You are on page 1of 101

Fundamental

of Corrosion

ความรู้ เบือ้ งต้ นเรื่ องสนิม และการกัดกร่ อน


Contents

1 การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน

2 ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี

3 การป้องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน

4 คุณสมบัตขิ องวัสดุ
การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน
การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน
กัดกร่ อน (Corrosion) คือ ปฏิกิริยาระหว่างวัสดุโลหะกับ
สิ่ งแวดล้อมซึ่งนาไปสู่การเสื่ อมสภาพของวัสดุน้ นั และยังผลให้
ความสามารถในการทาหน้าที่ของวัสดุดงั กล่าวเสี ยไป โดยส่ วน
ใหญ่ปฏิกิริยาดังกล่าวจะเป็ นปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้ า แต่ท้ งั นี้สามารถ
เป็ นปฏิกิริยาเคมี หรื อปฏิกิริยาทางกายภาพของโลหะได้เช่นกัน
การกัดกร่ อนของเหล็ก เรี ยกว่าการเกิดสนิม หรื อเหล็กออกไซด์
เกิดจากเหล็กทาปฏิกิริยากับออกซิเจนโดยออกซิเจนจากอากาศ
หรื อน้ า
การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน
แบ่งตามสภาวะแวดล้อมที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งการกัดกร่ อนออก
ได้เป็ น 2 ประเภทคือ
 การกัดกร่ อนในสภาพชื้น (Wet corrosion) การกัดกร่ อน
ประเภทนี้จะเกิดขึ้นเมื่อโลหะได้รับความเปี ยกชื้นจากน้ าหรื อ
สารละลายอิเล็กโตรไลท์ เป็ นการกัดกร่ อนที่เกิดขึ้นกับวัสดุ
ประเภทโลหะมากที่สุด เช่น การเกิดสนิมเหล็ก เป็ นต้น
 การกัดกร่ อนในสภาพแห้ง (Dry corrosion) การกัดกร่ อน
ประเภทนี้ เกิดเนื่องจากสภาพอุณหภูมิการใช้งานที่สูง เช่น การ
กัดกร่ อนที่เกิดกับเหล็กกล้า เนื่องจากก๊าซภายในเตาสูง
การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนสามารถจาแนกตามลักษณะทางกายภาพของการกัด
กร่ อน หรื อตามตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการกัดกร่ อน
 การกัดกร่ อนแบบสม่าเสมอ (Uniform corrosion)
 การกัดกร่ อนในบริ เวณจาเพาะ (Localized corrosion)
 แบบมหภาค (Macroscopic scale)
• การกัดกร่ อนแบบกัลวานิ ก (Galvanic corrosion)

• การสู ญเสี ยส่ วนเจือ (Dealloying)

• การกัดกร่ อนแบบหลุม (Pitting corrosion)

• การกัดกร่ อนบริ เวณซอก (Crevice corrosion)

• การกัดเซาะ (Erosion corrosion)

• การกัดกร่ อนจากการถูครู ด (Fretting corrosion)


การจาแนกประเภทของการกัดกร่ อน
 แบบจุลภาค (Microscopic scale)
• การกัดกร่ อนบริ เวณขอบเกรน (Intergranular corrosion)
• การแตกร้าวจากแรงเค้นและการกัดกร่ อน (Stress corrosion cracking)
• การกัดกร่ อนร่ วมกับความล้า (Corrosion fatigue)
• การแตกร้าวจากไฮโดรเจน (Hydrogen embrittlement)
ปฏิกริ ิ ยาไฟฟ้ าเคมี
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
ประกอบด้วยส่ วนสาคัญต่างๆดังต่อไปนี้
 ขั้วไฟฟ้ า ประกอบด้วย 2 ขั้วคือ cathode และ anode
 สะพานเกลือ (Salt Bridge) ประกอบด้วยเกลือที่ละลายน้ าได้ดี
และมีไอออนบวกและไอออนลบที่เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วใกล้เคียง
กันเช่น KCl, NH4NO3 ทาหน้าที่ให้ไอออนจากสารละลายหนึ่ง
ข้ามผ่านไปอีกข้างหนึ่งได้

Zn (s ) + 2OH -(aq) ZnO(s) + H 2O(l) + 2e-


ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
 การพิจารณาชั้วไฟฟ้ าในเซลล์ไฟฟ้ าเคมีโดยอาศัย กระแสไอออน (
ion current ) โดยพิจารณาว่า เมื่อเกิดปฏิกิริยา เกิดไอออนชนิดใดที่
ขั้วไฟฟ้ า โดย ขั้ว Cathode คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยา Reduction และ
ขั้ว Anode คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
ั ป์ วานิก (Galvanic cell) galvanic cell เป็ นเซลล์ไฟฟ้ าเคมีทา
 เซลล์ กล
ให้เกิดกระแสไฟฟ้ า เรี ยกว่าเซลล์โวลตาอิก (Voltaic cell) และเป็ น
เครื่ องมือที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนระหว่างปฏิกิริยา
ออกซิเดชันและรี ดกั ชันผ่านลวดตัวนาไฟฟ้ า แบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ
1. เซลล์ ปฐมภูมิ (Primary cell)
2. เซลล์ ทุตยิ ภูมิ (Secondary cell)
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
1. เซลล์ ปฐมภูมิ (Primary cell) คือเซลล์กลั วานิกชนิดที่ปฏิกิริยาเคมี
ภายในเซลล์จะให้ผลผลิตที่ไม่สามารถผันกลับเป็ นสารตั้งต้นได้
หรื อแบบไม่ผนั กลับ ดังนั้นเมื่อเซลล์เสื่ อมสภาพก็จะไม่มี
กระแสไฟฟ้ าไหล ไม่สามารถประจุไฟเข้าไปใหม่ เช่น ถ่านไฟฉาย
เซลล์เชื้อเพลิง
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
2. เซลล์ ทุตยิ ภูมิ (Secondary cell) คือเซลล์กลั วานิกชนิดที่ปฏิกิริยา
เคมีผนั กลับได้ โดยการต่อไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายนอกเซลล์เข้า
สู่เซลล์ในทิศทางกลับกันกับทิศทางของกระไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นใน
เซลล์ เมื่อเซลล์เสื่ อมสภาพก็สามารถทาให้เซลล์กลับสู่ สภาพเดิม
ได้ เช่น แบตเตอรี สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ เป็ นต้น
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
ตัวอย่างปฏิกิริยารี ดอกซ์ในเซลล์กลั ป์ วานิก ประกอบด้วย 2 ครึ่ งเซลล์ โดย
แต่ละครึ่ งเซลล์จะประกอบด้วยขั้วไฟฟ้ าที่จุ่มลงไปในสารละลาย แท่ง
สังกะสี และแท่งทองแดงในเซลล์เป็ นขั้วไฟฟ้ าซึ่งเรี ยกว่า อิเล็กโทรด
(electrode) ขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรี ยกว่า ขั้วแอโนด (anode) และ
ขั้วที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน เรี ยกว่าขั้วแคโทด (cathode)
 ปฏิกิริยาออกซิเดชันที่แอโนด
(Zn) Zn(s) Zn2+(aq) + 2e-
 ปฏิกิริยารี ดกั ชันที่แคโทด
(Cu) Cu2+(aq) + 2e- Cu(s)
ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี

ตัวอย่างปฏิกิริยารี ดอกซ์ในเซลล์กลั ป์ วานิก


ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี
 Galvanic series
Hydrogen
Electrode Potential
Element Ion Overvoltage
(Volts)
(Volts)
Magnesium Mg2+ -1.87 (Base End) 0.7
Aluminium Al3+ -1.35 0.5
Zinc Zn2+ -0.76 0.7
Chromium Cr2+ -0.6 0.32
Iron Fe2+ -0.44 0.18
Cadmium Cd2+ -0.4 0.5
Cobalt Co2+ -0.29
Nickel Ni2+ -0.22 0.15
Tin Sn2+ -0.14 0.45
Lead Pb -0.13 0.45
Hydrogen H+ 0.00 -
Antimony Sb3+ +0.11 0.42
Copper Cu2+ +0.34 0.25
Silver Ag+ +0.8 0.1
Gold Au3+ +1.3 (Noble End) 0.35

Oxygen OH- +0.4


Chlorine Cl- +1.36
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
เราสามารถชะลอการกัดกร่ อนของโลหะได้โดย
1) การเลือกใช้วสั ดุ (Material selection)
2) การออกแบบ (Design)
3) การปรับสภาพแวดล้อม (Modification
of environment) และการบารุ งรักษาโลหะ
4) การเคลือบผิว/ทาสี (Coating/painting)
5) วิธีการทางไฟฟ้ า-เคมี (Electrochemical methods)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
1) การเลือกใช้วสั ดุ (Material selection)
ในกรณี ที่ตอ้ งเชื่อมต่อโลหะ 2 ชนิดที่ต่างกัน ควรเลือกโลหะที่มีค่าศักย์ไฟฟ้ า
รี ดกั ชัน (Reduction potential) ใกล้เคียงกัน เพื่อป้ องกันการกัดกร่ อนเนื่องจากความต่าง
ศักย์ (Galvanic corrosion)
ในกรณี ของเหล็กกล้าไร้สนิมที่ใช้งานบริ เวณที่ใกล้ทะเล เราสามารถลดแนวโน้มการ
เกิดการกัดกร่ อนแบบหลุม(Pitting) ได้โดยเลือกใช้เกรด 316 ที่ผสมโมลิบดินมั่ ประมาณ
2 % แทนเกรด 304
ในกรณี ของเหล็กกล้าไร้สนิมที่หนาและต้องทาการเชื่อม เราสามารถป้ องกันการกัด
กร่ อนตามขอบเกรน (Intergranular corrosion) ได้โดยเลือกใช้เกรดที่มีคาร์บอนต่า (ไม่เกิน
0.03% เช่น เกรด 316L) หรื อเกรดที่ผสม Ti หรื อ Nb (ซึ่ งมีความสามารถในการจับกับ
คาร์ บอนได้ดีกว่าโครเมียม)
ใส่ ใจเรื่ องการเลือกใช้ลวดเชื่อม เพื่อป้ องกันการกัดกร่ อนบริ เวณรอยเชื่อม
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
2) การออกแบบ (Design)
ออกแบบให้สัดส่ วนพื้นที่ของอาโนดต่อพื้นที่ของคาโธดที่สูงจะลดการกัดกร่ อน
แบบ Galvanic ได้ดีกว่า
ทาการเคลือบโดยการพิจารณาอย่างรอบคอบ เช่น ไม่ควรทาสี บนโลหะที่ทนการกัดกร่ อน
น้อย (anode) โดยไม่ทาสี บนโลหะที่ตา้ นทานการกัดกร่ อนมากกว่า (คาโธด) เนื่องจากรู
ขนาดเล็ก (pin-holes) ในบริ เวณที่ทาสี ไม่สมบูรณ์จะทาให้เกิดพื้นที่อาโนดขนาดเล็ก แต่มี
พื้นคาโธดที่ขนาดใหญ่ จึงเป็ นการเร่ งการกัดกร่ อนเฉพาะบริ เวณที่อาโนด
ลดการสัมผัสทางไฟฟ้ าระหว่างโลหะต่างชนิ ดกันเพื่อป้ องกัน Galvanic corrosion เช่น ใช้
ฉนวน (insulator) คัน่
ใช้ปะเก็น (Gasket) ที่เป็ นของแข็ง เช่น เทฟลอนแทนวัสดุที่ดูดซับของเหลวได้
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
2) การออกแบบ (Design) ต่อ
ออกแบบเผือ่ ให้ชิ้นงานให้มีความหนามากขึ้น หรื อออกแบบให้ชิ้นงานที่เป็ นอาโนด
สามารถถอดเปลี่ยน ซ่อมบารุ งได้ง่าย
ในกรณี ที่ส่งผ่านของเหลวที่มีตะกอนตามท่อโลหะ อาจพิจารณาใช้ตวั กรองเพื่อกรอง
ของแข็งออก เพื่อช่วยลดการกัดเซาะ
สาหรับเหล็กกล้าไร้สนิมที่ได้สูญเสี ยโครเมี่ยมไปในรู ปของคาร์ ไบด์ (sensitised) เช่น
ชิ้นงานหนาที่ผา่ นการเชื่อม การปรับปรุ งโดยกระบวนการทางความร้อนเพื่อละลายคาร์
ไบด์จะสามารถช่วยป้ องกันการกัดกร่ อนตามขอบเกรนได้
เราสามารถลด Stress corrosion cracking ได้โดยการลดความเค้นเหลือค้างในชิ้นงานให้
ต่าลง โดยการอบคลายความเครี ยด
ออกแบบควบคุมการไหลของสารที่ขนส่ งในท่อและวาล์วให้เหมาะสม โดยคานึงถึง
รู ปร่ างและลักษณะทางเรขาคณิ ต หรื อการเพิ่มความหนาของวัสดุบริ เวณที่ถูกกัดเซาะ
สูง (Erosion corrosion) เป็ นต้น
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
2) การออกแบบ (Design) ต่อ
ใช้การเชื่อมแทนการใช้หมุดย้า (Rivet) หรื อสลักเกลียว (Bolt) ในการยึดวัสดุ

การใช้ Bolt ยึดโลหะ การเชื่อมยึดโลหะ

การเชื่อมต่อโลหะ 2 ชนิ ดที่ต่างกัน ควรเลือกใช้โลหะที่ใช้เชื่อมที่ตา้ นทานการกัดกร่ อนสู ง


กว่าโลหะพื้น (Base metal) ที่ตอ้ งการยึดต่ออย่างน้อย 1 ตัว
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
3) การปรับสภาพแวดล้อม (Modification of environment) และการบารุ งรักษาโลหะ
การใช้สารยับยั้งการกัดกร่ อน (inhibitor) เติมในสารละลายที่ตอ้ งการใช้ลาเลียง จัดเก็บ
หรื อใช้ทาการผลิต เพื่อลดการกัดกร่ อนของอุปกรณ์โลหะที่สัมผัส
การศึกษาถึงอิทธิ พลของปั จจัยทางสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อการกัดกร่ อน เช่น การเปลี่ยนสภาพ
จากคาโธดเป็ นอาโนดในระบบสิ่ งแวดล้อมต่างๆ เป็ นต้น
ทาความสะอาด ตรวจสอบอุปกรณ์และขจัดตะกอนที่ตกค้างอย่างสม่าเสมอ เป็ นต้น
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
4) การเคลือบผิว/ทาสี (Coating/painting)
เป็ นการป้ องกันไม่ให้เหล็กถูกกับแก๊สออกซิ เจนและความชื้น ซึ่ งเป็ นการป้ องกันการเกิด
สนิมของเหล็กได้ เป็ นวิธีที่สะดวก และให้ผลดีในการป้ องกันการเกิดสนิม แต่ขอ้ ควรระวัง
ในการเคลือบผิวก็คือต้องเคลือบอย่างมิดชิด การเคลือบผิวมีวธิ ี ดงั ต่อไปนี้
การเคลือบผิวด้วยพลาสติก
การเคลือบผิวด้วยสี
การเคลือบผิวด้วยน้ ามัน
การเคลือบผิวด้วยการรมดา เป็ นการป้ องกันการผุกร่ อนของโลหะอีกวิธีหนึ่ ง โดยการ
เคลือบสารสี ดาที่แผ่นโลหะ โดยใช้ความร้อนมีดว้ ยกันหลายแบบ เช่น การเคลือบผิวเหล็ก
ด้วยสังกะสี ดีบุก หรื ออีนาเมล
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
5) วิธีการทางไฟฟ้ า-เคมี (Electrochemical methods)
วิธี Cathodic protection โดยการทาให้โครงสร้างที่ตอ้ งการป้ องกันเป็ นคาโธด ซึ่ งอาจทา
โดยการให้กระแสไฟฟ้ า(impressed current) หรื อการใช้อาโนดสิ้ นเปลือง (sacrificial
anode) โดยใช้วสั ดุตวั อื่นซึ่ งทาหน้าที่เป็ นอาโนดต่อเข้ากับโลหะที่ตอ้ งการป้ องกัน เพื่อให้ผุ
กร่ อนแทน

 วิธี Anodic protection โดยการใช้กระแสไฟฟ้ าจากภายนอกทาให้โลหะที่ตอ้ งการปกป้ อง


สร้างชั้นฟิ ล์มที่เสถียร(protective film) ที่ผิวซึ่ งจะใช้ได้กบั โลหะเพียงบางชนิ ด ต่าง
จาก Cathodic protection ที่สามารถใช้กบั โลหะได้ทุกชนิด
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การเกิดสนิมเหล็ก เกิดขึ้นจากการที่เหล็กสัมผัสกับน้ าหรื อไอน้ าที่
มีออกซิเจนละลายอยู่ ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ
 Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e-
 O2(g) + 2H2O + 4e-  2OH-(aq)
ซึ่ งเมื่อรวมปฏิกิริยาการให้และรับอิเล็กตรอนเข้าด้วยกันจะได้
 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O  Fe(OH)2(s)
โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ Fe(OH)2 ไม่ละลายน้ า และสามารถเกิดปฏิกิริยากับออกซิ เจน
ต่อไปดังนี้
 4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O  4Fe(OH)3(s)
โดย Fe(OH)3 ที่เกิดขึ้นนี้มีลกั ษณะขรุ ขระเป็ นรู พรุ นและมีสีน้ าตาลแดง ซึ่ งรู ้จกั ทัว่ ไปคือ
สนิมเหล็ก ซึ่ งเป็ นผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่เกิดขึ้นจากการสึ กกร่ อน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
• Nature of the
corrodent
Environment
• Operating condition
• Polarization effects

• Electrochemical
Material activity of material
properties • Homogeneity
• Passivity

• Design
• Stress
Physical
• Couples
conditions
• External energy
• Mechanical action
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน

Schematic Summary of the Various Form of Corrosion


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน

Schematic Summary of the Various Form of Corrosion


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน

The corrosion appearances on elements and on base metal


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
Metallic Corrosion and Its Prevention
 Uniform Corrosion
 Galvanic Corrosion
 Pitting Corrosion
 Intergranular Corrosion
 Crevice Corrosion
 Erosion Corrosion
 Stress Corrosion Cracking
 Selective Leaching
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนแบบสม่าเสมอ (Uniform corrosion)

การกัดกร่ อนแบบสม่าเสมอ (Uniform corrosion)


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนแบบสม่าเสมอ (Uniform corrosion) เป็ นการกัดกร่ อนที่
เกิดขึ้นเนื่องจากโลหะสัมผัสกับสิ่ งแวดล้อมโดยอัตราการสู ญเสี ยของเนื้อโลหะที่บริ เวณ
ต่างๆ จะใกล้เคียงกัน ทาให้สามารถวัดอัตราการกัดกร่ อนและออกแบบการบารุ งรักษา
ตามช่วงระยะเวลาได้
 การกัดกร่ อน<0.15 มม. ต่ อปี โลหะในหมวดหมู่นีม้ คี วามต้ านทานการกัดกร่ อนที่ดเี ท่ าที่
เหมาะสาหรับชิ้นส่ วนทีส่ าคัญเช่ น เพลาปั๊ม, สปริงและใบพัดของปั้ม
 การกัดกร่ อน0.15-1.5 มม. ต่ อปี โลหะในหมวดหมู่นีเ้ หมาะสาหรับอุปกรณ์ เครื่องจักรที่
สามารถยอมให้ มกี ารกัดกร่ อนได้ สูง เช่ น ถัง, ท่ อ, วาล์ ว และสลักเกลียว
 การกัดกร่ อน>1.5 มม. ต่ อปี ไม่ เหมาะกับสาหรับใช้ งาน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนแบบสม่าเสมอ (Uniform corrosion)
การป้ องกันและการแก้ไข
 เลือกใช้วสั ดุอื่นที่เหมาะสมกว่า
 ใช้สารยับยั้ง (Inhibitor)
 การชุบเคลือบผิวโลหะและการฉาบผิวโลหะด้วยสารอื่น (Coatings)
 การลดความต่างศักย์ (Cathodic protection)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic corrosion) เช่น เมื่อ
โลหะ 2 ชนิดที่ต่างกันมาเชื่อมต่อกันจะเกิดความต่างศักย์ข้ ึน ทาให้เกิดการ
ไหลของอิเล็กตรอนระหว่างโลหะทั้งสอง โลหะที่ตา้ นทานการกัดกร่ อนได้
น้อยกว่าจะเป็ นอาโนด โลหะที่ตา้ นทานการกัดกร่ อนได้มากกว่าทาหน้าที่
เป็ นคาโธด โดยระดับการกัดกร่ อนขึ้นกับสภาพสิ่ งแวดล้อมที่โลหะทั้งสอง
สัมผัส ระยะห่างจากรอยต่อ (การกัดกร่ อนแบบกัลวานิคจะรุ นแรงที่สุด
บริ เวณใกล้รอยต่อระหว่างโลหะทั้งสอง และอัตราการกัดกร่ อนจะลดลงเมื่อ
ระยะห่างจากรอยต่อนั้นเพิ่มขึ้น) สัดส่ วนพื้นที่ของคาโธดต่อพื้นที่ของอา
โนด (ยิง่ สัดส่ วนดังกล่าวมาก ความรุ นแรงของการกัดกร่ อนที่อาโนดก็จะยิง่
สูงขึ้น)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic corrosion)

พื้นผิวแคโทดขนาดเล็กและผลพื้นผิว ในทางกลับกัน (แคโทดขนาดใหญ่ และ


แอโนดขนาดใหญ่ในการกัดกร่ อน แอโนดขนาดเล็ก) การกัดกร่ อนจะรุ นแรง
เล็กน้อย
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic corrosion)

โลหะที่มีศกั ย์ไฟฟ้ า
ต่ากว่าจะเป็ นอาโนด
และเกิดการกัดกร่ อน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic corrosion)
การป้ องกันการกัดกร่ อนมีหลายวิธีดงั นี้
 เลือกใช้วสั ดุที่มีค่า galvanic Series ใกล้เคียงกันเท่าที่เป็ นได้
 หลีกเลี่ยงอัตราส่ วนของพื้นที่คาโธด/อาโนด ปรับให้พ้น ื ที่ท้ งั สองใกล้เคียงกัน
 ใช้ฉนวนกั้นในบริ เวณที่ใช้โลหะต่างชนิ ดกันมาสัมผัสกัน
 ใช้สารเคลือบผิวอย่างระมัดระวัง ดูแลการเคลือบผิวให้อยูใ่ นสภาพดี
 เติมสารยับยั้ง เพื่อลดความรุ นแรงของการกัดกร่ อน
 ออกแบบที่ให้สามารถเปลี่ยนชิ้นงานที่เป็ นอาโนดได้ง่าย
 ติดตั้งวัสดุที่สามที่มีค่าความต่างศักย์นอ้ ยกว่าโลหะทั้งสอง เพื่อให้เกิดการกัดกร่ อนแทน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic corrosion)

ลักษณะการกัดกร่ อนแบบ
Galvanic Corrosion
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนเป็ นแบบรู ลึก (Pitting Corrosion) ในโลหะ ปริ มาณโลหะที่ถกู
กัดกร่ อนไปเป็ นส่ วนเล็ก แต่ทาให้เกิดความเสี ยหายได้มาก การตรวจสอบทาได้ยาก บาง
คราวปากรู อาจจะเล็กจนแทบมองไม่เห็น แต่ขา้ งในเป็ นโพรงใหญ่เกิดจากสาเหตุดงั นี้
Concentration Cell ตามบริ เวณปะเก็นใต้หวั หมุด หรื อมุมอับต่าง ๆ เมื่อเกิดการผุกร่ อน
สนิมหรื อวัตถุแปลกปลอมอื่น ๆ จะช่วยกั้นให้ concentration ระหว่าง anode กับ cathode
ต่างกันมากขึ้น การผุกร่ อนจะดาเนินไปเป็ นจุด ๆ ลึกลงไปในโลหะมากขึ้นทุกที
เกิดในน้ าที่มี chloride อยู่ มักจะเกิดกับ aluminum หรื อ stainless steel ซึ่ งเป็ นโลหะที่
อาศัย oxide film ตามผิว เพื่อป้ องกันการผุกร่ อน ถ้าผิว oxide film เกิดเป็ นรู โลหะที่จุดนั้นก็
จะผุกร่ อนได้ง่าย ยิง่ ถ้าอยูใ่ นสภาพน้ านิ่ งหรื อปริ มาณออกซิ เจนในน้ าก็อาจจะมีนอ้ ย ทาให้
เกิดการ oxide film เพื่อป้ องกันผิวเป็ นไปได้ชา้ ฉะนั้น โลหะจะ pit เป็ นรู ได้ง่าย
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนเป็ นแบบรู ลึก (Pitting Corrosion)
การป้ องกันการกัดกร่ อนแบบรู ลึกมีหลายวิธีดงั นี้
 ไม่ควรนาโลหะที่เกิด pitting ได้ง่าย หรื อมีแนวโน้มอย่างชัดว่าจะเกิด pitting ไปใช้ผลิต
เป็ นอุปกรณ์โรงงานตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนจากเหล็กสแตนเลส ชนิด 18 – 8 ที่มี
โมลิบดีนมั 2% เป็ นเหล็กสเตนเลส ชนิด 316 จะทาให้ความต้านทานการเกิด pitting
เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย การเติมโลหะโมลิบดีนมั ช่วยเพิ่มความสามารถในการป้ องกัน ซึ่ ง
เป็ นผลมาจาก passive surface มีเสถียรภาพเพิม่ ขึ้นมากนัน่ เอง

การใช้สารยับยั้ง (inhibitiors) ซึ่ งคือสารเคมีที่เข้าไปขัดขวางไม่ให้องค์ประกอบหลังของ


ปฏิกิริยาไฟฟ้ าเคมีในการกัดกร่ อนเกิดขึ้นครบถ้วนทั้ง 3 ประการ เติมลงไปในสิ่ งแวดล้อมที่
อาจจะก่อให้เกิด pitting ได้ง่าย ดังนั้น corrosion จึงไม่เกิดขึ้น
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนเป็ นแบบรู ลึก (Pitting Corrosion)

The shape of Pitting Corrosion


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนเป็ นแบบรู ลึก (Pitting Corrosion)

Pitting Corrosion
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนตามขอบเกรน (Intergranular and knife-line attack) มักจะ
เกิดกับ stainless steel Type 18-8 (คือ โครเมียม 18% นิกเกิล 8%) ที่ได้รับ heat treatment มา
ไม่ถกู ต้อง ถ้า 18-8 Stainless steel ถูกทาให้ร้อนระหว่าง 510 – 760oC เช่น ในการเชื่อมเป็ น
เวลานานพอสมควร (เรี ยกว่า Sensitization) โครเมียมในเหล็กจะทาปฏิกิริยากับ carbon เป็ น
chromium carbide ตกตะกอนมาอยูต่ ามบริ เวณขอบ grain ฉะนั้น ปริ มาณของโลหะ
โครเมียมตามบริ เวณใกล้ ๆ ขอบ grain จะมีนอ้ ยกว่าปกติ โดยที่เหล็กชนิ ดนี้อาศัยโครเมียม
เป็ นตัวป้ องกันการผุกร่ อน (เพราะเกิดเป็ น Chromium oxide film ป้ องกันผิว) ถ้าตามขอบ
grain มีโครเมียมเมื่อใช้งานในน้ าหรื อกรด ก็จะเกิดการผุกร่ อนโดย eletrochemical
corrosion cells ได้โดยรวดเร็ วตามบริ เวณนั้น บางคราวเนื้อเหล็กถึงกับร่ อนหล่นลงมาเป็ น
เมล็ด ๆ วิธีป้องกันก็คือ ต้องเผาเหล็กชนิ ดนี้ ให้ร้อนถึง 1010 – 1120oC เพื่อให้ chrormium
carbide กลับคืนมาเป็ นโครเมียมดังเดิม แล้วทาให้เย็นผ่านช่วง sensitization temp (510 –
760oC) โดยเร็ ว
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนตามขอบเกรน (Intergranular and knife-line attack)

Chromium carbide
precipitate
Cr23 C6

Grain boundaries
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนตามขอบเกรน (Intergranular and knife-line attack)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนตามขอบเกรน (Intergranular and knife-line attack)
การป้ องกันการกัดกร่ อนแบบเกรนมีหลายวิธีดงั นี้
 เผาเหล็กชนิ ดนี้ ให้ร้อน 1010 – 1120oC เพื่อให้ chrormium carbide กลับคืนมาเป็ น
โครเมียมดังเดิม แล้วทาให้เย็นผ่านช่วง sensitization temp (510 – 760oC) โดยเร็ ว
 ใส่ โลหะอื่นที่รวมตัวกับคาร์ บอน เป็ นคาร์ไบด์ได้ดีกว่าโครเมียม เช่น Nb, Ta, Ti ใน
ปริ มาณมากพอทาให้ไม่เกิดโครมเรี ยมคาร์ ไบด์
 ใช้เหล็กสเตนเลสที่มีปริ มาณคาร์ บอนน้อยกว่า 0.03% ซึ่ งเราเรี ยกว่าเป็ นเหล็กสเตนเล
สที่มีโลหะที่ถกู stabilized เพื่อป้ องกันปั ญหา intergranular
 การป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั ญหา knife-line attack คือ การอบเหล็กสเตนเลสนั้นให้ร้อน
ประมาณ 1065 oC ซึ่ งเป็ นอุณหภูมิที่โครเมียมคาร์ ไบด์ละลายเข้าสู่ เนื้อเกรน แต่เกิด
ตะกอนไนโอเบียมคาร์ไบด์ (หรื อคาร์ไบด์ของ Ta, Ti) ขึ้น ทาให้มีความต้านทานต่อทั้ง
knife-line attack และ Intergranular Corrosion แบบทัว่ ๆ ไป
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนบริ เวณซอก (Crevice Corrosion) มักจะเกิดกับ stainless steel
Type เป็ นรู ปแบบของ electrochemical corrosion ที่สามารถเกิดขึ้นได้ในรอยแยก รอยร้าว
และภายใต้เกราะป้ องกันผิวที่ซ่ ึ งมีสารละลาย (นิ่ง) อยู่ Crevice corrosion มีความสาคัญ
ทางด้านวิศวกรรม เมื่อมันเกิดขึ้นภายใต้ประเก็น rivets และ bolts ซึ่ งอยูร่ ะหว่าง valve disks
และ seats ซึ่ ง Crevice corrosion เกิดขึ้นในโลหะผสม เช่น stainless steels และ titanium,
aluminum และ copper alloys
Anode reaction : M  M+ + e-
Cathodic reaction : O2 + 2H2O + 4e-  4OH-
เมื่อดุลประจุดว้ ยคลอไรด์อิออน
M + Cl- + H2O  MOH + H+Cl-
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนบริ เวณซอก (Crevice Corrosion)

Mechanism of Crevice Corrosion.


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนบริ เวณซอก (Crevice Corrosion)

Mechanism of Crevice Corrosion.


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนบริ เวณซอก (Crevice Corrosion)
การป้ องกันการกัดกร่ อนบริ เวณซอกมีหลายวิธีดงั นี้
 ใช้การเชื่อมแทนที่การใช้ riveted หรื อ botted ในโครงสร้างทางวิศวกรรม
 ออกแบบภาชนะที่มีรูระบาย เพื่อป้ องกันการสะสมตัวของสารละลาย
 ใช้ประเก็นที่ไม่ดูดซับสารละลาย เช่น Teflon
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะ (Erosion Corrosion) มักจะมีให้เห็นได้มาก
ในเครื่ องจักร หรื ออุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้กบั น้ าหรื อในของเหลวที่มีความเร็ วสู ง เช่น ใบพัดของ
เครื่ องสู บน้ า ข้อเลี้ยวของท่อ ฯลฯ การผุกร่ อนเป็ นไปด้วยเหตุ 2 อย่างร่ วมกัน คือ
electrochemical corrosion ธรรมดา และจากแรงกระแทกของน้ าหรื อผงอื่น ๆ ที่มากับน้ า
โลหะบางชนิ ดอาจจะทนกับสภาพน้ านิ่ งได้ดี เพราะมี oxide film เกิดขึ้น แต่เมื่ออยูใ่ นสภาพ
น้ าไหลแรงหรื อมีแรงกระแทกต่าง ๆ oxide film จะถูกทาลายไป โลหะก็จะผุกร่ อนโดยเร็ ว
วิธีป้องกันก็คือ ต้องเลือกโลหะโดยตรวจสอบความคงทนของมันในสภาพที่มีการ
เคลื่อนไหวจริ ง ๆ
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะ (Erosion Corrosion)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะ (Erosion Corrosion)
การป้ องกันการกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะมีหลายวิธีดงั นี้
 เลือกโลหะโดยตรวจสอบความคงทนของมันในสภาพที่มีการ
เคลื่อนไหวจริ ง ๆ
 ออกแบบระบบท่อเพื่อหลีกเลี่ยง turbulence, cavitations
 เคลือบท่อด้วยวัสดุที่ทนการกัดเซาะ
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การแตกร้าวจากการกัดกร่ อนและความเค้น (Stress Corrosion Cracking) เป็ นผล
ของ corrosion รวมกับ stress ในเนื้อโลหะ Stress มี 2 แบบ คือ Stress ภายนอกที่กระทากับ
โลหะเนื่องจากการใช้งาน และ Stress ภายในเนื้อโลหะเนื่องจากการขึ้นรู ปโลหะหรื อการ
เชื่อม Stress Corrosion มักเริ่ มจาก corrosion ที่จุดใดจุดหนึ่งบนผิวโลหะแบบ pitting ซึ่ งจะ
เป็ นจุดเริ่ มต้นของ Stress Corrosion ที่กน้ ของ pit จะมี stress เพิ่มขึ้นมาก จนทาให้โลหะ
แยกออกจากกันได้ โลหะก็จะขาดต่อไปอีกโดยเร็ ว

Tensile stress

EIC
Susceptible
Corrosive
material
environment
(Alloy)

Environmentally Induced Cracking


การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การแตกร้าวจากการกัดกร่ อนและความเค้น (Stress Corrosion Cracking)
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะ (Erosion Corrosion)
การป้ องกันการกัดกร่ อนร่ วมกับการกัดเซาะมีหลายวิธีดงั นี้
 การอบโลหะที่อุณหภูมิสูง เพื่อคลายความเครี ยด และลด stress ใน
เนื้อโลหะลง (Stress Relief)
 ลดความรุ นแรงของสิ่ งแวดล้อมโดยรอบโลหะนั้น เช่น ลดอุณหภูมิ
ลดความเข้มข้นของสาร และการใช้สารยับยั้ง
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนแบบเลือก (Selective leaching or Dealloying) จะเกิดกับโลหะผสมที่
ธาตุหนึ่ งเสถียรกว่าอีกธาตุหนึ่ งเมื่อสัมผัสกับบรรยากาศ เช่น
การผุกร่ อนแบบ Dezincification ของทองเหลือง (ทองแดงผสมสังกะสี ) ที่สังกะสี จะถูก
ละลายออกไป เหลือไว้เหลือแต่ทองแดงที่เป็ นรู พรุ น ซึ่ งแม้วา่ รู ปทรงจะเหมือนเดิม แต่ความ
แข็งแรงจะลดลง

Graphitization ของเหล็กหล่อเทา คือ การผุกร่ อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากเหล็ก (อาโนด) ผุ


กร่ อนไป เหลือตาข่ายกราไฟต์ลกั ษณะแผ่น (Graphite flake) ที่เป็ นคาโธดไว้ ทาให้
โครงสร้างเหล็กหล่อเทาสู ญเสี ยความแข็ง การแก้ปัญหาทาโดยการใช้เหล็กหล่อกราไฟต์
กลม หรื อเหล็กหล่ออบเหนียว (Malleable cast iron) แทน
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนแบบเลือก (Selective leaching or Dealloying)

Graphitic corrosion of a gray cast iron valve

Plug Dezincification of Plug Denickelification of 70- Micrographic appearance of a


Admiralty Brass 30 Cu-Ni dezincification of brass.
การป้ องกันการเกิดสนิม และการกัดกร่ อน
การผุกร่ อนแบบเลือก (Selective leaching or Dealloying)
การป้ องกันการผุกร่ อนแบบมีหลายวิธีดงั นี้
 สามารถลดลงปั ญหาการผุกร่ อนแบบ Dezincification เช่น ใน
ทองเหลืองโดยการเติมดีบุกประมาณ 1 % ลงไปเพื่อเพิ่มการต้าน
ทางการกัดกร่ อน เรี ยกวิธีการนี้วา่ การใช้สารยับยั้ง (inhibitiors)
 ลดความรุ นแรงของสิ่ งแวดล้อมโดยรอบโลหะนั้น เช่น ลดอุณหภูมิ
ลดความเข้มข้นของสาร
คณ
ุ สมบัติของวัสดุ
คุณสมบัตขิ องวัสดุ
เพื่อความง่ายต่อการศึกษาวัสดุทางวิศวกรรม จึงได้มีการแบ่งประเภท
ของวัสดุออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ ได้แก่

โลหะ (Metal)
เซรามิก (Ceramics)
พอลิเมอร์ (Polymer)
วัสดุผสม (Composites)
โลหะ (Metal)

เป็ นอนินทรี ยสารที่มีธาตุที่เป็ นโลหะประกอบอยูอ่ ย่างน้อย 1 ธาตุ


ตัวอย่างเช่น เหล็ก ทองแดง อลูมิเนียม นิเกิลและไทเทเนียม เป็ นต้น
บางครั้งอาจมีธาตุที่ไม่ใช่โลหะปะปนหรื อเจืออยู่ เช่น C,N2,O2
โครงสร้างของโลหะมีรูปผลึก เนื่องจากมีการจัดเรี ยงตัวของอะตอม
อย่างมีระเบียบ
เป็ นสื่ อนาความร้อนและไฟฟ้ าได้ดี
โลหะหลายชนิดที่แข็งแรงและอ่อนเหนียว (ductile) ที่อุณหภูมิหอ้ ง
และหลายชนิดที่คงความแข็งแรงได้ดีที่อุณหภูมิสูง
1. โลหะและโลหะผสม
มักแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ

1. โลหะที่มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบและโลหะผสม (โลหะในกลุ่มเหล็ก)


คือ โลหะที่มีเปอร์ เซ็นต์ องค์ประกอบทีเ่ ป็ นเหล็ก เช่ น เหล็กกล้าและ
เหล็กหล่อ
2. โลหะที่ไม่ มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบและโลหะผสม (โลหะนอกกลุ่ม
เหล็ก) คือ โลหะที่ไม่ มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบหรือมีเหล็กเพียง
เล็กน้ อย ตัวอย่ างเช่ น อลูมิเนียม ทองแดง สั งกะสี ไทเทเนียม และนิ
เกิล
ทาไมโลหะกล่ ุมเหล็ก
จึงเป็ นวัสดุทถี่ ูกนา
มาใช้ มากในระดับ
อุตสาหกรรม
สารประกอบทีม่ ีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบ มีอยู่เป็ นจานวน
มากบนเปลือกโลก
เหล็กและเหล็กกล้ าสามารถผลิตได้ ด้วยกรรมวิธีการถลุง
(exaction) การทาให้ บริสุทธิ์ (refining) การผสมธาตุอนื่
(alloying) การขึน้ รู ป (fabrication) ซึ่งราคาไม่ แพง
โลหะกลุ่มเหล็กสามารถนามาใช้ ประโยชน์ ได้ หลากหลาย
เนื่องจากสามารถดัดแปลงให้ มีสมบัตทิ างกลและสมบัติทาง
กายภาพได้ กว้ างขวาง
เหล็กกล้า

เหล็กกล้ า คือ โลหะผสมระหว่ างเหล็กกับคาร์ บอน (อาจมี


ธาตุอนื่ บ้ างเล็กน้ อย)
มีหลายชนิดด้ วยกัน โดยขึน้ กับส่ วนผสมทางเคมี และ
กรรมวิธีทางความร้ อน
สมบัตทิ างกลของเหล็กกล้ าจะขึน้ อยู่กบั ปริมาณคาร์ บอน
(ปกติ มีปริมาณ < 1.0% โดยนา้ หนัก)
การแบ่ งกลุ่มของเหล็ก
สามารถแบ่ งกลุ่มของเหล็กกล้าได้ ตามปริมาณคาร์ บอน ดังนี้
เหล็กกล้าคาร์ บอนต่า
เหล็กกล้าคาร์ บอนปานกลาง
เหล็กกล้าคาร์ บอนสู ง

แบ่ งเป็ นกลุ่มย่อยของเหล็กกล้าได้ ตามปริมาณของธาตุผสมอืน่ ดังนี้


เหล็กกล้าคาร์ บอนธรรมดา (plain carbon steel)
เหล็กกล้าผสม (alloy steel)
เหล็กกล้าคาร์ บอนตา่
เป็ นเหล็กกล้าที่มีการผลิตใช้ กนั มาก
มีปริมาณ C < 0.25% โดยนา้ หนัก
สามารถเพิม่ ความแข็งแรงด้ วยการรีดเย็น
โครงสร้ างจุลภาคประกอบด้ วย Ferrite และ Pearlite
อ่ อน ไม่ ค่อยแข็งแรง แต่ เหนียวและแกร่ งดีมาก
กลึงได้ ไสได้ เชื่อมได้
ผลิตได้ ในราคาค่ อนข้ างตา่ เมื่อเปรียบเทียบกับเหล็กกล้ าชนิด
อืน่ ๆ
ตัวถังรถยนต์ เหล็กโครงสร้ าง (รู ปตัวไอ เหล็กกลวง เหล็กฉาก
หรือเหล็กตัวแอล)
เหล็กแผ่ นบางใช้ ทาท่ อ ทาตัวตึก สะพาน และกระป๋ องบรรจุ
อาหาร
มีค่า Yield strength 275 MPa
Tensile strength 415-550 MPa
ความเหนียว 25% Elongation
เหล็กกล้าคาร์ บอนต่าอีกกลุ่มหนึ่ง คือ เหล็กกล้าผสม
ต่าความแข็งแรงสู ง (High – Strength Low Alloy : HSLA) ซึ่งเป็ นเหล็ก
ทีม่ ีธาตุอนื่ ผสมอยู่ เช่ น ทองแดง วาเนเดียม นิเกิล และโมลิบดีนัม ซึ่งมี
ความเข้ มข้ นรวมกันไม่ เกิน 10% โดยนา้ หนัก

เหล็กกล้ากลุ่มนีม้ ีความแข็งแรงสู งกว่ าเหล็กกล้าคาร์ บอนต่า


ธรรมดา และสามารถเพิม่ ความแข็งแรงได้ โดยใช้ กรรมวิธีทางความร้ อน

มีความแข็งแรง > 480 MPa มีความเหนียวสู ง (ขึน้ รูปและกลึง


ไสได้ ) ทนต่ อการกัดกร่ อนกว่ าเหล็กกล้าคาร์ บอนต่าธรรมดา
นามาใช้ ทาสะพาน หอสู ง เสาเสริมตึกสู ง ภาชนะความดัน
เหล็กกล้าคาร์ บอนปานกลาง

มี C ผสมอยู่ประมาณ 0.25% และ 0.60% โดยนา้ หนัก


เวลาผลิตต้ องผ่ านกระบวนการทางความร้ อน คือ ทาให้ เป็ น
ออสเตนไนต์ (austenitizing) การทาให้ เย็นตัวอย่ างรวดเร็ว
(quenching) การอบคืนตัว (tempering) เพือ่ ปรับปรุงสมบัติ
ทางกล
ต้ องอบคืนตัวก่ อนนามาใช้ งาน
มีความสามารถในการชุบแข็งตา่
ถ้ าผสม Cr Ni Mo จะช่ วยเพิม่ ความสามารถในการอบชุบ
ถ้ าผ่ านกรรมวิธีทางความร้ อนแล้ ว จะทาให้ มีความแข็งแรงสู ง
กว่ าเหล็กกล้าคาร์ บอนตา่ แต่ จะทาให้ มีความเหนียวและความ
แกร่ งลดลง
นามาใช้ ทาล้ อและรางรถไฟ เกียร์ เพลาส่ งกาลังเครื่องยนต์
และส่ วนอืน่ ของเครื่องจักรกล รวมถึงโครงสร้ างที่ต้องการ
ความแข็งแรงสู ง มีความแกร่ งและต้ านทานต่ อการกัดกร่ อนได้
ดี
The American Society for Testing and Materials (ASTM) และ The Society
of Automotive Engineers (SAE) ได้ กาหนดชนิดของเหล็กและโลหะชนิดอืน่ ๆ
ด้ วยเลข 4 หลัก โดยที่
สองหลักแรก : บอกส่ วนผสมโลหะ
สองหลักหลัง : บอกปริมาณคาร์ บอน
เลขหลักที่ 3,4 คือปริมาณในหน่ วย % (นา้ หนักร้ อย)

เหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา จะมีสองหลักแรก คือ 1 และ 0


เหล็กกล้ าผสม จะมีสองหลักแรก คือ 13, 41, 43

ตัวอย่ างเช่ น 1060 คือ เหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา มีปริมาณคาร์ บอน 0.60% โดย
น้าหนัก
เหล็กกล้าคาร์ บอนสู ง

มีคาร์ บอนประมาณ 0.60% และ 1.4% โดยนา้ หนัก


มีค่าความแข็งสู งสุ ด แข็งแรงสู งสุ ด แต่ มคี วามเหนียวต่าสุ ดในกลุ่ม
เหล็กกล้าคาร์ บอนด้ วยกัน
มักใช้ งานหลักจากทีผ่ ่ านการชุ บแข็งและการอบคืนตัว
ใช้ งานในสภาวะทีต่ ้ องการความต้ านทานการสึ กกร่ อนและต้ องการความ
คมเพือ่ ตัดเฉือน
ใช้ ทาเครื่องมือตัด (cutting tools) เช่ น มีด มีดโกน ใบเลือ่ ย แม่ พมิ พ์
(Die) สาหรับขึน้ รูปวัสดุ สปริง ลวดเหล็กความแข็งแรงสู ง เหล็กต๊ าบ
เกลียว
มีโครเมียม วาเนเดียม ทังสเตน และโมลิบดีนัม ผสมอยู่ ซึ่ง
เมื่อนามาผสมกับ Carbon จะกลายเป็ นสารประกอบคาร์ ไบด์
(Carbide) ซึ่งเป็ นวัสดุทมี่ ีความแข็งสู งมาก ทนต่ อการสึก
กร่ อนสู ง เช่ น โครเมียมคาร์ ไบด์ (Cr23C6) วาเนเดียมคาร์ ไบด์
(V4C3)
ทังสเตนคาร์ ไบด์ (WC)
เหล็กกล้าไร้ สนิม
ทนทานต่ อการกัดกร่ อนหรือเกิดสนิม ในสภาวะแวดล้อมต่ างๆ สู ง
โดยเฉพาะในสภาพบรรยากาศ
ธาตุผสมหลักคือ โครเมียม ซึ่งจะช่ วยให้ เหล็กทนต่ อการกัดกร่ อน โดยมี
Cr ผสมอยู่อย่างน้ อย 11% โดยนา้ หนัก
มีธาตุอนื่ ๆ ผสม เช่ น Ni, Mo ที่ช่วยให้ ทนต่ อการกัดกร่ อน
มีสมบัติทางกลหลากหลาย และทนการกัดกร่ อนดีเยี่ยม
ใช้ งานทีอ่ ุณหภูมิสูงได้ (Tmax ~ 1000 °C)
เครื่องก๊าซ turbine เครื่องต้ มไอนา้ อุณหภูมิสูง ตลับลูกปื น
เตาเผาอบชุ บ ยานบิน จรวด อุปกรณ์ ไฟฟ้านิวเคลียร์
เหล็กหล่อ
มี C ประกอบอยู่ > 2.14% โดยนา้ หนัก
ทางปฏิบัติมักจะมี C อยู่ประมาณ 3.0-4.5 % โดยนา้ หนัก
ส่ วนผสมช่ วงนี้ เหล็กหล่อจะอยู่ในสภาพของเหลวทีอ่ ุณหภูมิ
ประมาณ 1150 และ 1300 °C ซึ่งมีอุณหภูมิหลอมเหลวต่า
กว่ าเหล็กกล้า ดังนั้นเหล็กหล่อจึงหลอมเหลวได้ ง่าย
หล่อเป็ นรูปร่ างชิ้นงานได้ แต่ บางชนิดจะค่ อนข้ างเปราะ
มี C ผสมอยู่ในรูปของกราไฟต์ (graphite)
สามารถแบ่ งได้ เป็ น เหล็กหล่อเทา เหล็กหล่อกราไฟต์ กลม เหล็กหล่อ
ขาว เหล็กหล่ออบเหนียว
เหล็กหล่อเทา
มี C ประกอบอยู่ประมาณ 2.5-4.0% โดยนา้ หนัก
มี Si อยู่ประมาณ 1.0-3.0% โดยนา้ หนัก
มีกราไฟต์ ผสมอยู่ทาให้ ผวิ ทีแ่ ตกหักมีสีเทา จึงเรียกว่ าเหล็กหล่อเทา
ไม่ แข็งแรง เปราะเมื่อรับแรงดึง แต่ รับพลังงานการสั่ นสะเทือนได้ ดี ทน
ต่ อการสึ กกร่ อนและเสี ยดสี ได้ มาก ไหลได้ ดี ง่ ายต่ อการหล่อเป็ นชิ้นส่ วนที่
มีรูปร่ างซับซ้ อน
หดตัวจากการหล่อน้ อย ราคาถูก (ทีส่ ุ ด)
ใช้ ทาโครงสร้ างพืน้ รองรับเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ หนักทีต่ ้ องการรับการ
สั่ นสะเทือน
เหล็กหล่อเหนียวหรือกราไฟต์ กลม
ผสม Mg หรือ Ce
สมบัติทางกลใกล้ เคียงกับเหล็กกล้ า
ใช้ ทาวาล์ ว เสื้อปั๊ม เพลาส่ งกาลัง เกียร์ ชิ้นส่ วนรถยนต์
เครื่องจักร
เหล็กหล่อขาวและเหล็กอบเหนียว

พบในเหล็กทีม่ ีปริมาณ Si ต่า (< 1.0% โดยนา้ หนัก) และผ่ าน


กรรมวิธีการผลิตที่ให้ อตั ราการเย็นตัวตา่
รอยแตกมีสีขาว จึงเรียกว่ า เหล็กหล่อขาว
แข็งมาก เปราะ ไม่ สามารถกลึงไสได้
ใช้ เป็ นลูกรีดในกระบวนการรีดเหล็ก
ใช้ เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตเหล็กอบเหนียว
โลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก

เหล็กกล้ าและโลหะผสมของเหล็ก ถูกนามาใช้ ในปริมาณมาก


เพราะสมบัตทิ างกลที่หลากหลาย ขึน้ รู ปง่ าย และผลิตได้ ในราคา
ถูก แต่ กย็ งั ข้ อจากัด คือ :

ความหนาแน่ นค่อนข้ างสูง


ค่ าความนาไฟฟ้ าค่ อนข้ างต่า
ถูกกัดกร่ อนได้ ง่าย ในสภาวะแวดล้ อมบางสภาวะ
ทองแดงและโลหะผสมของทองแดง
ทองแดงทีไ่ ม่ มีธาตุอนื่ ผสม จะอ่อน เหนียว ทาให้ กลึงไสยาก
แต่ ขนึ้ รู ปแบบเย็นได้ ทนทานต่ อการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้ อม
ต่ างๆ
เมื่อผสมสังกะสีลงไปจะร้ ูจกั ในนามของ “ทองเหลือง”
โลหะเครื่องประดับ ปลอกกระสุ น แผงระบายความร้ อนใน
รถยนต์ เครื่องดนตรี วัสดุหีบห่ อ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ เหรียญ
ตรา
บรอนซ์ = โลหะผสมของทองแดงกับธาตุอนื่ เช่ น ดีบุก
อลูมิเนียม ซิลกิ อน นิกเกิล
บรอนซ์ จะแข็งแรงกว่ าทองเหลือง ทนทานการกัดกร่ อนได้ ดี
แข็งแรงสู ง
โลหะผสมทองแดง ทีน่ ามาอบชุบแล้ วจะมีราคาแพง ใช้ ทา
ลูกปื น ตัวรองรับเกียร์ ของเครื่องบินเล็ก สปริง เครื่องมือผ่ าตัด
เครื่องมือทันตแพทย์
โลหะผสมทองแดง-เบริลเลียม (1.0-2.5% โดยนา้ หนัก) เป็ น
วัสดุทแี่ ข็งแรงสู ง (1400 MPa) ทนทานต่ อการกัดกร่ อน นาไฟฟ้า
ได้ สูงมาก
อะลูมเิ นียมและโลหะผสมของอะลูมเิ นียม
มีความหนาแน่ นต่า (2.7 g/cm3)
นาไฟฟ้าและความร้ อนได้ดี
ทนการกัดกร่ อนได้ ดี ในสภาวะแวดล้ อมบางสภาวะ
ขึน้ รู ปง่ าย มีความเหนียวสู ง
ตย.เช่ น อะลูมิเนียมฟอยล์ : ได้ จากการรีด Al บริสุทธิ์
ธาตุทใี่ ช้ ผสมหลัก : Cu Mg Si Mn Zn
ถูกนามาใช้ กบั การขนส่ งเพือ่ ลดการใช้ เชื้อเพลิง
Al-Li ใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่องบิน ยานอวกาศ เนื่องจากมีคาม
หนาแน่ นต่า (2.5-2.6 g/cm3) ทนต่ อความล้ าดีมาก ความแกร่ งสู ง
แมกนีเซียมและโลหะผสมของแมกนีเซียม

มีความหนาแน่ นต่า (1.7 g/cm3)


ขึน้ รู ปทีอ่ ุณหภูมิห้องยาก โดยมากขึน้ รู ปร้ อนที่อุณหภูมปิ ระมาณ 200-350 °C

และอ ณุ ห ภ ูม หิ ล อ ม เห ล ว ต า่ (650 °C)


ไม่ เสถียร ไม่ ทนต่ อการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็ นนา้ ทะเล แต่ ทนการ
ออกซิเดชันในบรรยากาศได้ ดี
ธาตุผสม : Al Zn Mn
ผงโลหะละเอียดจะติดไฟได้ ง่าย
ใช้ ทาเครื่องบิน จรวด และกระเป๋ า
ใช้ แทนพลาสติก เนื่องจากความหนาแน่ นใกล้เคียงกัน แต่ Mg แข็งแรงกว่ า
recycle ได้ มากกว่ า ราคาไม่ แพง
เลือ่ ยโซ่ ตัวหนีบ พวงมาลัย เสาพวงมาลัย โครงที่นั่ง คอมพิวเตอร์ มือถือ
ไทเทเนียมและโลหะผสมของไทเทเนียม

Ti บริสุทธิ์ มีความหนาแน่ นต่า (4.5 g/cm3)


อุณหภูมิหลอมเหลวสู ง (1668 °C)
แข็งแรง เหนียว ง่ ายต่ อการทุบขึน้ รูป กลึงไสได้
ขีดจากัด:อาจเกิดปฏิกริ ิยาเคมีกบั วัสดุอนื่ ได้ ง่ายทีอ่ ณ
ุ หภูมิสูงและมีราคา
แพง
ไม่ เกิดปฏิกริ ิยากับอากาศ นา้ ทะเล บรรยากาศอุตสาหกรรม ต้ านทานต่ อ
การกัดกร่ อนทีอ่ ุณหภูมิสูงมาก
ใช้ ในโครงสร้ างเครื่องบิน ยานอวกาศ เครื่องมือผ่ าตัด อุตสาหกรรม
ปิ โตรเลียมและเคมี
โลหะทนอุณหภูมิสูง (Refractory)

อุณหภูมิหลอมเหลวสู งมาก (2468 °C/Nb – 3410°C/W )


ตัวอย่ างเช่ น Nb Mo W Ta
โลหะผสม Mo : แม่ พมิ พ์แบบกดอัด โครงสร้ างยานอวกาศ
โลหะผสม W : ไส้ หลอดไฟฟ้า หลอด X-ray ขั้วเชื่อม
โลหะผสม Ta : เฉื่อยต่ อการเกิดปฏิกริ ิยากับสิ่ งแวดล้ อมที่
อุณหภูมิตา่ กว่ า 150 °C มักใช้ ในงานทีต่ ้ องการวัสดุทนทานการกัด
กร่ อน
โลหะผสมพิเศษ (Superalloys)

ใช้ ทาใบพัดเครื่องบิน ซึ่งทนต่ อการกัดกร่ อนทีอ่ ณ


ุ หภูมิสูง
เป็ นเวลานานๆ ใช้ ทาเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ และใน
อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
ธาตุหลัก : Co Ni Fe
ธาตุผสม : Nb Mo W Ta
โลหะเสถียร (Noble Metals)

กลุ่มธาตุโลหะ 8 ชนิดที่มีสมบัติกายภาพคล้ ายกัน มีราคา


แพง อ่ อน เหนียว ทนการเกิดออกซิเดชัน
เงิน ทอง แพลตตินัม แพลเลเดียม โรเดียม รู ทเี นียม อิริเดียม
ออสเมียม
เงินและทอง สามารถทาให้ แข็งแรงขึน้ ได้ ถ้าผสมทองแดงลง
ไป เช่ น เงินสเตอร์ ลงิ (เงิน+ทองแดง : 92.5,7.5% โดย
นา้ หนัก) , ทาขั้วไฟฟ้า ,วัสดุอุดฟัน
โลหะนอกกลุ่มเหล็กอืน่ ๆ
1. นิกเกิลและโลหะผสมนิกเกิล

มีความต้ านทานการกัดกร่ อนสู ง โดยเฉพาะในสภาพด่ าง


(alkaline) จึงใช้ เคลือบผิวโลหะทีถ่ ูกกัดกร่ อนได้ ง่าย
“โมเนล” คือ โลหะผสมระหว่ าง Ni (65 wt%) Cu (28
wt%) ที่เหลือ คือ Fe : มีความแข็งแรงสู งมาก ใช้ ทาปั๊ม
วาล์ ว
2. ตะกัว่ ดีบุก โลหะผสมตะกัว่ -ดีบุก
ไม่ แข็งแรง นิ่ม และมี Tm ต่า
Ex ลวดบัดกรี : โลหะผสมตะกัว่ -ดีบุก
ตะกัว่ : เป็ นตัวกั้น X-ray เสื้อแบตเตอรี
ดีบุก : ใช้ เคลือบเหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดานามาใช้ ทา
กระป๋ องบรรจุอาหาร เพือ่ ป้องกัน ???
3. สังกะสี

เป็ นโลหะค่ อนข้ างอ่ อน มี Tm ต่า และทาปฏิกริ ิยาเคมีกบั


สิ่ งแวดล้ อมต่ างๆ ง่ าย ถูกกัดก่ อนง่ าย เมื่อเคลือบสั งกะสีบน
เหล็ก สั งกะสี จะถูกกัดกร่ อนแทนเหล็ก เรียกว่า “เหล็กกัลวา
ไนซ์ ”
ใช้ ทาเหล็กแผ่ นสั งกะสี รั้ว หลังคา ผนัง สกรู ทีจ่ บั ประตู
รถยนต์ อุปกรณ์ สานักงาน
4. เซอร์ โคเนียม

เหนียว ทนทานต่ อการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้ อมถูกกัด


กร่ อนรุนแรง
Zr ยอมให้ อนุภาคนิวตรอนทะลุผ่านได้ จึงใช้ เคลือบผิว
เชื้อเพลิงยูเรเนียมในเครื่องปฏิกรณ์ ปรมาณู แล้วหล่ อเย็น
ด้ วยนา้ นอกจากนีย้ งั ใช้ ทาตัวซีลสาหรับท่ อสุ ญญากาศ

You might also like