสมอ ก็จะหยุดป ันผลบ้างในบางปี หรือ
อาจจะมีบางตัวทีไม่เคยป ันผลเลย ซึงโดยปกติแล้วหุ้น ป ันผล ตัวอืนๆ มักจะป ันผล ปี ละ 1 ครัง คือ
หลังจากทีปิดงบประจําปี แต่หุ้นบางตัว (เช่นตัวนี) อาจจะใจดีป ันผลทุกๆ 6 เดือน ซึงก็มบี างบริษทั ที
ป ันผลต่อเนืองทุกไตรมาสเลยด้วยซํา ซึงเป็นลักษณะทีดีของหุน้ ทีเราจะเข้าไปลงทุน

ต่อมาเราก็มาดูความเข้มแข็งของกิจ การ เราจะสังเกตได้ว่าส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สินปี 2551


อยู่ท ี 380,000 ล้า นบาท ในขณะทีไตรมาส 3 ปี 2554 อยู่ท ี 530,000 ล้า นบาท แสดงว่า ในรอบ
2 ปี 9 เดือน ส่วนของผู้ถือหุ้น เพิมขึนมาถึง 150,000 ล้านบาท คิดเป็น อัตราการเติบโต (หลังจากที
ป ันผลออกไปแล้ว ) เฉลียทีประมาณ 55,000 ล้านบาทต่อปี (150000ล้านบาท/33เดือน*12 เพือทําให้
เป็น 1 ปี) หรือคิดเป็นเฉลียที 14.4% ต่อปี ทังๆ ทีได้หกั เงินป ันผลไปแล้ว (ยําอีกรอบ) การเติบโตอย่าง
ต่อเนืองในรอบหลายปีทผ่ี านมาทําให้เรามันใจในกิจการได้มากทีเดียว ซึงถ้าเราไม่อยากคํานวณตัวเลขนี
เอง เค้ามีบอกไว้ให้คร่าวๆ ที ROE (%) ซึงจะเห็นว่าการเติบโตของกิจการเพิมขึนอย่างต่อเนืองจาก
14% ในปี 2552 เป็น 22% ในปี 2554 แต่ตวั เลขนี เป็นการเอากําไรสุทธิมาหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้น
ดังนันตัวเลขดังกล่าวจะยังไม่ได้หกั เงินป ันผลออกไป.. ค่อยๆ อ่านและทําความเข้าใจนะครับ..

42 | P a g e
แล้วถ้าถามว่าผลตอบแทนในอัตรานี เป็นผลตอบแทนทีเราได้หรือไม่ คําตอบก็คอื ไม่ใช่ เพราะ
ผลตอบแทนดังกล่าว คิดในอัตราส่วนทีเกิดจากมูลค่าทางบัญชี แต่เรามักไม่ได้ลงทุนในมูลค่าทางบัญชี
ดังเช่นทีหุน้ ตัวนีป ันผลดีมาก กําไรต่อเนือง ราคาของมันจึงไม่เคยตําไปกว่ามูลค่าทางบัญชีของมันเลย
ดังนันเงินป ันผลหรือผลตอบแทนทีเราได้กจ็ ะน้อยกว่าตัวเลขทีเราคุยกันมา

ผมยกตัวอย่างว่า สมมติเรารูว้ า่ มูลค่าทางบัญชีของต้นส้ม คือ 10 บาท ซึงให้ผลส้มทุกปี ปีละ 2


บาท มัน ก็ค งจะคิดเป็ น ป ันผลร้อ ย ละ 20% ต่ อปี แต่ถ้ าหากว่า เราซือต้น ส้มมาในราคา 20 บาท
(P/BV ที 2 เท่า) มัน ก็เท่ากับว่าเราได้อตั ราป ันผลเพียงร้อยละ 10% ต่อปี เท่านัน ในทางกลับกัน
ถ้าเราซือต้นส้มมาในราคา 5 บาท (P/BV ที 0.5 เท่า) ก็เท่ากับว่าเราได้ป ันผลถึง 40% ต่อปี ทเี ดียว และ
นีคือความจําเป็นอย่างยิงทีเราจะต้องเข้าซือสินทรัพย์ในเวลาทีเหมาะสม เพือให้ผลตอบแทนทีดีกว่า..

ย้อนกลับมาทีหุ้น STOCK 1 เราต้องยอมรับว่าแม้ช่วงวิกฤต 2008 มันก็ยงั ไม่ตกตําลงมากว่า


มูลค่าทางบัญ ชีเลย ถ้าเราอยากได้หุ้น ตัวนี เราก็อาจจะต้องซือในราคาทีตํามากพอ แต่อาจจะไม่ไ ด้
ส่วนลดจากเหตุการณ์พเิ ศษมากนัก (โดยข้อเท็จจริง คือ ณ สินปี 2551 ราคา อยู่ท ี 175 บาท ในขณะที
เมือต้นปี ราคาของมันอยูท่ ี 450 บาท หรือปรับลดลงมากว่า 60-70% ทีเดียว)

ทีนีเรามาดูความเสียงของกิจการซักหน่อย ซึงสิงทีแสดงถึงความเสียงของกิจการทีชัดเจนทีสุด
ก็คือ “หนีสิน ” เราก็จ ะมาดู อัตราหนี สิน ต่อทุน คือการเอาหนีสิน รวมมาหักลบกับส่วนของผู้ถือหุ้น
ดูคร่าวๆ คิดเป็น 1.XX เท่า ถือว่าไม่สงู (แต่กไ็ ม่ตา)
ํ พอจะยอมรับได้

มาถึงขันตอนสุดท้าย เพือเช็คให้แน่ใจว่าส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของมัน มาจากการประกอบการจริงๆ


ไม่ใช่มาจากการเพิมทุน (อัดเงินเข้าไปเพิม และทําให้จํานวนหุ้นเพิมขึน) เราก็ตรวจสอบโดยการดูใน
บรรทัดทีเขียนว่า มูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ซึงในช่วง 3 ปีทผ่ี านมา เพิมขึนจาก 146 บาทต่อหุ้นเป็น 185
บาทต่อหุน้ ถือว่าการเพิมขึนของระดับราคาเป็นของจริง และอยูใ่ นอัตราทีสูงซะด้วย..

สมมติถ้าเราลงทุนหุน้ ตัวนีในเวลาทีเหมาะสมจริงๆ นอกจากทีเราจะได้ดอกเบีย (เงินป ันผล) ใน


อัตราทีไม่น้อยกว่าดอกเบียเงินฝากแล้ว เรายังได้เห็นต้นเงินของเราเติบโตอีกปีละ 12-15% ทุกปีอกี ด้วย
ดีกว่าฝากเงินเฉยๆ อย่างแน่นอน

สรุปความคิ ดในบทนี – การลงทุนในหุ้นป ันผล นอกจากจะเกียวข้องกับช่วงเวลาทีเหมาะสม


แล้ว เราเองก็ต้องทําการบ้าน โดยการประเมินคร่าวๆ เกียวกับสินทรัพย์ หนีสิน กําไร และเงินป ันผล
ด้วยตัวเราเอง เพือให้เรามีความมันใจในสิงทีเรากําลังทําการลงทุนนะครับ..

43 | P a g e
บทที 15 ลองวิ เคราะห์ห้นุ STOCK 2
บทก่อนเราได้วเิ คราะห์หนุ้ STOCK 1 ซึงเป็นหุน้ ขนาดใหญ่ มีเงินป ันผลสมําเสมอไปแล้ว บาง
คนอาจจะนึกสงสัยว่า ถ้าไม่เคยดูหนุ้ มาก่อนเลย จะรูไ้ ด้อย่างไรว่าหุน้ ตัวไหนเป็นยังไง และเราจะมีวธิ คี ดั
สรรหุน้ ให้ละเอียดกว่านีอีกได้หรือไม่ เพราะฉะนันในบทนี เราจะมาวิเคราะห์หนุ้ กันต่อในมุมทีลึกกว่าเดิม
อีกนิดหนึง โดยการวิเคราะห์หนุ้ STOCK 2

เราดูทภาพ
ี STOCK 2 Summary กันก่อนนะครับ เบืองต้นเราจะเห็นว่า STOCK 2 เป็นหุ้นทีมี
สิน ทรัพย์ขนาดกลาง คือ มีส ิน ทรัพย์ 15,000ล้านบาท แต่มีส่วนของผู้ถือหุ้น เพียง 2,128 ล้านบาท
จริง ๆ ผมชอบจะวิเคราะห์ความเสียงหนีสินต่อทุนในตอนท้าย แต่ว่าสัดส่วนนี ของบริษทั นีมัน เตะตา
เหลือเกิน คือหนีสินต่อทุนมากมายถึง 6.18 เท่า ถ้าเราดูยอ้ นหลัง ปรากฏว่าหนีเพิมขึนทุกปี โดยสองปี
44 | P a g e
ทีผ่านมากูเ้ งินเข้ามาสูงกว่าส่วนของผูถ้ อื หุน้ หลายเท่านัก พอเราดูเท่านีก็จบแล้ว คือหุน้ ตัวนีมีความเสียง
สูงมาก ไม่ควรเข้าไปลงทุนเป็นอันขาด...

ต่อมา เราก็มาดูเงินป ันผล สังเกตได้ว่าไม่มปี ันผลมา 3-4 ปีแล้ว.. เงินป ันผลนัน ปกติกค็ อื จะ
ป ันผลจากกําไร ถ้าบริษทั ไม่มกี าํ ไร หรือกําไรไม่มากพอ ก็จะป ันผลไม่ได้ ดังนันหุ้นตัวนี เป็นกิจการที
ไม่ โ ต มีก ารประกอบการทีไม่ ส มําเสมอ อาจจะมีบ างปี ท ีมีผ ลประกอบการทีดี แต่ ใ นระยะยาว
เราอาจจะนอนไม่หลับเลยหากเรามาซือหุน้ ตัวนี..

ยิงพอเรามาดูมูลค่าทางบัญชีต่อหุ้น มูลค่าทางบัญ ชีต่อหุ้น ในช่วง 5 ปี ท ีผ่านมา ลดลงอย่าง


ต่อเนืองเลยทีเดียว จาก 5.32 บาทต่อหุน้ ในปี 2551 เหลือเพียง 2.62 บาทต่อหุน้ ในป ัจจุบนั กับ ก้อนหนี
ทีเพิมขึนอีกมหาศาล

ผมให้ เ ทคนิ ค ในการดูค วามเข้ม แข็ง ของกิจ การอีก สัก นิ ด หนึ งนะครับ .. ถ้ า เราสัง เกตดู
เราจะพบว่าการก่อหนีของกิจการมันจะมีอยู่ 2 ประเภทเท่านันล่ะ ประเภทแรก คือ ก่อหนีมาเพือการ
ลงทุน ซึงหนีมัน จะเพิมขึนมาแบบมีรูปแบบ มีแบบแผน และมีกําหนดระยะเวลาทีจะคืน ทุน แน่ น อน
ซึงเมือถึงจุดๆ หนึง หนีสินมันจะเริมลดลง (เริมคืนทุน) จากกําไรทีสูงขึนซึงมาจากการลงทุนใหม่ๆ แต่
ประการทีสอง คือ การก่ อ หนี มาเพืออุ้ม กิจ การ หมายความว่า กิจ การมัน กํา ลัง แย่ คือ ลูก ผีลูก คน
หนีทีเกิดขึนก็จะเป็นลักษณะของการมาแบบไม่รู้เนือรู้ตวั ไม่มแี ผนการลงทุน มาเป็นก้อนแบบต่อเนือง
และมาแบบถาโถมจนเรารูส้ กึ ได้วา่ มันแปลกๆ คิดว่าหุน้ ตัวนี ก่อหนีขึนมาแบบประเภทไหนกันล่ะครับ..

แล้วทําไมผมถึง เอาหุ้น ตัวนีมายกตัวอย่างให้ดูล่ะ ทีผมยกตัวอย่างให้ดู เพราะหุ้นตัวนี P/BV


ตํามาก ซึงเมือเราพยายามหาหุน้ P/BV ตํา เราก็อาจจะมาเจอหุน้ ตัวนีก็เป็นได้ ซึงบางคนหากมาเจอกับ
หุน้ ตัวนีในปี 2553 ซึงเป็นปีทหุี ้นตัวนีพลิกกลับมามีกําไรสูงมาก เราก็อาจจะคิดว่า “หรือว่ากิจการมัน
กําลังจะฟืนแล้ว” แล้วเราก็เข้าซือมันไป ซึงปีถดั ไปคือ ปี 2554 มีการทําราคาของหุน้ ขึนไปถึง 2.30 บาท
แต่ในป ัจจุบนั มันก็ตกกลับมาเหลือเพียงแค่ 1.31 บาท (ทังๆ ทีในปี 2554 ถ้ามันราคาอยู่ท ี 2.30 บาท
ก็ย งั มี P/BV เพีย ง 0.88 เท่ า ) ซึงการเข้า ใจผิด ในลัก ษณะสํา คัญ ของกิจ การเกิด ขึนได้เ สมอ
ดังนันเราจึงต้องมาดูรายละเอียดของงบการเงินทีเจาะลึกมากขึน..

ทีนีเราก็ต้องเอางบดุลฉบับย่อมาดูกนั ไปดูข้อมูลสินทรัพย์กนั ก่อนที STOCK 2 – asset


(ข้อมูลพวกนีมีทงหมดใน
ั website ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนะครับ)

45 | P a g e
สินทรัพย์มที งหมด
ั 15,447.55 ล้านบาท เรามาดูกนั ซิว่ามีอะไรอยู่บ้าง.. อย่างแรกเราดูเงินสด
ก่อน เงินสดมีเพียง 500 ล้านบาท คิดเป็นเพียงแค่ 3-4% ของสินทรัพย์ทงหมด
ั แสดงว่าเงินส่วนใหญ่มที ี
ลงไปหมดแล้ว ในขณะทีบริษทั กลับเอาเงินไปลงทุนระยะสันถึง 1,029 ล้านบาท ทังๆ ทีบริษทั กําลังมี
ป ัญหาสภาพคล่อง

พอมาดูลกู หนีการค้าหรือตัวเงินรับ ปรากฏว่าสูงถึง 1,030 ล้านบาท โดยเป็นลูกหนีในกิจการที


ไม่เกียวข้องกัน ถึง 1,027 ล้านบาท ถ้าเราย้อนกลับไปดูส่วนของผู้ถือหุ้น ซึงมีร าวๆ 2,100 ล้านบาท
ทําไมบริษทั ถึงมีเงินทีค้างรับ สูงถึงครึงหนึงของส่วนของผูถ้ อื หุน้ มันแลดูไม่ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไรนัก..

46 | P a g e
ต่อมาเรามาดูมลู ค่างานทียังไม่ได้เรียกเก็บ รวม 5,379 ล้านบาท ถ้ามองในแง่ดี คือถ้าเรียกเก็บ
ก้อนนีมาได้ บริษทั จะมีผลประกอบการทีพลิกฟืนขึนมาทันที กระแสเงินสดจะดีขนมาก ึ แต่ทผมสงสั
ี ยคือ
ทําไมจึง ยัง ไม่ไ ด้เ รีย กเก็บ เงิน สูง ถึง ขนาดนี หรือว่าจริง ๆแล้ว มัน เรียกเก็บไม่ไ ด้ แล้วรอตัดหนีสูญ
หรืออะไรยัง ไง อาจจะมีเหตุผ ลของบริษ ัท เอง แต่ถ้าผมเป็ น คนนอกมามองดู ผมก็มองว่ามัน แปลก
เพราะบริษทั ต้องแบกดอกเบียอยูท่ ุกวันๆ ในขณะทีมีเงินทีบริษทั ยังไม่ได้เรียกเก็บสูงขนาดนี ผมคิดว่า
ถ้าได้เงิน ก้อนหนีมาคืน หนีสิน ของบริษทั เงิน 5,000 ล้านบาท ดอกเบียก็น่ าจะราวๆ 350 ล้านบาท
ซึงจะประหยัดต้นทุนให้แก่บริษทั มากกว่ากําไรทีบริษทั ทําได้ดว้ ยซําไป..

สินค้าคงเหลือ อยู่ใ นอัตราส่วนทีไม่สูงมากนัก และสินทรัพย์หมุนเวียนอืนอยู่ในรูปของเงิน ที


รับมาล่วงหน้ ากับเงินประกัน ผลงาน ควรจะอยู่ใ นรูปเงิน สด แต่ต้องกัน สํารองไว้ อาจจะใช้เป็ น เงิน
หมุนเวียนชัวครังชัวคราวได้บา้ ง แต่ถ้าสังเกตดู สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนของบริษทั มีเพียง 3,500 ล้านบาท
ในขณะทีมีทดิี นและอุปกรณ์สุทธิเพียง 1,320 ล้านบาท

สรุปโดยรวมเกียวกับสินทรัพย์ ก็คอื ผมอาจจะสงสัยในการใช้เงินหลายประการในบริษทั รวมไป


ถึงการทีเรียกเก็บเงินไม่ได้หรือยังไม่ได้เรียกเก็บ ทีนีเราลองมาดู ภาพ STOCK 2 debt กันต่อ

47 | P a g e
ผมยังคงสงสัยในตัวบริษทั อยู่ เลยเอาหนีสินของบริษทั มาดูบ้าง ปรากฏว่ามีหนีสินหมุนเวียน
หรือหนีสินทีมีกําหนดชําระไม่เกิน 12 เดือน สูงถึง 12,571 ล้านบาท จากหนีสินรวมทังหมด 13,166
ล้านบาท หมายความว่าในรอบ 12 เดือนต้องรีบหาเงินจํานวน 12,571 ล้านบาทมาคืนเจ้าหนี หรือต้อง
ไปกู้มา refinance ต่อไป รายละเอียดของหนีระยะสัน ก็มวี งเงินเบิกเกินบัญชีสูงถึง 5,235 ล้านบาท
ดอกเบียก็น่าจะราวๆ 7-10% ก็คงจะสูงราวๆ 350 - 500 ล้านบาทต่อปี นอกจากนียังมีเจ้าหนีการค้า
ซึงอาจจะไม่ เ สี ย ดอกเบี ย แต่ ย ัง คงต้ อ งรี บ หาเงิน มาจ่ า ยเพื อรัก ษาเครดิ ต ของกิ จ การสู ง ถึ ง
1,780 ล้านบาท และยังมีเงินทีรับมาล่วงหน้าอีก 3,435 ล้านบาท ซึงทังหมดนีเป็นหนีสินจํานวนมหาศาล
ในขณะทีบริษทั ใช้เงินไปในทางทีไม่ได้สมเหตุสมผลเท่าไรนัก จากทีได้วเิ คราะห์ไปในส่วนของสินทรัพย์
แล้ว และเพือตอกให้แน่ใจเราจะมาดูภาพ STOCK 2 – equity กันสักหน่อย

จากส่วนของผูถ้ อื หุน้ เราจะพบว่ากิจการมีทุนจดทะเบียนทังหมด 1,092.30 ล้านบาท โดยมีการ


ชําระค่า หุ้น แล้ว จํา นวน 812 ล้านบาท ในวัน ทีหุ้น ออกจําหน่ ายนัน สามารถขายได้ร าคาทีสูง กว่า
มูลค่าราคาพาร์ถงึ 1,753 ล้านบาท (ยกตัวอย่างหุน้ พาร์ 1 บาท สามารถเสนอขายให้กบั ประชาชนได้ถงึ
9 บาท เป็ น ต้น ซึงคนทีซือหุ้น ในมูลค่าทีแพงขนาดนีได้ มีส องคน คนแรกคือรู้ว่า กิจ การจะเติบโต
ในระดับสูง และคนทีสองคือคนทีซือแบบไม่รู้อะไรเลย) ซึงก็ปรากฏว่าหลังจากเสนอขายหุ้นไปแล้ว
หุ้น ประสบป ัญหาขาดทุ น จนกระทังมีขาดทุน สะสมสูง ถึง 448 ล้านบาท ถ้า เรานํ างบในหลายๆ ปี
หรือหลายๆ ไตรมาสมาเรียงต่อกัน เราก็จะทราบว่า แนวโน้มบริษทั มีสภาวการณ์ขาดทุนเพิมขึนหรือ
ลดลง สําหรับบริษทั นี ถือว่าดูแนวโน้มไม่ค่อยดีนกั

48 | P a g e
ในส่วนสุดท้ายของการวิเคราะห์ คืองบกําไรขาดทุน ในภาพ STOCK 2 – profit เรามาดูกนั เลย

งบกําไร-ขาดทุน นี แสดงผลการดําเนิน งานในรอบ 9 เดือน ของปี 2554 ซึงแสดงให้เห็น ว่า


บริษทั มีรายได้สงู ถึง 7,370 ล้านบาททีเดียว จากการรับเหมาก่อสร้างถึง 7,141 ล้านบาท มีรายได้อนๆ

จากการบัน ทึกหนีสงสัย จะสูญ ทีโอนกลับมา 234 ล้านบาท (หมายถึง หนีทีค้างชําระเกิน 3 เดือ น

49 | P a g e
แล้วได้รบั คืนมา จึงมีการโอนกลับเป็นกําไร หลังจากทีก่อนหน้านีตัดบัญชีหนีสูญเป็ นขาดทุนไปแล้ว )
แต่เราเองก็ตอ้ งมาดูดา้ นต้นทุนด้วยว่า สุดท้ายแล้วบริษทั มีกาํ ไรมากน้อยเพียงใด

พอมาดูดา้ นรายจ่าย เราพบว่ารายจ่ายทีเป็นต้นทุนการรับเหมาก่อสร้างสูงถึง 6,977 ล้านบาท


มองดูคร่าวๆ ก็คอื ต้นทุน การก่อสร้างแทบจะกิน กําไรไปจนเกือบหมด และเมือรวมต้นทุน การขาย
(ค่าใช้จ่ายในการเอารถขนไปส่งของ หรือค่าธรรมเนียมต่างๆ) จํานวน 122 ล้านบาท และค่าใช้จ่าย
ในการขายและการบริหาร ซึงสูงถึง 400 ล้านบาท ก็ทาํ ให้ต้นทุนรวมทังหมดสูงกว่ารายได้ และสุดท้าย
ก็คอื ในรอบ 9 เดือน บริษทั ขาดทุนไปถึง 23 ล้านบาท

จากการวิเคราะห์ทงหมด ั เราก็จะสังเกตได้ว่า บริษ ัทนีไม่ใช่บริษ ัททีมีกําไรหรือการเติบโตที


สมําเสมอ และไม่ใช่หนุ้ ป ันผลแบบทีเรากําลังค้นหา แต่กบ็ อกไม่ได้ชดั เจนว่าบริษทั นีดีหรือไม่ดี เพราะ
หากมีการเรียกเก็บเงินจํานวน 5,000 กว่าล้านบาท กลับมาได้ ก็อาจจะทําให้บริษทั มีความแข็งแกร่งขึน
อีกมากทีเดียว..

สรุปความคิ ดในบทนี – การวิเคราะห์งบการเงินแบบละเอียด อาจทําให้เราเสียเวลามากขึนแต่


ก็ทาํ ให้เราเกิดความสบายใจในการเข้าลงทุนในหุน้ ต่างๆ รวมไปถึงการคัดสรรหุ้นป ันผลทีโดนใจเราได้
อย่างถูกต้องแม่นยํามากขึน

50 | P a g e
บทที 16 การมีส่วนได้เสียของกลุ่มผู้ถอื หุ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารบริ ษทั
ในการเลือกหุ้นนัน สิงแรกทีผมใช้คดั สรรหรือเป็นเหตุผลทีสําคัญทีสุดในการเลือกหุ้นของผม
ก็คอื สัดส่วนของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ซึงตลอดเวลาทีผ่านมาใช้ได้ผลมาตลอด ในบทนีเราจะพูดถึงในเรืองนี
บางคนอาจจะสงสัย เพราะในช่วงก่อนหน้านีผมแทบจะไม่ได้กล่าวถึงเรืองนีเลย นันก็เพราะเนืองมาจาก
ว่าผมไม่อยากนําเสนอออกไปก่อน เพราะจะทําให้นําหนักของเรืองนีมาบดบังการวิเคราะห์ป ัจจัยพืนฐาน

ถ้าเราสังเกตดู เราจะสังเกตได้วา่ ผูท้ ตัี งใจหรือใส่ใจทําอะไรมากกว่าคนอืนๆ มักจะเป็นผู้ทมีี ส่วน


ได้เ สีย มากกว่า คนอืนๆ ในทางธุ ร กิจ ก็ม ัก จะเป็ น คนทีลงเงิ น ลงแรงมากกว่ า คนอืน การลงทุ น ก็
เช่ น เดีย วกัน ผมสัง เกตได้ว่า หุ้น ทีมีผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ถือ อยู่ใ นสัด ส่ วนทีมาก มัก จะเป็ น หุ้น ทีมีผ ล
ประกอบการทีดีหรือมีเสถียรภาพกว่าหุน้ ทีมีผถู้ อื หุน้ รายใหญ่ถอื อยูใ่ นสัดส่วนทีน้อย โดยเฉพาะอย่างยิง
หุ้น ทีผู้บริห ารบริษ ัท เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสียเอง ซึงก็คือผู้มีส่วนได้เสียโดยตรงนันเอง และถ้าหาก
กิจการเริมแย่ลง หรือเป็นช่วงขาลงของอุตสาหกรรม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้บริหารก็มกั จะขายออกมา
ก่อนเช่นเดียวกัน (อันนีไม่นับพวกวิกฤตเศรษฐกิจ หรือนําท่วม ซึงเป็นขาลงแบบฉับพลัน ไม่สามารถ
วางแผนได้ล่วงหน้า แล้วผูบ้ ริหารบริษทั ขายหุน้ ออกไม่ทนั นะครับ)

วิธีส งั เกตดูน ะครับ เราก็ต้อ งมาดูใ น website ของตลาดหลัก ทรัพย์กนั โดยกดเข้าไปใน


“ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ” เกณฑ์ทผมใช้ี นัน ถ้าเป็นบริษทั ขนาดใหญ่ ควรจะต้องมีกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่เกินกว่า
30-40% ส่วนบริษทั ขนาดกลางหรือขนาดเล็ก ควรมีผู้ถือหุ้นใหญ่ซกั 40-60% เป็นต้นไป เพือทีจะได้
วางใจว่า ถ้าเค้าบริหารบริษทั ไม่ดี เค้าจะได้เจ๊งไปกับบริษทั ด้วย และจะยิงดีมากถ้ากลุ่มผูถ้ อื หุน้ ใหญ่เป็น
ผูบ้ ริหารหรือกรรมการบริษทั เอง หรือการถือในชือของบุคคลก็จะเป็นเรืองทีดี เพราะการทีกลุ่มผู้ถือหุ้น
ใหญ่เป็นชือบริษทั หรือองค์กร อาจจะไม่ได้ให้ความสําคัญกับการติดตามผลการดําเนินงานของบริษทั
มากนัก..

อย่างไรก็ตามเราก็ตอ้ งระมัดระวังเรืองการใช้ขอ้ มูลผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่สกั นิดหนึงนะครับ เพราะว่า


ข้อมูลจะถูกปรับปรุงให้ทนั สมัยใน website ก็ต่อเมือมีการปิดสมุดบัญชีผถู้ อื หุน้ ซึงตามปกติกอ็ าจจะปีละ
1-2 ครัง เพือปิดสมุดประชุมประจําปี และรับเงินป ันผลเท่านัน ซึงจะมีวนั ทีปิดสมุดทะเบียนบอกเอาไว้ใน
หน้ าเดียวกัน กับ ทีบอกรายชือกลุ่ม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ นันเองครับ ดัง นันหากว่าบริษ ัท มีก ารปิ ดสมุ ด
ทะเบียนในเดือนมีนาคม การทีเรามาดูรายชือนีตอนเดือนกันยายน ก็อาจจะล้าสมัยไปสักนิด คืออาจจะ
ไม่ได้อพั เดท แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าจะเชือไม่ได้ซะทีเดียว

แล้วเราจะทําอย่างไร ถ้าผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูบ้ ริหารบริษทั แอบขายหุน้ ออกไป...

51 | P a g e
ทางคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ กลต. เค้าก็เป็น ห่วงผู้ถือหุ้น
รายย่อยอย่างพวกเรา เค้าจึง มีการกําหนดให้มีแบบฟอร์มการรายงานการได้มาหรือจําหน่ ายออก
ทีเรารูจ้ กั กันว่าแบบฟอร์ม 246-1 และแบบฟอร์ม 59-2 แบบฟอร์มทังสองอย่างนีคืออะไร

แบบฟอร์ม 246-1 คือ แบบฟอร์มทีไม่ว่าใครก็ตามทีถือหุ้นในบริษ ัทเพิมขึนหรือลดลงในอัตรา


5% จะต้องแจ้งต่อกลต.ทุกครัง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าผมถือหุ้นอยู่ 4.5% ผมไม่ต้องรายงาน แต่ถ้าผมซือ
หุน้ เพิมอีก 0.6% เป็น 5.1% ผมก็ตอ้ งรายงาน กลต. และถ้าแม้วา่ วันต่อมาผมขายออก 0.2% เหลือเพียง
4.9% ผมก็ต้องรายงานอีกครังหนึง นันก็คอื เพดาน 5–10–15-20-25% ไปเรือยๆ ทีถ้าหากข้ามไปอีก
ช่วงหนึงก็จะต้องมีร ายงานทุกครังไป แต่ถ้าถือหุ้นจาก 4% ไปที 56% รวดเดียวเลย อันนีก็รายงาน
ทีเดียวพอ เพราะวัตถุประสงค์คอื เค้าแค่ตอ้ งการให้ทราบถึงการเปลียนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้นรายใหญ่
ของบริษทั เท่านัน

แบบฟอร์ม 59-2 คือ แบบฟอร์มทีรายงานการเปลียนแปลงหุ้นของผู้บริหารบริษทั คู่สมรส และ


บุตรทียังไม่บรรลุนิตภิ าวะของบริษทั ซึงถือว่าเป็นกลุ่มผู้มสี ่วนได้เสียในกิจการ ไม่ว่าจะได้มาเพิมหรือ
โอนออกหรือจําหน่าย แม้แต่หนุ้ เดียว ก็จะต้องรายงานให้ กลต.ทราบ

แบบฟอร์มทังหมดนี ถ้ามีแจ้งเข้ามาที กลต. ก็จะมีแจ้งบอกนักลงทุนในข่าวทีประกาศจากตลาด


หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ใน website ตลาดหลักทรัพย์เหมือนเดิม โดยกดเข้าไปดูในข่าวของหุ้นตัว
นันๆ และถ้าเราอยากทราบข้อมูลย้อนหลัง ถอยไปหลายๆ ปี เราก็สามารถกดดูได้ใน website ของ
กลต. (www.sec.or.th)

แล้วจะต้องกังวลอะไรกับกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ล่ะ?? เพราะถ้าเค้าขายออกไปเราก็ทราบอยู่ดี..
สิงทีต้องกัง วลก็คือ บางบริษทั นัน กลุ่มผู้ถือหุ้น รายใหญ่ อาจจะไม่ไ ด้เป็ น ผู้บริห ารบริษ ัท และมีการ
กระจายหุน้ ออกมามีเป็นหางว่าว คือ ถือกันไม่เกิน 5% แต่ถือกันหลายคน จึงไม่ต้องแจ้ง กลต. ถ้าเจอ
บริษทั ทีมีโครงสร้างผูถ้ อื หุน้ แบบนีให้ระวังเอาไว้ เพราะเวลาทีเค้าแอบขายออกมา เราจะไม่รตู้ วั ซึงมักจะ
เกิดกับหุน้ ทีมีขนาดกลางและขนาดเล็ก ทีมีผลประกอบการทีไม่ดนี กั และมีราคาทีขึนลงหวือหวาผันผวน
เพราะอาจมีการเอาหุน้ มาทําราคากินส่วนต่าง..

ในการนี ผมจึงขออนุญาตย้อนกลับไปใน 2 ตอนก่อนหน้าทีผมได้ทาํ การวิเคราะห์หนุ้ STOCK 1


และ STOCK 2 ผมจะบอกว่า หุ้น STOCK 1 มีกลุ่มผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ถืออยู่ร วมกัน 60-70%
ในขณะทีหุ้น STOCK 2 มีกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ถืออยู่เพียง 25% เท่านัน ซึงถ้าลองย้อนกลับไปดู
งบการเงินและการวิเคราะห์หุ้น STOCK 1 และ STOCK 2 เราก็อาจจะสังเกตเห็นอะไรบางอย่างที
แตกต่างกันได้ชดั เจนยิงขึน..

52 | P a g e
สรุปความคิ ดในบทนี – การดูสดั ส่วนผู้ถือหุ้น รายใหญ่ มีความสําคัญมากในการเข้าลงทุน
เพราะกลุ่มผู้ถือหุ้น ใหญ่ ห รือผู้บริห ารบริษ ัท มักทราบดีถึง สภาพของกิจการและเป็ นผู้มีส่วนได้เสีย
โดยตรง การเปลียนแปลงการถือหุ้นจะบ่งบอกถึงนัยยะบางอย่างได้ รวมไปถึงการทีกลุ่มผู้ถือหุ้นราย
ใหญ่ถอื หุน้ ในสัดส่วนทีมาก ก็ยอ่ มแสดงถึงความเชือมันในอนาคตของกิจการอีกด้วย..

53 | P a g e
บทที 17 ค้นหาหุ้นปันผลกันเถอะ
หลังจากทีเราได้เรียนรูอ้ ะไรมามากต่อมากแล้ว ถึงเวลาทีเราจะต้องนําความรูข้ องเราไปสู่การ
ปฏิบตั แิ ล้ว ตังแต่บทนีไปจะบอกวิธที างแบบสําเร็จรูปทีเดียวสําหรับการหาหุน้ ป ันผลทีดี อย่างไรก็ตาม
ผมจะไม่เจาะจงลงไปในหุน้ ตัวใดตัวหนึง เพือมิให้เป็นการชีนําการลงทุนนะครับ..

ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนัน เค้าจะมีดชั นีอยู่หลายประเภท ซึงในหลายประเภทนัน


รวมไปถึง SETHD หรือว่า SET High Divident 30 Index อีกด้วย ซึง SETHD เป็นหุ้นกลุ่มทีมีสภาพ
คล่องสูง (ซือขายเปลียนมือง่าย) และมีการป ันผลอย่างสมําเสมอต่อเนือง และจะมีการคํานวณการเข้า
ออกของหุ้นทุก 6 เดือน โดยในรอบวันที 1 มกราคม – 30 มิถุนายน 2555 หุ้น 30 ตัวทีอยู่ในกลุ่มนี
มีดงั นีครับ (ใช้ตวั เลข P/BV และ %Divident yield ของราคาหุน้ ณ วันที 10 กุมภาพันธ์ 2555)

Sector Securities Name P/BV %DIV


GFPT
2.4 2.75
Agribusiness GFPT PUBLIC COMPANY LIMITED

STA
1.49 5.81
Agribusiness SRI TRANG AGRO-INDUSTRY PUBLIC COMPANY LIMITED
BBL
1.34 3.06
Banking BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED
KK
0.91 7.1
Banking KIATNAKIN BANK PUBLIC COMPANY LIMITED

TCAP
0.94 4.4
Banking THANACHART CAPITAL PUBLIC COMPANY LIMITED

TISCO
1.71 6.21
Banking TISCO FINANCIAL GROUP PUBLIC COMPANY LIMITED

SCC
3.17 3.49
Construction Materials THE SIAM CEMENT PUBLIC COMPANY LIMITED

HANA
1.03 8.47
Electronic Components HANA MICROELECTRONICS PUBLIC COMPANY LIMITED
EGCO
0.87 5.59
Energy & Utilities ELECTRICITY GENERATING PUBLIC COMPANY LIMITED

GLOW
2.33 3.57
Energy & Utilities GLOW ENERGY PUBLIC COMPANY LIMITED
LANNA
2.80 3.93
Energy & Utilities THE LANNA RESOURCES PUBLIC COMPANY LIMITED

PTT
1.88 2.93
Energy & Utilities PTT PUBLIC COMPANY LIMITED
RATCH
1.31 5.23
Energy & Utilities RATCHABURI ELECTRICITY GENERATING HOLDING PUBLIC CO.,LTD.
TTW
2.20 7.41
Energy & Utilities THAI TAP WATER SUPPLY PUBLIC COMPANY LIMITED
CPF
4.46 2.68
Food and Beverage CHAROEN POKPHAND FOODS PUBLIC COMPANY LIMITED
Information & 2.31 25.76
Communication Technology TOTAL ACCESS COMMUNICATION PUBLIC COMPANY LIMITED DTAC
Information & 1.81 4.65
Communication Technology SAMART CORPORATION PUBLIC COMPANY LIMITED SAMART
Information & 3.55 3.26
Communication Technology SAMART TELCOMS PUBLIC COMPANY LIMITED SAMTEL

54 | P a g e
Sector Securities Name P/BV %DIV
AJ
1.93 4.76
Packaging A.J. PLAST PUBLIC COMPANY LIMITED

PTL
1.72 11.28
Packaging POLYPLEX (THAILAND) PUBLIC COMPANY LIMITED
Petrochemicals & 1.94 4.71
Chemicals THAI PLASTIC AND CHEMICALS PUBLIC COMPANY LIMITED TPC

AP
1.45 2.82
Property Development ASIAN PROPERTY DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED

LPN
2.92 4.00
Property Development L.P.N. DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED

QH
1.03 7.55
Property Development QUALITY HOUSES PUBLIC COMPANY LIMITED

SC
1.06 4.64
Property Development SC ASSET CORPORATION PUBLIC COMPANY LIMITED
SPALI
2.31 4.29
Property Development SUPALAI PUBLIC COMPANY LIMITED

STPI
3.60 11.28
Property Development STP&I PUBLIC COMPANY LIMITED
MCS
2.23 7.69
Steel M.C.S.STEEL PUBLIC COMPANY LIMITED

BECL
0.79 6.74
Transportation & Logistics BANGKOK EXPRESSWAY PUBLIC COMPANY LIMITED
1.11 4.39
Transportation & Logistics PRECIOUS SHIPPING PUBLIC COMPANY LIMITED PSL

จากรายชือหุ้นทังหมด เราจะสัง เกตเห็น ว่าหุ้นทังหลายมีความถูก -แพงแตกต่างกัน และบาง


บริษทั ก็มอี ตั ราการป ันผลทีสูงมากถึงเกือบ 30% ทีเดียว ตารางทีนํามาให้ดู บ่งบอกถึงสภาวะป ัจจุบนั
ของหุน้ เท่านัน ซึงเราต้องตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังด้วย ดังนัน สิงทีเราจะต้องทําก่อนทีจะลงทุนในหุ้น
เหล่ านีก็คือ การเข้าไปดูข้อมูลผลประกอบการสําคัญ ทีอยู่ใ น www.set.or.th เพือใช้ประกอบการ
ตัดสินใจ โดยประเด็นทีเราจะต้องดูกค็ อื

1. การป ันผลทีสูง สูง ทุกปี หรือไม่ หรือว่ามีการป ันผลพิเศษ จึง ทําให้ปีนีป ันผลสูง กว่าปกติ
ซึงเราสามารถเช็คย้อนหลังได้ จากการดู %อัตราเงินป ันผล แต่อย่างน้อยทีสุด SETHD ก็ได้
ทําการกรองหุน้ มาให้เราแล้วอีกชันหนึงครับ..
2. บริษทั มีการเติบโตของส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) หรือไม่ และเติบโตอย่างสมําเสมอหรือไม่
เพราะถ้าส่วนของผูถ้ อื หุน้ ไม่โต เงินของเราก็ไม่โตนะครับ แม้วา่ จะป ันผลสูงก็ตาม..
3. อัตราส่วน P/BV สูงเกินไปหรือไม่ เมือเทียบกับความมันคงของกิจการ และเมือดูยอ้ นหลัง
ไปแล้ว มีการลดลงของราคาหรือ P/BV อย่างรวดเร็วหรือไม่ เพราะถ้าเคยมีการลดลงอย่าง
รวดเร็ว ก็แสดงได้วา่ หุน้ ดังกล่าวอาจมีความอ่อนไหวต่อสภาวะของตลาดได้ง่าย ซึงถ้าเรารอ
จังหวะทีเหมาะสม อาจจะสามารถซือได้ในราคาทีถูกมากๆ
4. เราควรเข้าไปเช็คสัดส่วนทางการเงินเชิงลึกคร่าวๆ หรือหาข้อมูลเกียวกับหุ้นดังกล่าวใน
website ต่างๆ ก็จะทําให้เราเข้าใจในตัวกิจการมากยิงขึนนะครับ

55 | P a g e
บทที 18 คัดสรรหุ้นเพือเข้าลงทุน
จากบทที 17 ทีเราได้ทาํ การค้นหาหุน้ ไปแล้ว เราจะพบว่ามีหนุ้ ทีป ันผลดีและราคาแพง หรือหุน้ ที
ป ันผลโดดเด่น (แค่บางปี) โผล่เข้ามาด้วย ทําให้เราอาจจะสงสัยว่าหุน้ ทีเราต้องการเป็นแบบไหน คําตอบ
ก็คอื เราต้องการหุ้นทีมีเสถียรภาพทีสุด หุ้นทีมีความแข็งแกร่งและผูกขาดตลาดจากขนาดของมันเอง
นันก็เพราะว่าในตลอดช่วงเวลาทีเราลงทุน มันมีความเป็นไปได้ว่าอัตราดอกเบียจะเปลียนแปลงขึนลง
เศรษฐกิจจะยําแย่บ้าง หรือว่าป ัจจัยอืนๆ ทีคาดไม่ถึงมารุมเร้าการลงทุน ของเรา หุ้น ที มีขนาดใหญ่
จะเป็นหุน้ ทีแข็งแกร่งทีสุดในอุตสาหกรรมของมันและจะอยูร่ อดได้แม้วนั ทียากลําบาก

ดังนัน เวลาทีเราเลือกหุน้ ให้เราดูทความแข็


ี งแกร่งของกิจการเป็นอันดับแรก ส่วนราคาทีเข้าซือ
หรือ P/BV ให้เราเก็บไว้เป็นข้อมูลว่าหุ้นตัวนีถูกหรือแพงเพียงใด ความแข็งแกร่งทีว่านีนอกจากจะดู
ค่า ROE แล้ว สิงทีผมแนะนํ าก็คือควรจะเป็ น หุ้น ทีเป็ น เบอร์ห นึงหรือสองในอุตสาหกรรมของมัน
นันเพราะว่าถึงแม้หนุ้ หลายๆ ตัวจะป ันผลดีอย่างต่อเนือง แต่ถ้าหากมันไม่ได้มคี วามแข็งแกร่งทีสุดใน
ตลาด ในระยะยาวป ัจจัยพืนฐานของกิจการก็อาจเปลียนแปลงได้ และอาจสู้การแข่งขันกับบริษทั ทีใหญ่
กว่าไม่ได้ ดังนันหากเราต้องการลงทุนในบริษทั ขนาดกลางก็ไม่ใช่วา่ จะทําไม่ได้ แต่เราอาจจะต้องตรวจ
สุขภาพมันบ่อยขึน

และก็เช่นเดียวกันทีในช่วงเวลาปกติหนุ้ ทีดีๆ เหล่านี ย่อมเต็มไปด้วยสถาบันการเงินขนาดใหญ่


ทังในประเทศและต่างประเทศ นักลงทุนรายใหญ่ และรายย่อยมากมายหมายตาไว้จนมีราคาทีสูงมาก
ดังทีเราเคยได้พดู ถึงกันไปหลายๆครัง ซึงผมเห็นว่าการลงทุนในจังหวะเวลาปกติ อาจไม่สามารถสร้าง
ผลตอบแทนทีดีได้ หรือยังคงมีความเสียงในระดับปกติ อย่างไรก็ตามถึงราคาขายมันจะยังคงแพง แต่หนุ้
ในดวงใจของเราก็ยงั เป็นหุน้ ทีดี แล้วเราควรวางแผนการลงทุนกับหุน้ ป ันผลเหล่านันอย่างไร

หลัง จากทีเราได้หุ้น ในใจมาหลายๆ ตัว แล้ว เราควรกระจายการลงทุน เพือลดความเสียง


โดยกระจายไปในหลายๆ อุตสาหกรรม ซึงจะกระจายมากเท่าใดก็สุดแล้วแต่ความสบายใจ แต่สาํ หรับผม
เองนัน ผมคิดว่าไม่ควรลงทุนเกิน 5 ตัว เพราะหากมากกว่านีจะทําให้เราติดตามดูแลหุ้นป ันผลของเรา
ได้ไ ม่ท วถึ
ั ง เท่า ทีควร ซึงเมือเราได้หุ้น ในดวงใจทีเราคัด สรรมาแล้ว เราควรจะทํา อย่างไรต่อ ไปดี
จะเข้าลงทุนเลยดีหรือไม่..

จากทีผมเคยแนะนําให้เรารอคอยวันทีหุ้นตกลงมามากๆ จากวิกฤตการณ์ต่างๆ ทีทําให้คนเท


ขายหุน้ ออกมามหาศาลนัน จนระดับราคาของหุน้ ตกตําลงมามหาศาล บางคนอาจจะกังวลว่าเหตุการณ์
นันจะไม่เกิดขึน ดังนันวิธกี ารลงทุนทีอาจจะใช้ได้ผล สําหรับคนทีไม่ต้องการรอ ก็คอื การซือแบบเฉลีย

56 | P a g e
หรือทีเรียกว่า Dollar cost average คือซือทุกเดือน เดือนละเท่าๆ กัน โดยทีไม่ตอ้ งสนใจภาวะเศรษฐกิจ
อะไร ถ้าเราคัดสรรหุน้ ป ันผลถูกตัวแล้วล่ะก็ ผลตอบแทนทีได้กจ็ ะไม่เลวทีเดียว

แล้วถ้าสําหรับคนทีต้องการรอซือในจังหวะทีเกิดวิกฤตล่ะ ควรจะซือเมือไหร่ มันเป็นป ัญหาที


หลายๆ คนกําลังต้องการคําตอบ เพราะถึงแม้วา่ จะเกิดวิกฤตมาแล้ว ในทางปฏิบตั เิ ราก็อาจจะไม่ทราบ
อยูด่ วี า่ ควรจะเข้าซือในเวลาใด ซึงเราจะไปเรียนรูจ้ งั หวะเข้าซือกันในบทต่อไปครับ..

57 | P a g e
บทที 19 ค้นหาจังหวะทีเหมาะสมด้วย กราฟ Tecnical
จัง หวะทีเหมาะสมในการซือหุ้น คืออะไร ผมได้กล่ าวถึง จัง หวะทีเหมาะสมมาเกือบทังเล่ ม
แต่ยงั ไม่ได้บอกรายละเอียดเกียวกับมันสักที ในบทนีเราจะมาเรียนรูถ้ งึ จังหวะทีเหมาะสมกันนะครับ

เราจะรู้สกึ อย่างไร ถ้าหากอยู่ดีๆ พบว่ามีข่าวเชือไข้ห วัดนก จนส่งผลให้ไก่ย่างแสนอร่อยลด


ราคาลงมาจากตัวละ 120 บาท เหลือเพียงตัวละ 50 บาท ในวันนัน ถ้าเราจะซือไก่ย่าง เราต้องรู้ก่อนว่า
ไก่ย่างทีราคามัน ตกลงมานัน เพราะตัวมัน เป็ น โรค หรือเป็ น เพราะญาติๆ มัน เป็ น โรค ตัวมัน ก็เลย
ขายไม่ออก ทําให้ราคาตก แต่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ถ้าไก่ทุกตัวติดโรคเหมือนกัน มากบ้างน้อยบ้าง
การทีเราเลือกตัวทีแข็งแรงทีสุด ตัวทีใหญ่ ทสุี ด มันก็จ ะทําให้อย่างน้ อยไก่ของเราก็น่ าจะเป็ น ไก่ท ีมี
ภูมติ า้ นทานโรคดีทสุี ด แล้วในการลงทุน เราจะหาช่วงเวลาแบบนีได้อย่างไร

ในสภาวะปกติ เป็นไปได้ยากทีหุ้นป ันผลทีเราได้คดั สรรแล้วจะลดราคาได้ขนาดนัน แต่เมือใน


วันทีมีขา่ วเกียวกับเศรษฐกิจมหภาคเกิดขึน เช่น วิกฤตเศรษฐกิจตามทีต่างๆ ของโลก ให้เราเตรียมตัว
ถอนเงินมาลงทุนได้เลย เพราะในวันเวลาเหล่านัน จะมีเงินไหลออกจากตลาดหุน้ แน่นอน..

เพราะหุน้ คือสินทรัพย์เสียง อย่างไรก็ตามจะต้องมีคนถอนเงินออกมา แล้วไปลงในสินทรัพย์ท ี


เสียงน้อยกว่าเช่นพันธบัตรหรือทองคํา บางคนอาจจะกล่าวว่า ถ้าภูมภิ าคอืนเกิดวิกฤต ก็มคี วามเป็นไป
ได้วา่ เงินจะไหลเข้ามาในตลาดหุน้ บ้านเรา หุน้ ก็น่าจะขึนรึเปล่า.. คําตอบก็คอื มีความเป็นไปได้ แต่อย่าง
น้อยในช่วงแรกทีเกิดการตืนตระหนก จะต้องมีแรงขายออกมาก่อน จากความหวาดกลัว และจากความ
จําเป็นต้องใช้เงินของต่างชาติ จึงต้องขายหุน้ ออก ทําให้ระดับราคาของหุน้ ตกตําลง ในช่วงวิกฤตปี 2540
หุ้นไทยซบเซาถึง 4-5 ปี และในช่วงวิกฤต subprime ปี 2008 ตลาดหุ้น ซบเซาประมาณ 6-7 เดือน
โดยเฉพาะในปี 2008 นัน ดัช นีหุ้นไทยปรับตัวลงมาอย่างต่อเนือง จากระดับ 800 จุด ลงมาถึงระดับ
380 จุด จากความหวาดกลัวว่าเศรษฐกิจ ไทยจะได้รบั ผลกระทบจากระบบการเงินโลก ซึงภายหลัง ก็
พบว่าประเทศไทยไม่ได้รบั ผลกระทบเท่าใดนักและก็ใช้เวลา 2 ปี กลับไปยืนทีเดิมได้

มันคงจะดีไม่น้อยทีเดียวถ้าเราซือในจังหวะทีมันลดลงตําสุดหรือเกือบตําทีสุด เพือให้ได้หนุ้ ราคา


ทีถูกกว่า แต่เราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่าจุดไหนตําสุด สมมติหนุ้ ราคา 10 บาท อาจจะลงมา 7 บาทแล้วเราเข้า
ซือ มัน ก็อาจจะลงไป 5 บาทแล้วเราเข้าไปซืออีก และสุดท้ายมัน อาจจะลงมาเหลือ 3 บาทก็เป็น ได้
เมือถึงจังหวะดังกล่าว เราจะมีเครืองมืออะไรช่วยในการเข้าซือสถานการณ์นีบ้าง

สิงทีผมใช้ไ ด้ผ ลอยู่เป็ น ประจําคือ การใช้กราฟเทคนิคอล (Technical) เข้ามาช่วยในการหา


จังหวะเข้าซือหุน้ กราฟทีว่านีใช้อย่างไร เรามาดูกนั เลยครับ..

58 | P a g e
กราฟทีเราใช้ เป็นกราฟพืนฐานทีหาดูได้ง่าย โดยใช้เส้นค่าเฉลีย 25 วันและค่าเฉลีย 100 วัน
เวลาใช้กราฟ เราสังเกตเพียงอย่างเดียวก็คือ ในวันทีระดับราคาหุ้นตกลงมาอย่างต่อเนือง เมือใดที
ค่าเฉลีย 25 วันสูงกว่าค่าเฉลีย 100 วันให้เข้าซือหุ้นในเวลานัน เพราะแสดงถึงระดับราคาหุ้นทีตกลง
มาถึงพืนของระดับราคาแล้ว เพือให้เห็นภาพ ว่ากราฟดังกล่าวใช้ได้ผลจริง เรามาดูกราฟราคาของหุ้น
ป ันผลต่างๆ ในช่วงวิกฤตปี 2008 กันนะครับ

เส้น กราฟทีผมใช้นัน เส้น 25 วัน จะมีส ีฟ้ า และเส้น 100 วัน จะมีส ีข าว ผมขอให้ส งั เกตใน
ช่วงเวลาครึงปีหลังของปี 2008 จนถึงปลายปี 2009 นะครับ ช่วงเวลาดัง กล่าวผู้คนต่างไม่กล้าซือหุ้น
และระดับราคาตกลงมาอย่างต่อเนือง แต่ถงึ จุดๆหนึง เมือราคาตกลงมาตํามากพอแล้ว ก็จะมีระดับราคา
ทีมีเสถียรภาพมากขึน ซึงเราจะสังเกตว่าค่าทีเราใช้ คือ ค่าเฉลีย 25 วัน และ 100 วัน ดังนันเราจะไม่มี
ทางซือได้ในจุดทีตําทีสุดอย่างแน่ นอน แต่เราจะสามารถซือได้ในเวลาทีหุน้ กลับตัวเป็นขาขึนแล้ว..

ผมขอยกตัวอย่างกราฟของหุน้ ขนาดใหญ่ 4 ตัว ได้แก่ PTT, SCC, BBL และ EGCO รวมไปถึง
กราฟของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือเป็นตัวอย่างในการใช้กราฟนะครับ

กราฟ PTT ช่วงเวลา19-6-50 ถึง 12-2-55

59 | P a g e
กราฟ SCC ช่วงเวลา19-6-50 ถึง 12-2-55

กราฟ BBL ช่วงเวลา19-6-50 ถึง 12-2-55

60 | P a g e
กราฟ EGCO ช่วงเวลา19-6-50 ถึง 12-2-55

กราฟ SET ช่วงเวลา19-6-50 ถึง 12-2-55

61 | P a g e
จากกราฟทังห้าแบบทีได้ยกตัวอย่างให้เห็น จะสังเกตได้วา่ จะเกิดจังหวะการซือหุ้นทีดี ในช่วงที
เส้นสีฟ้ า 25 วัน ตัดขึนเหนือเส้นสีขาว 100 วัน ในช่วงวันเวลาทีเกิดวิกฤตและคนไม่กล้าเข้าซือหุ้น และ
ถึงแม้วา่ จะไม่ได้เข้าซือในจุดทีตําทีสุดก็ตาม มันก็ยงั คงอยู่ในระดับราคาทีตํามากทีเดียว และในวันนัน
ใครทีอยากจะขายหุน้ ก็คงจะได้ขายไปจนหมดแล้วทําให้ระดับราคาไม่ลดลงไปกว่านี..

ซึงผมหวังว่าผู้อ่านจะนํ าวิธนี ีในการหาจัง หวะเข้าซือหุ้น ป ันผล และถือไว้ตราบน านเท่านาน


สําหรับจังหวะขายนัน เป็นสิงทีขึนอยูก่ บั ความพึงพอใจและแนวทางการลงทุนของแต่ละคน ซึงแนวทาง
ทีผมมุ่งเน้นในหนังสือเล่มนี คือถือเพือรับเงินป ันผล และเราอาจจะไม่ได้ขายหุ้นเหล่านีอีกเลย โดยเก็บ
เป็นมรดกไว้ให้ลกู หลาน ซึงก็เป็นแนวทางการลงทุนทีผมคิดว่าจะทําให้ผู้ลงทุนมีความสบายใจในการ
ลงทุนและไม่ต้องยุ่งยากมากนัก อย่างไรก็ตาม อย่าลืมนะครับว่าการคัดสรรหุ้นเป็ นเรืองที สําคัญ
มากทีเดียว..

62 | P a g e
บทที 20 บทส่งท้าย
หลัง จากทีทุ กท่ านได้ศึกษากัน มาถึง บทสุด ท้า ยนี ผมเชือว่า หลายๆ ท่า นคงมีค วามเข้าใจ
เกียวกับการลงทุนให้หนุ้ ป ันผลไม่มากก็น้อย และเชือว่าจะเป็นจุดเริมต้นในการลงทุนของหลายๆ ท่าน
ซึงผมก็มคี วามยินดีอย่างยิงทีได้แบ่งป ันสิงทีผมได้เรียนรูม้ าให้กบั คนอืนนําไปใช้ประโยชน์

ผมเชือว่าการลงทุน เป็ นเรืองทีต้องใช้ความรู้และต้องทํา การบ้านอยู่บ้าง และเชือว่าถ้าเราได้


ทํางานหนักมากพอแล้ว เราจะประสบความสําเร็จไม่มากก็น้อย ซึงผมเห็นว่าเรืองการลงทุนเป็นเรือง
สําคัญเรืองหนึงในชีวติ เพราะมันคงจะเป็นการดีทเงิ
ี นออมของเราเติบโตได้ดว้ ยตัวของมันเอง แทนทีจะ
มาจากการสะสมของเราแต่เพียงอย่างเดียว อันเป็นเหตุผลทีเขียนหนังสือเล่มนีขึน

แน่ น อนว่าหนัง สือเล่มนีคงจะมีเนือหาทีเป็น ประโยชน์ อยู่พอสมควรทีเดียว แต่ก็เชือว่าแนว


ทางการลงทุนทังหลายยังคงมีหนังสือและเอกสารต่างๆ อีกมากมายทีน่าศึกษา และเชือว่าผูอ้ ่านคงจะได้
มีโอกาสฝึกฝนความชํานาญในการลงทุนต่อไปอย่างแน่นอน

สําหรับแนวคิดในการลงทุนฉบับนี ผมกล่าวสรุปได้ว่าเป็นการลงทุนในหุ้นป ันผล ซึงผมยึดถือ


ความสบายใจในการลงทุนเป็นหลัก คือการถือครองกิจการทีดี ในเวลาทีเหมาะสม ซึงนันหมายถึงต้นทุน
ทีเหมาะสมสําหรับการลงทุนอีกด้วย..

ผมขอเปรียบเทียบให้เห็นภาพว่า การลงทุนก็เหมือนกับเวลาเราเลือกทีจะไปทานข้าวในทีใด
สักแห่ง สิงทีเราทําคือการเลือกร้านทีอร่อยและใช้วตั ถุดบิ ทีมีคุณภาพ มีประวัตแิ ละชือเสียงทีดียาวนาน
ซึงก็เหมือนกับการทีเราเลือกหุ้นป ันผลทีดี ไม่ไปข้องแวะกับหุ้นทีไม่ดที เปรีี ยบได้กบั ร้านอาหารทีแย่ๆ
แต่ทงนี
ั ในหลายๆ ครังทีเราจะไปทานร้านอาหารเหล่านัน เราก็จะพบว่าคนเยอะ การบริการไม่สามารถ
ทําได้เต็มทีนัก ซึงถ้าเรารู้สกึ ว่าเราไม่ได้รบี ร้อนต้องทานให้ได้ เราก็ล้มเลิกแผนแล้วไปกินวันอืนแทน
เช่น ทานในวันทีฝนตกหนักแล้วแทบไม่มคี นมาทานทีร้าน เป็นต้น การทานวันนันเราก็อาจเป็นโต๊ะเพียง
โต๊ะเดียวทีพนักงานทังร้าน ให้บริการก็เป็นได้และอาจจะมีได้แถมโน่นนีซะอีก ซึงก็คล้ายๆ กับการลงทุน
ในหุน้ ทีดีในวันทีมีคนสนใจมากมาย ทีระดับราคาสูงลิว ทําให้ตน้ ทุนของเราสูงและอัตราผลตอบแทนตํา
เราอาจจะยังไม่ตอ้ งรีบลงทุนช่วงนัน แต่ไปลงทุนวันทีไม่มคี นสนใจลงทุนหรือคนหวาดกลัวกับเหตุการณ์
บางอย่าง ซึงอาจทําให้เราได้ซอหุ ื น้ ในราคาทีมีส่วนลด และหลายๆครังส่วนลดนีมากกว่า 50% เสียด้วย

สุดท้ายนีผมขอให้ผอู้ ่านทุกท่านโชคดีในการลงทุน และผมเชือเป็นอย่างยิงว่าการแบ่งป ันความรู้


ของผมในครังนี จะก่อให้เกิดบุญกุศลนําไปสู่การแบ่งป ันอืนต่อไป.. ขอบพระคุณครับ..

63 | P a g e

You might also like