You are on page 1of 14

ความปลอดภัยจากอัคคีภัย

หลักการปองกันและระงับอัคคีภัย
1. การจัดระเบียบเรียบรอย ดี
2. การดูแลและซอมบํารุง ดี
3. ความมีระเบียบวินยั ดี
4. ความรวมมือปองกันอัคคีภัย ดี
องคประกอบของไฟ ซึ่งประกอบดวย 3 อยางคือ
ไฟเกิดจากการรวมตัว 3 องคประกอบ ไดแก เชื้อเพลิง ความรอน และออกซิเจน ในสภาวะที่ เหมาะสม ถาขาด
องคประกอบใดองคประกอบหนึ่ง ไฟก็ไมสามารถจะเกิดขึ้นได
1. เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง สวนที่เปนไอ ที่ทําใหเกิดการลุกไหมมี 3 สถานะไดแก
- ของแข็ง เชน ถานไม ถานหิน ไม กระดาษ ผา หญาฟาง ยางรถยนต ฯล
- ของเหลว เชน น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันปรุงอาหาร แอลกอฮอล ฯลฯ
- กาซ เชน กาซหุงตม กาซตามธรรมชาติ ฯลฯ
2. ความรอน ความรอนเพียงพอที่จะทําใหเกิดการลุกไหม เปนสิ่งที่ทําใหอุณหภูมิของเชื้อเพลิงสูงขึ้นทําใหเกิดปฏิกิริยา
สันดาป เกิดขึ้นอยางเหมาะสม ซึ่งเชื้อเพลิงแตละชนิดมีจุดติดไฟไมเทากัน
3. ออกซิเจน อากาศที่มี ออกซิเจนไมต่ํากวา 16% ออกซิเจนจะเปนตัวทําใหเกิดการเผาไหม ยิ่งมีออกซิเจนมากเชื้อเพลิงก็ยิ่งติด
ไฟไดมากขึ้น และ เชื้อเพลิงบางชนิดมีเชื้อเพลิงในตัวเองอยางเพียงพอที่จะทําใหตัวเองเกิดการลุกไหมไดโดยไม
ตองอาศัยออกซิเจนที่อยูโดย
ประเภทของไฟ มี 4 ประเภท
ประเภท ลักษณะไฟ วิธีการดับ สารดับเพลิง
ประเภท A เชื้อเพลิงธรรมดาที่เกิดจากวัสดุตดิ ไฟ ใชหลักความเย็นและความเปยกชื้น น้ํา
ทั่วไป เชน ไม กระดาษ เสื้อผา หญา คลุมทับหรือการลดความรอน ผงเคมีแหง
ฟาง ยางรถยนต ฯลฯ (Cooling) โดยใชน้ํา FireAde2000
ประเภท B เพลิงที่เกิดจากของเหลวหรือแกส เชน ใชหลักการกําจัดออกซิเจนหรือตัด ผงเคมีแหง
น้ํามัน แกสติดไฟ ฯลฯ เปลวไฟจะทําใหอับอากาศ โดยใชผง คารบอนไดออกไซด
เคมีแหงหรือใชฟอง โฟมคลุม FireAde2000
ประเภท C เพลิงที่เกิดจากอุปกรณที่มี ใชหลักการตัดกระแสไฟฟาแลวใช ผงเคมีแหง
กระแสไฟฟา เชน อุปกรณระบบ กาซคารบอนไดออกไซด คารบอนไดออกไซด
ไฟฟา เครื่องไฟฟา ฯลฯ FireAde2000
ประเภท D เพลิงที่เกิดจากโลหะและสารเคมีติด หามใชน้ําเปนอันขาด แตใหใช FireAde2000
ไฟ เชน วัตถุระเบิด ปุยยูเรีย ผง หลักการทําใหอับอากาศ
แมกนีเซียม
เครื่องดับเพลิงมือถือทีม่ ใี ชในโรงพยาบาลศิริราช

1.ชนิดผงเคมีแหง (Dry chemical)

เครือ่ งดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง
ใชดับไฟประเภท A และ B
เหมาะสําหรับใชภายนอกอาคารหรือในที่โลงแจง

คุณสมบัติ สามารถดับไฟทีเ่ กิดจากไม,กระดาษผาพลาสติก,น้ํามัน,แกส,ไฟฟาซอต


ผลดี ดับไฟประเภท A ชนิดไมกองสุม B และ C
ผลเสีย - ผงเคมีที่ออกมาจะฟุงกระจาย ทําใหเกิดความสกปรก เกิดความเสียหายตอวัสดุและอุปกรณ ทําใหไม
สามารถใชงานไดตอไป
- ดับไฟประเภท D ไมได
ฉีดไดไกล 6-8 เมตร
ฉีดไดนาน 10-15 วินาที (10 ปอนด )
สถานที่ตั้ง ในที่โลง,อาคาร สตอกของ,ลานจอดรถ
ขอควรระวัง อยาฉีดกอนเมื่อยังไมเห็นตนเพลิง หรือมีเพียงกลุมควันเทานั้น เพราะผงเคมีจะฟุงกระจาย ทําใหแสบตา
มองไมเห็นตนเพลิงและทางออก จะทําใหเกิดการแตกตื่นและตกใจ
การตรวจสอบ - ควรตรวจสอบทุก 6 เดือน
- ควรทําความสะอาดตัวถังทุกสัปดาห
ตรวจสอบสภาพภายนอก ดวยการสังเกต
- ตัวถังไมมีความเสียหาย ไมยุบ ไมบวม ไมมีรอยราว
- กานและสลักพรอมสายฉีดตองอยูใน สภาพสมบูรณ
- ดูจากมาตรวัดแรงดัน ซึ่งจะมีระดับคาความดันของสารวายังอยูในระดับพรอมใชหรือไม
"เข็มตั้งยังใชได เข็มเอียงซายไมไดการ" หากแรงดันไมมีเข็มจะ เอียงมาทางซาย ตองรีบนําไปเติม
ตรวจสอบสภาพภายใน
- จับถังคว่ําหัวกลับทิศลงและฟงเสียงการไหลของสารภายในตัวถังถาไดยินเสียงคลายทรายหลน
แสดงวายังใชได
ชนิด CO2 (Carbondioxide fire extinguisher)

เครือ่ งดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด CO2


ใชดับไฟประเภท B และ C
เหมาะสําหรับใชกับ เครือ่ งใชไฟฟา

คุณสมบัติ สามารถดับไฟทีเ่ กิดจากน้าํ มัน แกส และไฟฟาซอต


กาซ ที่ฉีดพุงออกมาสามารถทนความรอนและการแผรังสีไดถึง3200-3600 องศาฟาเรนไฮต
ผลดี ดับไฟประเภท B,C ไดดี
ปองกันความรอนในการพาและแผรังสี ของไฟประเภท ก
ผลเสีย - มีเสียงดัง
- กาซคารบอนไดออกไซดจะทําใหเกิดความรอนมากขึ้น
- ถามีกา ซในอากาศปริมาณ 10%
จะทําใหขาดออกซิเจน และเปนพิษตอการหายใจ
- กอใหเกิดความหนาวเย็นตอรางกาย
ฉีดไดไกล 3 เมตร
ฉีดไดนาน 10 วินาที ( 10 ปอนด )
สถานที่ตั้ง บริเวณพื้นที่หนาราน หองครัว สํานักงาน หองคอมพิวเตอร หองไฟฟา
ขอควรระวัง - ตองฉีดระยะใกล 1-2 เมตร
- ไฟที่เกิดจากไม กระดาษ ผา พลาสติก ไมคอยไดผล เพราะไฟจะลุกติดขึ้นมาไดอีก ตองรีบตัดไฟ
การตรวจสอบ - ควรตรวจสอบทุก 6 เดือน
- ควรทําความสะอาดตัวถังทุกสัปดาห

ตรวจสอบ • ใชวิธีชั่งน้ําหนัก โดยตรวจสอบจากน้ําหนักเดิมในใบกํากับที่เครื่องดับเพลิง หากน้ําหนัก


ลดลง2-3 กิโลกรัม หากลดลงต่ํากวา 70% ควรนําไปอัดเพิ่ม

ใหนําไปบรรจุหรืออัดใหม

x
ชนิด FireAde2000
เครือ่ งดับเพลิงชนิด FireAde2000
ใชดับไฟประเภท A,B,C,D
เหมาะสําหรับใชกับไฟทุกประเภท

คุณสมบัติ เปนเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดในวงการดับเพลิง สารที่ฉีดออกมาเปน ฟองโฟมสีขาวไมทําใหเกิดความ


สกปรกเสียหายตอทรัพยสิน และอุปกรณไฟฟาทุกชนิดเปนน้ํายาที่ไมมีพิษและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
เก็บไวไดนานโดยไมจํากันระยะเวลา

ผลดี ดับไฟประเภท A,B,C,D


- ไมเพียงแตดับไฟที่เกิดขึ้นเทานัน้ ยังสามารถหยุดการเกิดเพลิงปะทุซ้ําไดอีกดวย ทําใหวัสดุที่
ถูกเผาไหมเย็นลงอยางรวดเร็ว มีประสิทธิ์ภาพลดอุณหภูมิมากกวาน้ําธรรมดาถึง 20 เทา
-
ผลเสีย -ยังไมพบ
ฉีดไดไกล 6-8 เมตร
ฉีดไดนาน 13 วินาที ( 10 ปอนด )
สถานที่ตั้ง บริเวณพื้นที่หนาราน หองครัว สํานักงาน หองคอมพิวเตอร หองไฟฟา
ขอควรระวัง - ขณะเกิดเพลิงหามฉีดที่เปลวไฟ เพราะจะไมไดผล
- ถามีความจําเปน ตองใชดับไฟที่ลุกไหมน้ํามันพืชในกระทะ อยา ฉีดน้ํายาลงในน้ํามันที่กําลังลุกไหม.
ในระยะใกลเกินไปเพราะความแรงของน้ํายาจะทําใหน้ํามันพืชกระเด็นออกจากกระทะและไฟอาจลุกลาม
จนไมสามารถควบคุมได

การตรวจสอบ - ควรตรวจสอบทุก 6 เดือน


- ควรทําความสะอาดตัวถังทุกสัปดาห
- ดูจากมาตรวัดแรงดัน
วิธีการใชถังดับเพลิง
1. ดึง สายฉีด

ดึงสายฉีดออกจากที่เก็บ

2. ปลด สลัก
มือหนึ่งจับถัง อีกมือปลดสลัก เพื่อ
ปลดล็อควาลวที่หัวถังออก

3. กด คันบีบ

ทําการกดคันฉีดชิ้นบนหรือบีบคันบีบ
ทั้งสองเขาหากันเพื่อทําการฉีด
สารออกมา

4. สาย สายฉีด

ทําการฉีดโดยสายสายฉีดไปมาทั้ง
ซายและ ขวาไปที่ฐานของไฟ
เพื่อกวาดตอนและดักทิศทางการหนี
ของไฟจน เปลวไฟดับสนิท
การติดตั้งเครื่องดับเพลิง

1. ติดตั้งมองเห็นเดนชัด

2. ถนัดตอการหยิบใช

3. ไมมีสิ่งขีดขวาง
มาตรฐานการติดตั้งของโรงพยาบาลศิรริ าช สูงจากพืน้ 80 เซนติเมตร
ควรติดตั้งเครือ่ งดับเพลิงมือถือ โดยใหสวนสูงสุดของเครื่องสูงจากพืน้ ดิน มาตรฐานโรงพยาบาลศิริราชอยูท ี่ 80 ซม
(ตามกฎหมายสากลไมเกิน 150 ซม.) เพื่อใหทุกคนสามารถหยิบใชไดสะดวก และควรมีปา ย ชี้ตําแหนงที่ตั้งเครื่อง
ดับเพลิงไวเหนือเครื่องดับเพลิงเพื่อใหมองเห็นชัดเจน เครื่องดับเพลิงทุกเครื่องที่ตดิ ตั้งในประเทศไทยตองมีรายละเอียด
เปนภาษาไทย

การปฏิบัติเมือ่ เกิดเหตุ
☺ อยาตื่นตกใจ
☺ เตรียมการสูพรอมดูการหนี
☺ อยาใชลิฟต
☺ ใชทางหนีไฟ
หนีลงพื้นดินใหเร็วที่สุด
ใชวิธีเดินอยางเร็ว หามวิ่ง "เดินชิดขวา" เปนหลักสากลในเรื่องทิศทางการเดินอยางปลอดภัย
กรณีฉุกเฉินที่มีฝูงชนจํานวนมาก การหนีภัยจะไดรับความปลอดภัยมากขึ้น ไมเกิดการชน หรือ กีดขวางทางกัน ยาม
วิกฤติ จําเปนตองเคลื่อนยายผูคนจํานวนมากในสถานที่คับแคบ ใหใชคําบอกกลาววา “เดินชิดขวา – แถวเรียงเดี่ยว –
หามดึง – หามดัน – หามผลัก – หามแซง - กมหัวต่ํา"(ในกรณีมีควัน)
หมายเหตุ : ใหเคลื่อนยายในแนวราบกอน ถาไมสามารถไปได ใหลงพื้นดินโดยเร็ว หามใชลิฟท เพราะจะติดอยูในลิฟท
ถามีการดับไฟฟา

อัคคีภัยที่อาจเกิดขึ้นในสํานักงาน
1. อุบัติเหตุจากการใชไฟฟา
2. การสูบบุหรี่ การเผาสุม เชนการจุดยากันยุง การจุดธูป-เทียน
3. การใชไฟและความรอน การหุงตมอาหารและการประกอบกิจการตางๆ
4. การระเบิดของวัตถุระเบิด ไอน้ํา กาซ ดอกไมไฟและดินปน
5. การใชเชื้อเพลิงตางๆทั้งในดานเปนวัสดุการผลิตและการประกอบกิจการตางๆ
สาเหตุของไฟไหม
1. ใชเครื่องไฟฟาแลวไมปด หรือปลดปลั๊กใหเรียบรอย
2. ไฟฟาลัดวงจร หรือวางเครื่องใชไฟฟาติดผนังเกินไป เชนตูเย็น โทรทัศน ความรอนระบายออกไมได
จนเครื่องรอนจัดไหมตวั เอง
3. อุปกรณไฟฟาไมไดมาตรฐานหรือเกาเกินไปหมดอายุการใชงาน เชนสายไฟฟาเกา ชํารุด
4. เกิดฟาผาเมือ่ มีพายุฝน ถาไมมีสายลอฟาที่ถูกตองก็จะเกิดไฟไหมได
5. สถานที่บางแหงมีการเก็บสารเคมี ที่อาจกอใหเกิดไฟไหมไดงาย เชนสีน้ํามันและน้ํามันลินซีด
(น้ํามันสน)เมื่อคลุกเคลากับเศษผาวางทิง้ ไวอาจคุไหมขึ้นเอง
6. สาเหตุมาจากกาซและอุปกรณที่ใชกาซ เชนกาซรัว่ , เตาหุงตม เมื่อใชงานเสร็จแลวไมปดใหเรียบรอย
ตลอดจนเครื่องทําความรอนในหองน้ํา ฯลฯ
7. การฝาฝนกฎขอบังคับตางๆ เชนสูบบุหรีใ่ นที่ที่หามสูบ
8. การเผาสิ่งทีไ่ มใช เศษขยะ เศษกระดาษ ไมมีผดู ูแล ไฟยังไมดับ ไฟคุขึ้นหรือมีลูกไฟกระเด็นไปตก
ที่ขางเคียง ทําใหเกิดไฟลุกไหมขึ้น
9. ความประมาทในเรื่องอื่นๆไดแก จุดธูป เทียนทิ้งไว หรือไมดูแลเด็กปลอยใหเลนไมขีดไฟหรือเปด
เตากาซเลน
10. การเผาทุงในฤดูแลงโดยไมดูแลใหไฟดับใหเรียบรอยเสียกอน เมือ่ มีลมพัดไฟอาจลุกลามไปได

สาเหตุจากไฟฟา
1. อุปกรณไฟฟาที่ไมปลอดภัย หรือชํารุด
2. การใชไฟฟาเกินกําลัง
3. การเกิดไฟฟาชอตและการลัดวงจร
4. ลืม- ปดสวิตชหรือลืมถอดปลัก๊ ไฟ
หมายเหตุ เตาไฟฟาแบบโบราณ(ชนิดขดลวด)ปจจุบันหามใช
ขอแนะนําเกี่ยวกับการใชไฟฟา
1. อยาใชสวิทช ปด-เปดบนเตียงนอน เพราะอาจนอนทับหรือพลิกทําใหแตก จะถูกไฟดูด
2. อยาแขวนหลอดไฟฟาไวติดกับมุงหรือมาน หรือใชผาคลุมหลอดไฟฟาไวเพราะความรอนที่
หลอดไฟจะทําใหเกิดไฟไหมได
3. อยาเปดวิทยุหรือเครื่องใชไฟฟาในหองน้ําหรือในทีช่ ื้นแฉะ ขณะตัวเปยก
4. อยาใชน้ํามันไวไฟลางเครื่องใชไฟฟาตางๆ ที่ยังเสียบปลั๊กอยู
5. อยาใชขั้วตอแยกเสียบปลั๊กหลายทางจะเปนการใชไฟเกินกําลัง
6. อยาปลอยใหสายเครื่องใชไฟฟา เชน พัดลม ลอดใตเสื่อหรือพรม หรืออยาปลอยใหของหนักผานทับ
สายเปลือกหุมจะแตก อาจเกิดไฟซอต
7. อยาเดินสายไฟใชเปนการชั่วคราวอยางลวกๆ
8. อยาเสียบปลั๊กเครื่องใชไฟฟาที่มีขนาดเกินกวา 2000 วัตตกับเตาเสียบธรรมดาในบาน จะทําใหสาย
ของเตาเสียบรอนจัดจนเกิดไฟไหมได
9. อยาแกไขไฟฟาเองโดยไมมีความรูเ รื่องไฟฟา
10.อยาใชลวดทําราวตากผาและขึงไวกับรั้วใกลสายไฟ อาจเกิดไฟฟารั่วได
11. อยาใชอปุ กรณไฟฟาชนิดไมกนั น้ําติดตั้งนอกชายคา จะทําใหอปุ กรณนนั้ ชํารุดเร็ว
12. อยาเดินสายไฟติดรัว้ สังกะสีหรือโครงเหล็ก โดยไมใชวิธรี อยสายในทอ
13. อยาปลอยใหเครื่องใชไฟฟาเปยกน้ํา
14. อยาใชไฟฟาจับปลา
15. ควรติดตั้งเสาอากาศทีวี ตองหางจากเสาไฟไมนอยกวา 8 ฟุต
16. ควรถอดปลั๊กออก ถารูส ึกวามีไฟฟารัว่ จาก เครื่องใชไฟฟาสําหรับสํานักงาน เชน เครื่องคิดเลข
พิมพดีด
17.ควรรีบซอมแซมฉนวนครอบสวิทชหรืออุปกรณไฟฟาอื่นๆที่ แตกชํารุด
อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหม ( Fire Alarm System)
1. อุปกรณแจงเหตุดวยมือ (Manual Station)
เปนอุปกรณการสงสัญญาณแจงเตือนเหตุเพลิงไหม โดยการกระตุนดวยการดึง (Pull Manual Station) หรือการ
ทุบกระจก (Break Glass) และกดปุมสัญญาณดวยคน

2. อุปกรณแจงเหตุดวยเสียง (Signaling Device)


อุปกรณแบบสัญญาณเสียง (Audible) ประกอบดวย กระดิ่งไฟฟา (Alarm Bell) แตร (Horn) ลําโพง
(Loudspeaker) และออด (Buzzer)

ลําโพง (Loudspeaker) กระดิ่งไฟฟา (Alarm Bell)

3. อุปกรณแจงเหตุแบบอัตโนมัติ (Automatic Type)


x อุปกรณตรวจจับควัน ( Smoke Detector )
สวนประกอบของระบบแจงเหตุ

ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ ( Automatic Sprinkler System)


สปริงเกอร (Sprinkler)
หัวฉีดน้ําดับเพลิงอัตโนมัตสิ ามารถฉีดน้ําไดโดยอาศัยหลักการ เมื่อ อุณหภูมิความรอนในบริเวณที่เกิดเหตุสูง
x สีสม จะติดในหองที่มีความเย็นจะทํางาน เมื่อมี ความรอน 57๐C
x สีแดง จะติดในทีโ่ ลงจะทํางานเมื่อมี ความรอน 68๐C
ระบบไฟฟาสองสวางฉุกเฉิน
ไฟสองสวางฉุกเฉิน ( Emergency Light )

TEST BUTTON

การบํารุงรักษาไฟฉุกเฉิน
x ทําความสะอาดดวงโคม ทุก 2 สัปดาห
x ทดสอบการทํางานของเครือ่ ง โดยกดปุม Test เครื่อง เปนเวลา 10 วินาที ทุก ๆ 1 สัปดาห
x คายประจุแบตเตอรี่เพื่อปองกันการบวมโดยการถอดปลั๊ก ทุก 1 เดือน รอจนกระทัง่ ไฟดับซึ่งจะใชเวลา
ประมาณ 2 ชัว่ โมง เปนการทดสอบวาแบตตอรียังสามารถใชงานได
แผนระงับอัคคีภัย
ร.พ.ศิรราช
ิ ราช

ดับได ดับไมได

แจงภายในหนวยงาน แจงเหตุฉุกเฉิน/ดึงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
โทร.7272 ,7333หรือ Help Phone
( ศูนยสัญญาณขาว)
ประเมินสถานการณ
พรอมดับไฟทันที

รายงานตาม แจงหนวยงาน ผอ.หรือผูแทน / แจงหนวยงาน


ขั้นตอน ภายใน ผูบริหาร ภายนอกที่เกี่ยวของ

ทีม หนวย Ward /


หนวยชาง หนวย รปภ.
ผจญเพลิง รักษาพยาบาล หนวยงาน
1. เขาไปจุดเกิด 1. ประจําจุด 1. กํากับการจราจร 1. พรอมรับเหตุ 1. ปฏิบัติตาม
ตัดไฟที่เกิด 2.อํานวยความ ฉุกเฉิน แผนของ
เหตุพรอม
สะดวกหนวยงาน
อุปกรณเพื่อ เหตุ 2. จัดเวชภัณฑและ หนวยงาน
ดับเพลิงภายนอก /
ดับเพลิง / ชวย 2. ประจํา Fire หนวยงานตางๆ
อุปกรณ 2. ประสานงาน
ผูติดอยูภายใน ปม อาคาร 3. กั้นบริเวณให รักษาพยาบาล กับทีม
2. แจงสภาพ เกิดเหตุ เปนเขตหามเขากัน 3. ประสานงานการ รักษาพยาบาล
อัคคีภัย กลับยัง 3. ดูแล 4. ปองกันเหตุราย เคลื่อนยายผูปวย /
ศูนยสัญญาณ ประตูน้ํา และ ลักทรัพย ผูบาดเจ็บ
ขาว แหลงน้ํา 5. ประสานงาน ทุก
หนวยงาน

คูมือการปองกันและระงับอัคคีภัย โรงพยาบาลศิริราช 5
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบปองกันและระงับอัคคีภัย “ในบานที่พักอาศัย”
1. ควรมีถังดับเพลิงมือถือขนาดที่สามารถใชงานไดสะดวกอยางนอย 1 ถัง
2. ถาหนาตางมีเหล็กดัดปดอยู ตองมีชองที่เปดไดอยางนอย 1 บาน
3. หมั่นตรวจสอบสภาพพื้นที่ ที่มีความเสี่ยง ไดแก หองครัว หองบูชาพระ หองเก็บของ ฯลฯ
4. อยาเก็บวัสดุไวไฟ น้ํามันกาด ทินเนอร ไวในบานเปนจํานวนมาก
5. ไมขีดไฟ ไฟแช็ค ใหเก็บไวในที่มิดชิด ไกลมือเด็ก
6. หลีกเลี่ยงการทํางานหลายๆอยางพรอมๆกัน เชนพูดโทรศัพทขณะปรุงอาหาร
7. อยางสูบบุหรี่บนเตียงนอน และกอนเขานอนตรวจสอบความเรียบรอย เชน อุปกรณไฟฟา เตาแกส
ฯลฯ

ความรูเบือ้ งตนเกี่ยวกับระบบปองกับและระงับอัคคีภัย “ในโรงแรมและอาคารสูง”


1.กอนเขาพักในอาคาร
ควรศึกษาเรื่องตําแหนงบันไดหนีไฟ เสนทางหนีไฟ ทางออกจากตัวอาคาร การติดตั้งอุปกรณปองกัน
และระงับอัคคีภัย เชนอุปกรณตรวจจับควัน ตรวจจับความรอน อุปกรณดับเพลิงอัตโนมัติ และ
อุปกรณอื่นๆ รวมทั้งศึกษาคําแนะนําเกี่ยวกับความปลอดภัยจากเพลิงไหมและการหนีไฟอยางละเอียด
2. ขณะพักในอาคาร
ศึกษาทางออกฉุกเฉิน ที่ใกลหองพัก ตรวจสอบความพรอม ไมมีการปดลอค ไมมีสิ่งกีดขวาง
สามารถใชเปนทางออกจากภายในอาคารไดอยางปลอดภัย
3. กอนเขานอน
ควรวางกุญแจหองนอน ไฟฉายฉุกเฉินไวใกลกับเตียงนอน ควรมีการซอมการเดินในความมืด
4. เมื่อตองประสบเหตุเพลิงไหม
ถาสามารถดับไดใหดับเพลิงนั้นทันที ถาไมสามารถดับได ใหเปดแจงสัญญาณเตือนเพลิงไหม หรือ
แจงหนวยดับเพลิง แลวรีบหนีออกจากอาคาร
5. เมื่อไดยินสัญญาณเตือนเพลิงไหม
ใหรีบหนีออกจากอาคารโดยทางหนีไฟที่ใกลทสี่ ุดโดยเร็ว
6. ถาเพลิงไหมในหองพัก ภายในอาคาร
ใหหนีออกมาจากหองปดประตูหองทันที และรีบแจงเจาหนาที่ดูแลอาคารเพื่อแจงหนวยดับเพลิง
7. ถาเพลิงไหมนอกหอง ภายในอาคาร
กอนจะออกจากหองพักใหวางมือบนประตู หากประตูมีความเย็นอยู คอยๆเปดประตูแลวหา
ทางออก
8. ถาเพลิงไหมอยูบริเวณใกลๆ
ประตูจะมีความรอน หามเปดประตูเด็ดขาด ใหรีบโทรศัพทเรียกหนวยดับเพลิง และแจงขอมูล
และตําแหนงที่ทานติดอยูใหละเอียดและชัดเจนมากที่สุด หาผาเช็ดตัวชุบน้ําใหเปยกๆปด
ทางเขา
ของควัน ปดพัดลม และเครื่องปรับอากาศ สงสัญญาณขอความชวยเหลือทางชองหนาตาง
9. เมื่อตองเผชิญกับควันไฟ
ใหใชวิธีคลานต่ําๆ หนีไปทางออกฉุกเฉิน เพราะอากาศบริสุทธิ์มีนา้ํ หนักจะอยูด านลาง ควัน
ไฟ
มีความเบาจะลอยอยูเบื้องบน
10. การหนีออกจากอาคาร
อยาใชลิฟตขณะเกิดเพลิงไหม เพราะลิฟตจะหยุดการทํางานเนื่องจากไมมีกระแสไฟฟา ถาตอง
ใชน้ําในการดับเพลิง และไมควรใชบันไดภายในอาคารหรือบันไดเลื่อน เนื่องจากบันได
เหลานี้
ไมสามารถปองกันไฟและเปลวไฟได ใหใชบันไดหนีไฟภายนอกอาคารเทานั้น

You might also like